fbpx
วิกิพีเดีย

ครรภคฤห์

ครรภคฤห์ หรือ ครรภคฤหะ (สันสกฤต: गर्भगृह) หมายถึงห้องบูชาด้านในสุดของโบสถ์พราหมณ์ อันเป็นที่ประดิษฐานมูรติซึ่งเป็นเทวรูปเทพเจ้าฮินดูประจำโบสถ์นั้น ๆ คำว่า "ครรภคฤห์" แปลตรงตัวว่า "โถงครรภ์" มาจากภาษาสันสกฤตคำว่า "ครรภ-" ซึ่งหมายถึง "ครรภ์" และ "คฤห-' ซึ่งหมายถึง "บ้าน" โดยทั่วไปแล้วโถงนี้จะอนุญาตให้เฉพาะนักบวช (บูชารี) เข้าไปได้เท่านั้น หรือบางแห่งอนุโลมให้เฉพาะศาสนิกชนเท่านั้น อย่างไรก็ตาม "ครรภคฤห์" นั้นสามารถพบในเชนสถานและวัดพุทธด้วย

ศาสนิกชนต่อแถวกันที่ทางเข้าครรภคฤห์ของเทวสถานแห่งหนึ่ง

โถงนี้มีโครงสร้างเป็นห้องสี่เหลี่ยม ประกอบด้วยประตูทางเข้าเพียงหนึ่งทางซึ่งมักสร้างหันไปทางทิศตะวันออก ไม่มีหน้าต่าง และประดิษฐาน "มูรติ" คือองค์เทวรูปอยู่ตรงกลาง ซึ่งคนภายนอกที่เข้ามาภายในเทวสถานสามารถมองเห็นได้บ้าง

ตามวาสตุศาสตร์ ครรภคฤห์จะสร้างอยู่ตรงกลางเทวสถาน และเหนือครรภคฤษ์คือโครงสร้างหอที่สร้างเพื่อคลุมห้องครรภคฤห์ จะสร้างเป็นแกนตัดกัน อันเป็นแกนหลักในการกำหนดการสร้างองค์ประกอบอื่น ๆ โดยทั่วไปมักเป็นแกนทิศตะวันออก-ทิศตะวันตก เชื่อว่าเป็นการจำลองคติเขาพระสุเมรุ โครงสร้างหอนี้มีลักษณะแตกต่างกันไปในแต่ละสถาปัตยกรรม ได้แก่ ในอินเดียเหนือคือ "ศิขร" ในอินเดียใต้คือ "วิมาน" และในศาสนาฮินดูแบบบาหลี (ปูรา) คือ "เปลิงกีฮ์เมรู" (pelinggih meru)

ในปราสาทขอม ห้องครรภคฤหะ เรียกอีกชื่อได้ว่าห้อง "เรือนธาตุ" ด้านบนเป็นหอหลังคาสูงเป็นชั้นเรียกว่า "เรือนชั้น"

อ้างอิง

  • Hardy, Adam, Indian Temple Architecture: Form and Transformation : the Karṇāṭa Drāviḍa Tradition, 7th to 13th Centuries, 1995, Abhinav Publications, ISBN 8170173124, 9788170173120, google books
  • George Michell; Monuments of India (Penguin Guides, Vol. 1, 1989)

ครรภคฤห, หร, ครรภคฤหะ, นสกฤต, गर, भग, หมายถ, งห, องบ, ชาด, านในส, ดของโบสถ, พราหมณ, นเป, นท, ประด, ษฐานม, รต, งเป, นเทวร, ปเทพเจ, าฮ, นด, ประจำโบสถ, คำว, แปลตรงต, วว, โถงครรภ, มาจากภาษาส, นสกฤตคำว, ครรภ, งหมายถ, ครรภ, และ, คฤห, งหมายถ, าน, โดยท, วไปแล, วโถงน, . khrrphkhvh hrux khrrphkhvha 1 snskvt गर भग ह hmaythunghxngbuchadaninsudkhxngobsthphrahmn xnepnthipradisthanmurtisungepnethwrupethphecahindupracaobsthnn khawa khrrphkhvh aepltrngtwwa othngkhrrph macakphasasnskvtkhawa khrrph sunghmaythung khrrph aela khvh sunghmaythung ban odythwipaelwothngnicaxnuyatihechphaankbwch buchari ekhaipidethann hruxbangaehngxnuolmihechphaasasnikchnethann 2 xyangirktam khrrphkhvh nnsamarthphbinechnsthanaelawdphuththdwysasnikchntxaethwknthithangekhakhrrphkhvhkhxngethwsthanaehnghnung othngnimiokhrngsrangepnhxngsiehliym prakxbdwypratuthangekhaephiynghnungthangsungmksranghnipthangthistawnxxk immihnatang aelapradisthan murti khuxxngkhethwrupxyutrngklang sungkhnphaynxkthiekhamaphayinethwsthansamarthmxngehnidbang 3 tamwastusastr khrrphkhvhcasrangxyutrngklangethwsthan aelaehnuxkhrrphkhvskhuxokhrngsranghxthisrangephuxkhlumhxngkhrrphkhvh casrangepnaekntdkn xnepnaeknhlkinkarkahndkarsrangxngkhprakxbxun odythwipmkepnaeknthistawnxxk thistawntk echuxwaepnkarcalxngkhtiekhaphrasuemru okhrngsranghxnimilksnaaetktangknipinaetlasthaptykrrm idaek inxinediyehnuxkhux sikhr inxinediyitkhux wiman aelainsasnahinduaebbbahli pura khux eplingkihemru 4 pelinggih meru inprasathkhxm hxngkhrrphkhvha eriykxikchuxidwahxng eruxnthatu danbnepnhxhlngkhasungepnchneriykwa eruxnchn xangxing aekikh http kanchanapisek or th kp6 sub book book php book 30 amp chap 3 amp page t30 3 infodetail01 html Hardy 16 Hardy 16 17 37 Hardy 16 17 Hardy Adam Indian Temple Architecture Form and Transformation the Karṇaṭa Draviḍa Tradition 7th to 13th Centuries 1995 Abhinav Publications ISBN 8170173124 9788170173120 google books George Michell Monuments of India Penguin Guides Vol 1 1989 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title khrrphkhvh amp oldid 8159674, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม