fbpx
วิกิพีเดีย

ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม

ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม (อังกฤษ: Humanitarian aid) คือความช่วยเหลือด้านสิ่งของและโลจิสติกส์สำหรับผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือ ซึ่งมักจะเป็นความช่วยเหลือระยะสั้นจนกว่ารัฐบาลและสถาบันอื่น ๆ จะเข้ามาช่วยเหลือในระยะยาว ในบรรดาคนที่ต้องการความช่วยเหลือ ได้แก่ ผู้ไร้ที่อยู่, ผู้ลี้ภัย และผู้ประสบภัยจากภัยธรรมชาติ, สงคราม และความอดอยาก ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมคือความช่วยเหลือด้านสิ่งของหรือด้านลอจิสติกส์เพื่อวัตถุประสงค์ด้านมนุษยธรรม โดยทั่วไปในการตอบสนองต่อความพยายามด้านมนุษยธรรมรวมถึงภัยธรรมชาติและภัยพิบัติที่มนุษย์สร้างขึ้น วัตถุประสงค์หลักของการช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมคือการช่วยชีวิต, บรรเทาความทุกข์ และรักษาศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ดังนั้นจึงอาจแตกต่างจากความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนา ซึ่งพยายามที่จะแก้ไขปัจจัยทางสังคมเศรษฐศาสตร์ที่อาจนำไปสู่วิกฤตหรือภาวะฉุกเฉิน มีการอภิปรายในเรื่องการเชื่อมโยงความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและความพยายามในการพัฒนา ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากการประชุมสุดยอดด้านมนุษยธรรมโลกใน ค.ศ. 2016 อย่างไรก็ตาม แนวทางดังกล่าวถูกมองในเชิงวิพากษ์โดยผู้ปฏิบัติงาน

ทหารให้เด็กผู้หญิงชาวปากีสถานดื่มน้ำจากการขนส่งทางอากาศจากมูซาฟฟาราบาดถึงอิสลามาบาด
เด็กหญิงชาวอัฟกานิสถานคนหนึ่งกอดหมีเท็ดดี้ของเธอซึ่งเธอได้รับที่คลินิกการแพทย์ที่ค่ายคลาร์คในจังหวัดโคสต์

ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมมีวัตถุประสงค์เพื่อบรรเทาทุกข์ในระยะสั้นให้กับผู้ประสบภัยจนกว่ารัฐบาลและสถาบันอื่น ๆ จะสามารถบรรเทาทุกข์ได้ในระยะยาว ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมถือว่า "เป็นการแสดงออกพื้นฐานของคุณค่าสากลของความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกันระหว่างผู้คนและความจำเป็นทางศีลธรรม" ซึ่งความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมมาจากชุมชนในหรือต่างประเทศก็ได้ ในการเข้าถึงชุมชนระหว่างประเทศ สำนักงานเพื่อการประสานงานด้านมนุษยธรรม (OCHA) ของสหประชาชาติ (UN) มีหน้าที่รับผิดชอบในการประสานงานการตอบสนองต่อเหตุฉุกเฉิน โดยให้ข้อมูลต่อสมาชิกหลายคนของคณะกรรมการประจำระหว่างหน่วยงาน ซึ่งสมาชิกมีหน้าที่ในการบรรเทาทุกข์ในกรณีฉุกเฉิน หน่วยงานของสหประชาชาติ 4 แห่งที่มีบทบาทหลักในการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม ได้แก่ โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP), สำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ (UNHCR), กองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) และโครงการอาหารโลก (WFP)

อ้างอิงจากสถาบันพัฒนาโพ้นทะเล ซึ่งเป็นสถาบันการวิจัยในลอนดอน ที่ผลการวิจัยได้รับการเผยแพร่ในเดือนเมษายน ค.ศ. 2009 ในเอกสาร "การให้ความช่วยเหลือในสภาพแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัย: อัปเดต ค.ศ. 2009" ปีที่อันตรายที่สุดสำหรับผู้ให้ความช่วยเหลือในประวัติศาสตร์ของมนุษยธรรมนิยมคือ ค.ศ. 2008 ซึ่งพนักงานช่วยเหลือ 122 คนถูกสังหารและ 260 คนถูกทำร้ายร่างกาย ส่วนประเทศที่ถือว่าปลอดภัยน้อยที่สุดคือโซมาเลียและอัฟกานิสถาน ใน ค.ศ. 2014 กลุ่มวิจัยการดำเนินงานช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมรายงานว่าประเทศที่เกิดเหตุการณ์สูงสุด ได้แก่ อัฟกานิสถาน, สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก, สาธารณรัฐแอฟริกากลาง, เซาท์ซูดาน, ซูดาน, ซีเรีย, ปากีสถาน, โซมาเลีย, เยเมน และเคนยา

ประวัติ

ต้นกำเนิด

จุดเริ่มต้นของการจัดระเบียบความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมระหว่างประเทศสามารถสืบย้อนไปถึงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 เรื่องราวต้นกำเนิดที่รู้จักกันดีที่สุดของความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมที่เป็นทางการคืออ็องรี ดูว์น็อง นักธุรกิจชาวสวิสและนักเคลื่อนไหวทางสังคม ซึ่งเมื่อเห็นการทำลายล้างและการละทิ้งทหารที่บาดเจ็บอย่างไร้มนุษยธรรมจากยุทธการที่ซอลเฟรีโนในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1859 ซึ่งได้ยกเลิกแผนการของเขา และเริ่มต้นการตอบสนองบรรเทา

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. Sid Johann Peruvemba, Malteser International (31 May 2018). "Why the nexus is dangerous". D+C Development and Cooperation. สืบค้นเมื่อ 13 August 2018.
  2. "The State of Art of Humanitarian Action, (PDF). EUHAP" (PDF). euhap.eu. (PDF) จากแหล่งเดิมเมื่อ 15 February 2017. สืบค้นเมื่อ 28 April 2018.
  3. "OCHA". www.unocha.org. จากแหล่งเดิมเมื่อ 19 March 2018. สืบค้นเมื่อ 28 April 2018.
  4. "Deliver Humanitarian Aid". www.un.org. 7 December 2014. จากแหล่งเดิมเมื่อ 19 March 2018. สืบค้นเมื่อ 28 April 2018.
  5. "Archived copy" (PDF). (PDF) จากแหล่งเดิมเมื่อ 19 September 2011. สืบค้นเมื่อ 2010-12-13.CS1 maint: archived copy as title (link)
  6. "Highest incident contexts (2012–2018)". Aid Worker Security Database. Humanitarian Outcomes. จากแหล่งเดิมเมื่อ 7 September 2015. สืบค้นเมื่อ 11 December 2015.
  7. Haug, Hans. "The Fundamental Principles of the International Red Cross and Red Crescent Movement" (PDF). สืบค้นเมื่อ 2019-11-01.

บรรณานุกรม

  • James, Eric (2008). Managing Humanitarian Relief: An Operational Guide for NGOs. Rugby: Practical Action.
  • Minear, Larry (2002). The Humanitarian Enterprise: Dilemmas and Discoveries. West Hartford, CT: Kumarian Press. ISBN 1-56549-149-1.
  • Waters, Tony (2001). Bureaucratizing the Good Samaritan: The Limitations of Humanitarian Relief Operations. Boulder: Westview Press.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • "Active Learning Network for Accountability and Performance". alnap.org.
  • "AlertNet". alertnet.org.
  • "APCN (Africa Partner Country Network)". apan.org.
  • "CE-DAT: The Complex Emergency Database". cedat.be.
  • "Centre for Safety and Development". centreforsafety.org.
  • "The Code of Conduct: humanitarian principles in practice". International Committee of the Red Cross.
  • "Doctors of the World". medecinsdumonde.org.
  • "EM-DAT: The International Disaster Database". emdat.be.
  • "The New Humanitarian". thenewhumanitarian.org.
  • "Protection work during armed conflict and other situations of violence: professional standards". International Committee of the Red Cross.
  • "The Center for Disaster and Humanitarian Assistance Medicine". CDHAM.org.
  • "The ODI Humanitarian Policy Group". odi.org.uk.
  • "UN ReliefWeb". reliefweb.int.

บทวิจารณ์ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม

  • Greenaway, Sean. "Post-Modern Conflict and Humanitarian Action: Questioning the Paradigm". Journal of Humanitarian Assistance.
  • Rieff, David; Myers, Joanne J. . คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 30 March 2007.

ความช, วยเหล, อด, านมน, ษยธรรม, งกฤษ, humanitarian, อความช, วยเหล, อด, านส, งของและโลจ, สต, กส, สำหร, บผ, องการความช, วยเหล, งม, กจะเป, นความช, วยเหล, อระยะส, นจนกว, าร, ฐบาลและสถาบ, นอ, จะเข, ามาช, วยเหล, อในระยะยาว, ในบรรดาคนท, องการความช, วยเหล, ได, แก, ไร,. khwamchwyehluxdanmnusythrrm xngkvs Humanitarian aid khuxkhwamchwyehluxdansingkhxngaelaolcistikssahrbphuthitxngkarkhwamchwyehlux sungmkcaepnkhwamchwyehluxrayasncnkwarthbalaelasthabnxun caekhamachwyehluxinrayayaw inbrrdakhnthitxngkarkhwamchwyehlux idaek phuirthixyu phuliphy aelaphuprasbphycakphythrrmchati sngkhram aelakhwamxdxyak khwamchwyehluxdanmnusythrrmkhuxkhwamchwyehluxdansingkhxnghruxdanlxcistiksephuxwtthuprasngkhdanmnusythrrm odythwipinkartxbsnxngtxkhwamphyayamdanmnusythrrmrwmthungphythrrmchatiaelaphyphibtithimnusysrangkhun wtthuprasngkhhlkkhxngkarchwyehluxdanmnusythrrmkhuxkarchwychiwit brrethakhwamthukkh aelarksaskdisrikhwamepnmnusy dngnncungxacaetktangcakkhwamchwyehluxephuxkarphthna sungphyayamthicaaekikhpccythangsngkhmesrsthsastrthixacnaipsuwikvthruxphawachukechin mikarxphiprayineruxngkarechuxmoyngkhwamchwyehluxdanmnusythrrmaelakhwamphyayaminkarphthna sungidrbkarsnbsnuncakkarprachumsudyxddanmnusythrrmolkin kh s 2016 xyangirktam aenwthangdngklawthukmxnginechingwiphaksodyphuptibtingan 1 thharihedkphuhyingchawpakisthandumnacakkarkhnsngthangxakascakmusaffarabadthungxislamabad edkhyingchawxfkanisthankhnhnungkxdhmiethddikhxngethxsungethxidrbthikhlinikkaraephthythikhaykhlarkhincnghwdokhst khwamchwyehluxdanmnusythrrmmiwtthuprasngkhephuxbrrethathukkhinrayasnihkbphuprasbphycnkwarthbalaelasthabnxun casamarthbrrethathukkhidinrayayaw khwamchwyehluxdanmnusythrrmthuxwa epnkaraesdngxxkphunthankhxngkhunkhasaklkhxngkhwamepnnahnungicediywknrahwangphukhnaelakhwamcaepnthangsilthrrm 2 sungkhwamchwyehluxdanmnusythrrmmacakchumchninhruxtangpraethskid inkarekhathungchumchnrahwangpraeths sanknganephuxkarprasanngandanmnusythrrm OCHA 3 khxngshprachachati UN mihnathirbphidchxbinkarprasanngankartxbsnxngtxehtuchukechin odyihkhxmultxsmachikhlaykhnkhxngkhnakrrmkarpracarahwanghnwyngan sungsmachikmihnathiinkarbrrethathukkhinkrnichukechin hnwyngankhxngshprachachati 4 aehngthimibthbathhlkinkarihkhwamchwyehluxdanmnusythrrm idaek okhrngkarphthnaaehngshprachachati UNDP sankngankhahlwngihyphuliphyaehngshprachachati UNHCR kxngthunephuxedkaehngshprachachati UNICEF aelaokhrngkarxaharolk WFP 4 xangxingcaksthabnphthnaophnthael sungepnsthabnkarwicyinlxndxn thiphlkarwicyidrbkarephyaephrineduxnemsayn kh s 2009 inexksar karihkhwamchwyehluxinsphaphaewdlxmthiimplxdphy xpedt kh s 2009 pithixntraythisudsahrbphuihkhwamchwyehluxinprawtisastrkhxngmnusythrrmniymkhux kh s 2008 sungphnknganchwyehlux 122 khnthuksngharaela 260 khnthuktharayrangkay swnpraethsthithuxwaplxdphynxythisudkhuxosmaeliyaelaxfkanisthan 5 in kh s 2014 klumwicykardaeninnganchwyehluxdanmnusythrrmraynganwapraethsthiekidehtukarnsungsud idaek xfkanisthan satharnrthprachathipitykhxngok satharnrthaexfrikaklang esathsudan sudan sieriy pakisthan osmaeliy eyemn aelaekhnya 6 enuxha 1 prawti 1 1 tnkaenid 2 duephim 3 xangxing 4 brrnanukrm 5 aehlngkhxmulxun 5 1 bthwicarnkhwamchwyehluxdanmnusythrrmprawti aekikhtnkaenid aekikh cuderimtnkhxngkarcdraebiybkhwamchwyehluxdanmnusythrrmrahwangpraethssamarthsubyxnipthungplaykhriststwrrsthi 19 eruxngrawtnkaenidthiruckkndithisudkhxngkhwamchwyehluxdanmnusythrrmthiepnthangkarkhuxxxngri duwnxng nkthurkicchawswisaelankekhluxnihwthangsngkhm sungemuxehnkarthalaylangaelakarlathingthharthibadecbxyangirmnusythrrmcakyuththkarthisxlefrionineduxnmithunayn kh s 1859 sungidykelikaephnkarkhxngekha aelaerimtnkartxbsnxngbrretha 7 duephim aekikhkdhmaymnusythrrmrahwangpraethsxangxing aekikh Sid Johann Peruvemba Malteser International 31 May 2018 Why the nexus is dangerous D C Development and Cooperation subkhnemux 13 August 2018 The State of Art of Humanitarian Action PDF EUHAP PDF euhap eu ekb PDF cakaehlngedimemux 15 February 2017 subkhnemux 28 April 2018 OCHA www unocha org ekb cakaehlngedimemux 19 March 2018 subkhnemux 28 April 2018 Deliver Humanitarian Aid www un org 7 December 2014 ekb cakaehlngedimemux 19 March 2018 subkhnemux 28 April 2018 Archived copy PDF ekb PDF cakaehlngedimemux 19 September 2011 subkhnemux 2010 12 13 CS1 maint archived copy as title link Highest incident contexts 2012 2018 Aid Worker Security Database Humanitarian Outcomes ekb cakaehlngedimemux 7 September 2015 subkhnemux 11 December 2015 Haug Hans The Fundamental Principles of the International Red Cross and Red Crescent Movement PDF subkhnemux 2019 11 01 brrnanukrm aekikhJames Eric 2008 Managing Humanitarian Relief An Operational Guide for NGOs Rugby Practical Action Minear Larry 2002 The Humanitarian Enterprise Dilemmas and Discoveries West Hartford CT Kumarian Press ISBN 1 56549 149 1 Waters Tony 2001 Bureaucratizing the Good Samaritan The Limitations of Humanitarian Relief Operations Boulder Westview Press aehlngkhxmulxun aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb khwamchwyehluxdanmnusythrrm Active Learning Network for Accountability and Performance alnap org AlertNet alertnet org APCN Africa Partner Country Network apan org CE DAT The Complex Emergency Database cedat be Centre for Safety and Development centreforsafety org The Code of Conduct humanitarian principles in practice International Committee of the Red Cross Doctors of the World medecinsdumonde org EM DAT The International Disaster Database emdat be The New Humanitarian thenewhumanitarian org Protection work during armed conflict and other situations of violence professional standards International Committee of the Red Cross The Center for Disaster and Humanitarian Assistance Medicine CDHAM org The ODI Humanitarian Policy Group odi org uk UN ReliefWeb reliefweb int bthwicarnkhwamchwyehluxdanmnusythrrm aekikh Greenaway Sean Post Modern Conflict and Humanitarian Action Questioning the Paradigm Journal of Humanitarian Assistance Rieff David Myers Joanne J A Bed for the Night Humanitarianism in Crisis khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 30 March 2007 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title khwamchwyehluxdanmnusythrrm amp oldid 9469505, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม