fbpx
วิกิพีเดีย

การก่อการกำเริบควังจู

การก่อการกำเริบควังจู (ฮันกึล: 광주 민주화 항쟁, ฮันจา: 光州民主化運動, อังกฤษ: Gwangju Uprising) เป็นเหตุการณ์การเรียกร้องประชาธิปไตยหรือการก่อการกำเริบโดยประชาชนในเกาหลีใต้ ถือเป็นเหตุการณ์นองเลือดที่สุดในประวัติศาสตร์เกาหลีร่วมสมัย นับตั้งแต่สิ้นสุดสงครามเกาหลี เหตุการณ์เกิดขึ้นที่เมืองควังจู เมืองใหญ่อันดับที่ 5 ของเกาหลีใต้ ระหว่างวันที่ 18 พฤษภาคม ถึง 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1980 ขณะนั้นเกาหลีใต้อยู่ท่ามกลางความขัดแย้ง ภายหลังการเสียชีวิตของประธานาธิบดี นายพลพัก ช็อง-ฮี หลังถูกยิงโดยคิม แจ-เกียว หัวหน้าสำนักข่าวกรองของเกาหลี

การก่อการกำเริบควังจู
ส่วนหนึ่งของ การเคลื่อนไหวมินจุง
หอรำลึกการดิ้นรน 18 พฤษภาคม
วันที่18–27 พฤษภาคม ค.ศ. 1980
สถานที่ควังจู, เกาหลีใต้
สาเหตุ
เป้าหมายการทำให้เป็นประชาธิปไตย
วิธีการเดินขบวนประท้วงและการดื้อแพ่ง หลังจากนั้นคือการกบฏ
ผลการจลาจลของกลุ่มเคลื่อนไหวที่สนับสนุนประชาธิปไตย; ประชาชนและทหารบางส่วนบาดเจ็บ
คู่ขัดแย้ง
ประชาชนควังจู

ฮานาโฮ
ทหารเกาหลีใต้

  • ROKA SWC (ในตอนนั้นรู้จักกันในชื่อ "Airborne unit")

ตำรวจเกาหลีใต้

  • Jeollanam-do (Jeonnam) Provincial Police Agency
ผู้นำ
ไม่มีผู้นำเป็นศูนย์กลาง
ช็อน ดู-ฮวัน
โน แท-อู
ชอง โฮ-ยง
ลี ฮี-ซ็อง
Hwang Yeong-si
Ju Yeong-bok
ความสูญเสีย
ถูกฆ่า 165 คน, หายตัว 76 คน, บาดเจ็บ 3,515 คน[ต้องการอ้างอิง]
ถูกฆ่า 41 นาย (ทหาร 37 นาย, เจ้าหน้าที่ตำรวจ 4 นาย) และบาดเจ็บ 253 นาย (ทหาร 109 นาย, เจ้าหน้าที่ตำรวจ 144 ราย) (ทหาร 14 นายถูกฆ่าโดยการยิงที่ผิดพลาด)[ต้องการอ้างอิง]
สูงถึง 2,000 คน; ดูส่วนคนบาดเจ็บและตาย

นายพลช็อน ดู-ฮวัน หัวหน้าหน่วยสืบราชการลับของกองทัพบก ได้ร่วมมือกับนายพลโน แท-อู แม่ทัพที่คุมกองกำลังด้านชายแดนเกาหลีเหนือ ยึดอำนาจเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม ค.ศ. 1979 ทำให้ประชาชนทั่วประเทศก่อความเคลื่อนไหวคัดค้าน นายพลช็อน ดู-ฮวัน และนายพลโน แท-อู ต้องสั่งการให้กองทัพใช้กำลังปราบปรามประชาชนอย่างเด็ดขาด ยกเว้นอยู่ที่เดียว คือที่เมืองควังจู ที่นักศึกษาและประชาชนร่วมมือกันต้านทานกองทัพได้อย่างเข้มแข็ง

ช็อน ดู-ฮวัน ประกาศใช้กฎอัยการศึกเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม ค.ศ. 1980 และส่งกำลังทหารกว่า 100,000 นาย เข้าปิดล้อมควังจู แต่ชาวเมืองรวมทั้งตำรวจ ร่วมกันต่อต้าน ทั้งสองฝ่ายเริ่มยิงต่อสู้กันเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม จนฝ่ายทหารเข้ายึดควังจูได้เมื่อเวลา 4.00 น. ของวันที่ 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1980 จากรายงานของรัฐบาล ระบุว่ามีผู้เสียชีวิตเป็นประชาชน 144 คน ทหาร 22 คน และตำรวจ 4 คน มีผู้บาดเจ็บเป็นประชาชน 127 คน ทหาร 109 คน ตำรวจ 144 คน แต่จากรายงานของกลุ่มญาติผู้เสียชีวิต ระบุว่าประชาชนอย่างน้อย 165 คนเสียชีวิตระหว่างวันที่ 18 ถึง 27 พฤษภาคม มีผู้สูญหาย 65 คน สันนิษฐานว่าเสียชีวิตแล้ว

ช็อน ดู-ฮวัน ขึ้นดำรงตำแหน่งประธานาธิบดี 2 สมัย ระหว่างปี ค.ศ. 1980 ถึง ค.ศ. 1988 ตามด้วยโน แท-อู ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีอีก 2 สมัย ระหว่างปี ค.ศ. 1988 ถึง ค.ศ. 1993 จนกระทั่งถึงสมัยของประธานาธิบดีพลเรือน นายคิม ยองซัม ได้ประกาศนโยบายปฏิรูปการเมือง และปราบปรามการฉ้อราษฎร์บังหลวง และนำคดียึดอำนาจการปกครอง และคดีสังหารประชาชนที่ควังจู ขึ้นสู่ศาลในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2539

ศาลอาญาประจำโซล มีคำตัดสินเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม ค.ศ. 1996 ลงโทษประหารชีวิตนายพลช็อน ดู-ฮวัน จำเลยที่หนึ่ง และจำคุกนายพลโน แท-อู จำเลยที่สอง 22 ปี 6 เดือน และจำคุกนายพลอื่น ๆ อีก 13 คน

ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2017 ภายหลังการขึ้นดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีของมุน แจ-อิน ได้สั่งให้มีการรื้อฟื้นคดีนี้ขึ้นมาใหม่

อ้างอิง

  1. ศาลสูงสุดแห่งเกาหลีใต้
  2. หน้า 10 ต่างประเทศ, นองเลือดที่สุดในประวัติศาสตร์เกาหลีใต้. คมชัดลึกปีที่ 16 ฉบับที่ 5690: วันศุกร์ที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
  3. ทวีป วรดิลกคดีแห่งศตวรรษ (ตีพิมพ์เป็นตอนใน มติชนสุดสัปดาห์). กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, 2540. 216 หน้า. ISBN 974-7112-66-3
  4. . คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2007-08-06. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  5. 1980: The Kwangju uprising | libcom.org

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Photo gallery
  • "Lingering legacy of Korean massacre", BBC News, May 18, 2005.
  • 10 วันในควังจู ตอนที่ 1 2 3 4 5 โอเพ่นออนไลน์

การก, อการกำเร, บคว, งจ, นก, 광주, 민주화, 항쟁, นจา, 光州民主化運動, งกฤษ, gwangju, uprising, เป, นเหต, การณ, การเร, ยกร, องประชาธ, ปไตยหร, อการก, อการกำเร, บโดยประชาชนในเกาหล, ใต, อเป, นเหต, การณ, นองเล, อดท, ดในประว, ศาสตร, เกาหล, วมสม, บต, งแต, นส, ดสงครามเกาหล, เหต, กา. karkxkarkaeribkhwngcu hnkul 광주 민주화 항쟁 hnca 光州民主化運動 xngkvs Gwangju Uprising epnehtukarnkareriykrxngprachathipityhruxkarkxkarkaeribodyprachachninekahliit thuxepnehtukarnnxngeluxdthisudinprawtisastrekahlirwmsmy nbtngaetsinsudsngkhramekahli 2 ehtukarnekidkhunthiemuxngkhwngcu emuxngihyxndbthi 5 khxngekahliit rahwangwnthi 18 phvsphakhm thung 27 phvsphakhm kh s 1980 khnannekahliitxyuthamklangkhwamkhdaeyng phayhlngkaresiychiwitkhxngprathanathibdi nayphlphk chxng hi hlngthukyingodykhim aec ekiyw hwhnasankkhawkrxngkhxngekahlikarkxkarkaeribkhwngcuswnhnungkhxng karekhluxnihwmincunghxralukkardinrn 18 phvsphakhmwnthi18 27 phvsphakhm kh s 1980sthanthikhwngcu ekahliitsaehturthpraharinwnthi 18 phvsphakhm rthpraharinwnthi 12 thnwakhm karlxbsngharphk cxng hi lththixanacniym khwamimphxicthangsngkhmaelakaremuxnginchxllaepahmaykarthaihepnprachathipitywithikaredinkhbwnprathwngaelakarduxaephng hlngcaknnkhuxkarkbtphlkarclaclkhxngklumekhluxnihwthisnbsnunprachathipity prachachnaelathharbangswnbadecbkhukhdaeyngprachachnkhwngcuhanaohthharekahliit ROKA SWC intxnnnruckkninchux Airborne unit tarwcekahliit Jeollanam do Jeonnam Provincial Police Agencyphunaimmiphunaepnsunyklang chxn du hwnon aeth xuchxng oh yngli hi sxngHwang Yeong siJu Yeong bok 1 khwamsuyesiythukkha 165 khn haytw 76 khn badecb 3 515 khn txngkarxangxing thukkha 41 nay thhar 37 nay ecahnathitarwc 4 nay aelabadecb 253 nay thhar 109 nay ecahnathitarwc 144 ray thhar 14 naythukkhaodykaryingthiphidphlad txngkarxangxing sungthung 2 000 khn duswnkhnbadecbaelataynayphlchxn du hwn hwhnahnwysubrachkarlbkhxngkxngthphbk idrwmmuxkbnayphlon aeth xu aemthphthikhumkxngkalngdanchayaednekahliehnux yudxanacemuxwnthi 12 thnwakhm kh s 1979 thaihprachachnthwpraethskxkhwamekhluxnihwkhdkhan nayphlchxn du hwn aelanayphlon aeth xu txngsngkarihkxngthphichkalngprabpramprachachnxyangeddkhad ykewnxyuthiediyw khuxthiemuxngkhwngcu thinksuksaaelaprachachnrwmmuxkntanthankxngthphidxyangekhmaekhngchxn du hwn prakasichkdxykarsukemuxwnthi 17 phvsphakhm kh s 1980 aelasngkalngthharkwa 100 000 nay ekhapidlxmkhwngcu aetchawemuxngrwmthngtarwc rwmkntxtan thngsxngfayerimyingtxsuknemuxwnthi 20 phvsphakhm cnfaythharekhayudkhwngcuidemuxewla 4 00 n khxngwnthi 27 phvsphakhm kh s 1980 3 cakrayngankhxngrthbal rabuwamiphuesiychiwitepnprachachn 144 khn thhar 22 khn aelatarwc 4 khn miphubadecbepnprachachn 127 khn thhar 109 khn tarwc 144 khn 4 aetcakrayngankhxngklumyatiphuesiychiwit rabuwaprachachnxyangnxy 165 khnesiychiwitrahwangwnthi 18 thung 27 phvsphakhm miphusuyhay 65 khn snnisthanwaesiychiwitaelw 5 chxn du hwn khundarngtaaehnngprathanathibdi 2 smy rahwangpi kh s 1980 thung kh s 1988 tamdwyon aeth xu darngtaaehnngprathanathibdixik 2 smy rahwangpi kh s 1988 thung kh s 1993 cnkrathngthungsmykhxngprathanathibdiphleruxn naykhim yxngsm idprakasnoybayptirupkaremuxng aelaprabpramkarchxrasdrbnghlwng aelanakhdiyudxanackarpkkhrxng aelakhdisngharprachachnthikhwngcu khunsusalineduxnminakhm ph s 2539salxayapracaosl mikhatdsinemuxwnthi 26 singhakhm kh s 1996 lngothspraharchiwitnayphlchxn du hwn caelythihnung aelacakhuknayphlon aeth xu caelythisxng 22 pi 6 eduxn aelacakhuknayphlxun xik 13 khn 3 ineduxnphvsphakhm kh s 2017 phayhlngkarkhundarngtaaehnngprathanathibdikhxngmun aec xin idsngihmikarruxfunkhdinikhunmaihm 2 xangxing aekikh salsungsudaehngekahliit 2 0 2 1 hna 10 tangpraeths nxngeluxdthisudinprawtisastrekahliit khmchdlukpithi 16 chbbthi 5690 wnsukrthi 19 phvsphakhm ph s 2560 3 0 3 1 thwip wrdilk khdiaehngstwrrs tiphimphepntxnin mtichnsudspdah krungethph sukhphaphic 2540 216 hna ISBN 974 7112 66 3 The Kwangju Popular Uprising and the May Movement khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2007 08 06 subkhnemux 2009 02 06 1980 The Kwangju uprising libcom orgaehlngkhxmulxun aekikhPhoto gallery Lingering legacy of Korean massacre BBC News May 18 2005 10 wninkhwngcu txnthi 1 2 3 4 5 oxephnxxniln bthkhwamekiywkbkaremuxng karpkkhrxngniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmulekhathungcak https th wikipedia org w index php title karkxkarkaeribkhwngcu amp oldid 9558656, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม