fbpx
วิกิพีเดีย

ความดันโลหิตสูงวิกฤต

ความดันโลหิตสูงวิกฤต (อังกฤษ: Hypertension Crisis) เป็นภาวะที่ร่างกายมีระดับความดันโลหิตสูงกว่าปกติมากๆ ในระยะเวลาสั้น โดยที่ไม่มีเกณฑ์แน่นอนที่วัดว่าสูงระดับใด แต่โดยทั่วไปอาจประมาณได้ว่า มีความดันโลหิตสูงกว่า 180/110 mmHg ซึ่งเกิดจากผู้ป่วยที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงอยู่แล้วไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิต ให้ลดลงเข้าสู้ระดับปกติได้

ความดันโลหิตสูงวิกฤต
(Hypertension Crisis)
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก
ICD-10I10
ICD-9405.0401.0
DiseasesDB7788
eMedicinearticle/241640
MeSHD006974

สาเหตุ

  • ผู้ป่วยที่เป็นโรคความดันโลหิตสูง ไม่สามารถควบคุมความดันโลหิตสูงให้อยู่ในระดับปกติได้ จึงเกิดความดันโลหิตสูงวิกฤตขึ้น
  • การหยุดยาในกลุ่ม Alpha2 agonist (Clonidine,Methyldopa) แบบทันที
  • การใช้ยาที่ยับยั้งการเก็บกลับของสารสื่อประสาทจำพวก แคทติโคลามีน ร่วมกับ ยากลุ่ม ยับยั้งเอนไซม์ monoamine oxidase

การจำแนกประเภท

ความดันโลหิตสูงวิกฤตแบ่งเป็น 2 ชนิด

Hypertensive urgency

ภาวะที่ระดับความดันโลหิตสูงวิกฤต แต่ยังไม่พบผลเสียต่ออวัยวะสำคัญ เช่น สมอง หลอดเลือด หัวใจ ไต ตา ซึ่งจะพบผู้ป่วยได้ทั้งที่ไม่มีอาการแสดง และมีอาการแสดง เช่น ปวดศีรษะรุนแรง (รับประทานยาบรรเทาปวด ยังไม่รู้สึกดีขึ้น) คลื่นไส้ อาเจียน วิตกกังวล หายใจถี่ เจ็บบริเวณหน้าอก โดยทั่วไปพบระดับความดันโลหิตสูงกว่า 180/110 mmHg ภาวะนี้ต้องเร่งรักษาเพื่อป้องกันไม่ให้ความดันโลหิตสูงไปทำลายอวัยวะสำคัญ

Hypertensive emergency

ระดับความดันโลหิตสูงวิกฤต และพบผลเสียต่ออวัยวะสำคัญ เช่น ภาวะที่ความดันโลหิตสูงมากทำให้ เลือดออกในสมอง สมองขาดเลือด ชัก สับสน ที่หัวใจเกิด หัวใจขาดเลือด หัวใจล้มเหลว น้ำคั่งในปอด ไตวาย และ ความดันในลูกตาสูง โดยทั่วไปพบระดับความดันโลหิตสูงกว่า 220/140 mmHg ต้องรีบรักษาโดยเร่งด่วนเพื่อลดความเสี่ยงที่เป็นอันตรายถึงชีวิต

Category Systolic (mmHg) Diastolic (mmHg)
optimal <120 <80
Normal <130 <85
High Normal 130-139 85-89
Grade 1 (mild) 140-159 90-99
Grade 2 (moderate) 160-179 100-109
Grade 3 (Severe) >180 >110
Isolated systolic HTN >140 <90

การรักษา

อันดับแรกในการรักษาความดันโลหิตสูงวิกฤต คือ ต้องทำให้ระดับความดันโลหิตของผู้ป่วยลดลงให้เร็วที่สุด โดยใช้ยาลดความดันโลหิตชนิดฉีดทางหลอดเลือดดำหรือยารับประทานชนิดออกฤทธิ์เร็ว เพื่อที่จะลดอันตรายต่ออวัยวะสำคัญต่างๆ แต่อย่างไรก็ตามไม่ควรลดความดันโลหิตเกินร้อยละ 25 ภายในเวลา 2 ชั่วโมง เพราะจะทำให้อวัยวะสำคัญๆ ของร่างกายขาดเลือด และอาจเกิด reflex tachycardia ทำให้อาการของผู้ป่วยแย่ลง

เมื่อพบผู้ป่วยที่เกิดภาวะความดันโลหิตสูงวิกฤต ขั้นแรกต้องให้ยาลดความดันโลหิตชนิดออกฤทธิ์เร็วเมื่อความดันโลหิตลดลงในระดับหนึ่งแล้ว จึงให้ยารับประทานเพื่อลดและควบคุมความดันโลหิตกับผู้ป่วยต่อไป ในระหว่างให้การรักษาต้องเฝ้าระวัง และตรวจวัดความดันโลหิตอยู่เสมอ เพื่อป้องกันอันตรายต่อผู้ป่วยจากการใช้ยา ทั้งภาวะความดันโลหิตสูงจากการที่ได้รับยาไม่เพียงพอ หรือ อาจได้รับยามากเกินไปทำให้เกิดความดันโลหิตต่ำ โดยมีอาการหน้ามืด วูบ หลังจากนั้นเมื่อผู้ป่วยอาการทุเลาลง และพอกลับไปรักษาตัวที่บ้านได้ การให้ความรู้กับผู้ป่วยเป็นสิ่งที่สำคัญ เพื่อให้ผู้ป่วยที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงในการทำให้เกิดความดันสูงขึ้นเฉียบพลัน และแนะนำเรื่องการควบคุมความดันโลหิตให้ได้ รับประทานยาลดความดันโลหิตอย่างสม่ำเสมอ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพราะภาวะความดันโลหิตสูงวิกฤตนั้นส่วนใหญ่ มีสาเหตุจาการที่ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงไม่สามารถควบคุมความดันโลหิตให้อยู่ในระดับปกติได้

การรักษาด้วยยา

การเลือกใช้ยาควรเลือกยาที่สามารถลดความดันโลหิต ยาฉีด หรือ ยารับประทานที่ออกฤทธิ์เร็ว ในกลุ่มดังนี้

  • ยากลุ่ม Calcium Channel Blockers มีกลไกการออกฤทธิ์คือ ยับยั้งไม่ให้แคลเซียมเข้าสู่เซลล์กล้ามเนื้อหลอดเลือด มีผลขยายหลอดเลือด เช่น Clevidipine, Nicardipine (FDA ยกเลิกการใช้ยา Nifedipine กับผู้ป่วยที่มีภาวะความดันโลหิตสูงวิกฤต เนื่องจากไม่สามารถคาดคะเนการลดระดับความโลหิตได้)
  • ยากลุ่ม Nitrates โดยกลไกการออกฤทธิ์ผ่านกลไก Nitric Oxide และไปขยายหลอดเลือด เช่น Nitroprusside Nitroglycerine
  • ยากลุ่ม Angiotensin Converting Enzyme Inhibitors โดยกลไกการออกฤทธิ์ ยับยั้งการทำงาน Angiotensin Converting Enzyme ไม่ให้เปลี่ยน Angiotensin I ไปเป็น Angiotensin II ส่งผลให้หลอดเลือดขยาย เช่น Captopril

เมื่อได้รับยาที่ใช้ลดความดันโลหิตสูงวิกฤต จนระดับความดันโลหิตลดลงมาระดับหนึ่งแล้ว จึงพิจารณาให้ยารับประทานเพื่อลดระดับความดันโลหิต ดังนี้

  • ยากลุ่ม Diuretics ออกฤทธิ์ขับปัสสาวะ ลดปริมาณน้ำในหลอดเลือด ส่งผลให้ความดันลดลง เช่น Hydrochlorothiazide, Furosemide, Spironolactone การใช้ยาขับปัสสาวะนี้ต้องระวังภาวะ โปแตสเซียมต่ำ (ยกเว้น Spironolactone)
  • ยากลุ่ม Beta-Blockers กลไกการออกฤทธิ์ขัดขวางการทำงาน Beta receptor ทำให้ลดอัตราการเต้นของหัวใจ และลดการหลั่ง Renin ที่ไต มีผลให้หลอดเลือดขยาย และความดันโลหิตลดลง เช่น Propranolol, Atenolol, Metoprolol การใช้ยาในกลุ่มนี้ต้องระวังในผู้ป่วยที่เป็นโรค หอบหืด COPD และอาจบดบังอาการของภาวะระดับน้ำตาลในเลือดต่ำในผู้ป่วยเบาหวาน เช่น ใจสั่น หน้ามืด
  • ยากลุ่ม Calcium Channel Blockers โดยกลไกการออกฤทธิ์ ยับยั้งไม่ให้แคลเซียมเข้าสู่เซลล์กล้ามเนื้อหลอดเลือด มีผลขยายหลอดเลือด เช่น Amlodipine, Felodipine การใช้ยาในกลุ่มนี้ต้องระวังการเกิดภาวะความดันโลหิตต่ำ มีอาการแสดงคือ หน้ามืด เวียนศีรษะ และอาจทำให้เกิด reflex tachycardia
  • ยากลุ่ม Angiotensin Converting Enzyme Inhibitors โดยกลไกการออกฤทธิ์ ยับยั้งการทำงาน Angiotensin Converting Enzyme ไม่ให้เปลี่ยน Angiotensin I ไปเป็น Angiotensin II ส่งผลให้หลอดเลือดขยาย เช่น Enalapril Lisinopril ระวังอาการไม่พึงประสงค์จากยาคือ อาการไอ จากปัญหาการสะสมของ Bradykinin
  • ยากลุ่ม Angiotensin II receptor Blockers ออกฤทธิ์โดยยับยั้งที่ Angiotensin II receptor ส่งผลให้หลอดเลือดขยายตัว และยังไปยับยั้งการหลั่ง Aldosterone ทำให้ดูดกลับน้ำลดลง จึงลดความดันลงได้ เช่น Losartan, Valsartan, Candesartan

อ้างอิง

  • Textbook of pharmacotherapy : ตำราเภสัชบำบัด
  • Evidence-Based Clinical Practice Guideline ทางอายุรกรรม 2548
  • Thai Hypertension Society: Guidelines in the Treatment of Hypertension 2008
  • http://emedicine.medscape.com/article/758544-followup
  • Drug Information Handbook 18th Edition

ความด, นโลห, ตส, งว, กฤต, งกฤษ, hypertension, crisis, เป, นภาวะท, างกายม, ระด, บความด, นโลห, ตส, งกว, าปกต, มากๆ, ในระยะเวลาส, โดยท, ไม, เกณฑ, แน, นอนท, ดว, าส, งระด, บใด, แต, โดยท, วไปอาจประมาณได, ความด, นโลห, ตส, งกว, mmhg, งเก, ดจากผ, วยท, เป, นโรคความด, นโ. khwamdnolhitsungwikvt xngkvs Hypertension Crisis epnphawathirangkaymiradbkhwamdnolhitsungkwapktimak inrayaewlasn odythiimmieknthaennxnthiwdwasungradbid aetodythwipxacpramanidwa mikhwamdnolhitsungkwa 180 110 mmHg sungekidcakphupwythiepnorkhkhwamdnolhitsungxyuaelwimsamarthkhwbkhumradbkhwamdnolhit ihldlngekhasuradbpktiidkhwamdnolhitsungwikvt Hypertension Crisis bychicaaenkaelalingkipphaynxkICD 10I10ICD 9405 0401 0DiseasesDB7788eMedicinearticle 241640MeSHD006974 enuxha 1 saehtu 2 karcaaenkpraephth 2 1 Hypertensive urgency 2 2 Hypertensive emergency 3 karrksa 3 1 karrksadwyya 4 xangxingsaehtu aekikhphupwythiepnorkhkhwamdnolhitsung imsamarthkhwbkhumkhwamdnolhitsungihxyuinradbpktiid cungekidkhwamdnolhitsungwikvtkhunkarhyudyainklum Alpha2 agonist Clonidine Methyldopa aebbthnthikarichyathiybyngkarekbklbkhxngsarsuxprasathcaphwk aekhthtiokhlamin rwmkb yaklum ybyngexnism monoamine oxidasekarcaaenkpraephth aekikhkhwamdnolhitsungwikvtaebngepn 2 chnid Hypertensive urgency aekikh phawathiradbkhwamdnolhitsungwikvt aetyngimphbphlesiytxxwywasakhy echn smxng hlxdeluxd hwic it ta sungcaphbphupwyidthngthiimmixakaraesdng aelamixakaraesdng echn pwdsirsarunaerng rbprathanyabrrethapwd yngimrusukdikhun khlunis xaeciyn witkkngwl hayicthi ecbbriewnhnaxk odythwipphbradbkhwamdnolhitsungkwa 180 110 mmHg phawanitxngerngrksaephuxpxngknimihkhwamdnolhitsungipthalayxwywasakhy Hypertensive emergency aekikh radbkhwamdnolhitsungwikvt aelaphbphlesiytxxwywasakhy echn phawathikhwamdnolhitsungmakthaih eluxdxxkinsmxng smxngkhadeluxd chk sbsn thihwicekid hwickhadeluxd hwiclmehlw nakhnginpxd itway aela khwamdninluktasung odythwipphbradbkhwamdnolhitsungkwa 220 140 mmHg txngribrksaodyerngdwnephuxldkhwamesiyngthiepnxntraythungchiwit Category Systolic mmHg Diastolic mmHg optimal lt 120 lt 80Normal lt 130 lt 85High Normal 130 139 85 89Grade 1 mild 140 159 90 99Grade 2 moderate 160 179 100 109Grade 3 Severe gt 180 gt 110Isolated systolic HTN gt 140 lt 90karrksa aekikhxndbaerkinkarrksakhwamdnolhitsungwikvt khux txngthaihradbkhwamdnolhitkhxngphupwyldlngiherwthisud odyichyaldkhwamdnolhitchnidchidthanghlxdeluxddahruxyarbprathanchnidxxkvththierw ephuxthicaldxntraytxxwywasakhytang aetxyangirktamimkhwrldkhwamdnolhitekinrxyla 25 phayinewla 2 chwomng ephraacathaihxwywasakhy khxngrangkaykhadeluxd aelaxacekid reflex tachycardia thaihxakarkhxngphupwyaeylngemuxphbphupwythiekidphawakhwamdnolhitsungwikvt khnaerktxngihyaldkhwamdnolhitchnidxxkvththierwemuxkhwamdnolhitldlnginradbhnungaelw cungihyarbprathanephuxldaelakhwbkhumkhwamdnolhitkbphupwytxip inrahwangihkarrksatxngefarawng aelatrwcwdkhwamdnolhitxyuesmx ephuxpxngknxntraytxphupwycakkarichya thngphawakhwamdnolhitsungcakkarthiidrbyaimephiyngphx hrux xacidrbyamakekinipthaihekidkhwamdnolhitta odymixakarhnamud wub hlngcaknnemuxphupwyxakarthuelalng aelaphxklbiprksatwthibanid karihkhwamrukbphupwyepnsingthisakhy ephuxihphupwythiepnorkhkhwamdnolhitsunghlikeliyngpccyesiynginkarthaihekidkhwamdnsungkhunechiybphln aelaaenanaeruxngkarkhwbkhumkhwamdnolhitihid rbprathanyaldkhwamdnolhitxyangsmaesmx prbepliynphvtikrrm ephraaphawakhwamdnolhitsungwikvtnnswnihy misaehtucakarthiphupwyorkhkhwamdnolhitsungimsamarthkhwbkhumkhwamdnolhitihxyuinradbpktiid karrksadwyya aekikh kareluxkichyakhwreluxkyathisamarthldkhwamdnolhit yachid hrux yarbprathanthixxkvththierw inklumdngni yaklum Calcium Channel Blockers miklikkarxxkvththikhux ybyngimihaekhlesiymekhasuesllklamenuxhlxdeluxd miphlkhyayhlxdeluxd echn Clevidipine Nicardipine FDA ykelikkarichya Nifedipine kbphupwythimiphawakhwamdnolhitsungwikvt enuxngcakimsamarthkhadkhaenkarldradbkhwamolhitid yaklum Nitrates odyklikkarxxkvththiphanklik Nitric Oxide aelaipkhyayhlxdeluxd echn Nitroprusside Nitroglycerineyaklum Angiotensin Converting Enzyme Inhibitors odyklikkarxxkvththi ybyngkarthangan Angiotensin Converting Enzyme imihepliyn Angiotensin I ipepn Angiotensin II sngphlihhlxdeluxdkhyay echn Captoprilemuxidrbyathiichldkhwamdnolhitsungwikvt cnradbkhwamdnolhitldlngmaradbhnungaelw cungphicarnaihyarbprathanephuxldradbkhwamdnolhit dngni yaklum Diuretics xxkvththikhbpssawa ldprimannainhlxdeluxd sngphlihkhwamdnldlng echn Hydrochlorothiazide Furosemide Spironolactone karichyakhbpssawanitxngrawngphawa opaetsesiymta ykewn Spironolactone yaklum Beta Blockers klikkarxxkvththikhdkhwangkarthangan Beta receptor thaihldxtrakaretnkhxnghwic aelaldkarhlng Renin thiit miphlihhlxdeluxdkhyay aelakhwamdnolhitldlng echn Propranolol Atenolol Metoprolol karichyainklumnitxngrawnginphupwythiepnorkh hxbhud COPD aelaxacbdbngxakarkhxngphawaradbnatalineluxdtainphupwyebahwan echn icsn hnamudyaklum Calcium Channel Blockers odyklikkarxxkvththi ybyngimihaekhlesiymekhasuesllklamenuxhlxdeluxd miphlkhyayhlxdeluxd echn Amlodipine Felodipine karichyainklumnitxngrawngkarekidphawakhwamdnolhitta mixakaraesdngkhux hnamud ewiynsirsa aelaxacthaihekid reflex tachycardiayaklum Angiotensin Converting Enzyme Inhibitors odyklikkarxxkvththi ybyngkarthangan Angiotensin Converting Enzyme imihepliyn Angiotensin I ipepn Angiotensin II sngphlihhlxdeluxdkhyay echn Enalapril Lisinopril rawngxakarimphungprasngkhcakyakhux xakarix cakpyhakarsasmkhxng Bradykininyaklum Angiotensin II receptor Blockers xxkvththiodyybyngthi Angiotensin II receptor sngphlihhlxdeluxdkhyaytw aelayngipybyngkarhlng Aldosterone thaihdudklbnaldlng cungldkhwamdnlngid echn Losartan Valsartan Candesartanxangxing aekikhTextbook of pharmacotherapy taraephschbabd Evidence Based Clinical Practice Guideline thangxayurkrrm 2548 Thai Hypertension Society Guidelines in the Treatment of Hypertension 2008 http emedicine medscape com article 758544 followup Drug Information Handbook 18th Editionekhathungcak https th wikipedia org w index php title khwamdnolhitsungwikvt amp oldid 8678781, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม