fbpx
วิกิพีเดีย

งูทะเล

งูทะเล
งูสมิงทะเลปากเหลือง (Laticauda colubrina)
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: สัตว์ (Animalia)
ไฟลัม: สัตว์มีแกนสันหลัง (Chordata)
ไฟลัมย่อย: สัตว์มีกระดูกสันหลัง (Vertebrata)
ชั้น: สัตว์เลื้อยคลาน (Reptilia)
อันดับ: กิ้งก่าและงู (Squamata)
อันดับย่อย: งู (Serpentes)
วงศ์: งูพิษเขี้ยวหน้า (Elapidae)
วงศ์ย่อย: งูทะเล (Hydrophiinae)
Smith, 1926
แผนที่แสดงการกระจายพันธุ์ของงูทะเลทั่วโลก

งูทะเล เป็นชื่อสามัญที่ใช้เรียกสัตว์เลื้อยคลานจำพวกงู ที่อาศัยและดำรงชีวิตอยู่ในทะเลตลอดชีวิต ไม่เคยขึ้นมาบนบกเลย ยกเว้นการผสมพันธุ์และวางไข่ในบางชนิด งูทะเลเป็นงูที่อยู่ในวงศ์ย่อย Hydrophiinae งูทะเลทุกชนิดอาศัยอยู่ในทะเลหรือปากแม่น้ำชายฝั่งหมด ยกเว้น ชนิด Hydrophis semperi และ Laticauda crokeri เท่านั้น ที่พบอาศัยอยู่ในทะเลสาบน้ำจืดในประเทศฟิลิปปินส์

ลักษณะ

งูทะเลทั่วโลกมีทั้งหมดประมาณ 50 ชนิด พบตั้งแต่มหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรอินเดีย เชื่อว่าเป็นงูบกที่พัฒนาการลงมาสู่น้ำ โดยปกติ งูทะเลจะอาศัยอยู่ตามชายฝั่งน้ำตื้นที่อบอุ่น หากินปลาเป็นอาหารหลัก มีรูปร่างคล้ายงูบก แต่มีส่วนที่แตกต่างออกไปคือ เกล็ด บางชนิดมีเกล็ดเป็นมัน บางชนิดมีเกล็ดฝังอยู่ใต้ผิวหนัง ลำตัวลื่นคล้ายปลา หางแบนราบคล้ายใบพาย ซึ่งเป็นวิวัฒนาการใช้สำหรับว่ายน้ำ สีสันลำตัวเป็นปล้อง จึงทำให้จำแนกด้วยตาเปล่าได้ยากว่าชนิดไหนเป็นชนิดไหน โดยทั่วไปงูทะเลมีความยาวเต็มที่ประมาณ 50 - 70 เซนติเมตร แต่ก็มีบางชนิดที่ยาวได้ถึง 2 เมตร และมักอาศัยตามทะเลโคลนหรือทะเลที่มีน้ำขุ่นมากกว่าทะเลน้ำใส

ฟันของงูทะเลเป็นเขี้ยวสั้น ๆ ยกเว้นในสกุล Emydocephalus ที่มีฟันแข็งเรียงเป็นแถวหลังเขี้ยวบนกรรไกรบน อาจมีมากถึง 18 ซี่ งูทะเลจะมีชิ้นเนื้อเล็ก ๆ คล้ายฟองน้ำ ซึ่งจะช่วยขวางกั้นไม่ให้น้ำเข้าสู่รูจมูกเมื่อต้องการดำน้ำ รูจมูกของงูทะเลไม่มีอาณาเขตที่แน่นอน แต่จะอยู่สูงกว่างูบก ทั้งนี้ก็เพื่อป้องกันไม่ให้น้ำเข้าสู่รูจมูกได้โดยง่าย

ปอดข้างซ้ายของงูทะเลลดรูปลง ส่วนปอดข้างขวาจะพัฒนาให้ยาวขึ้น ในบางกรณีพบว่ายาวจนถึงรูก้น นอกจากจะมีปอดเอาไว้เพื่อหายใจแล้ว ปอดที่ยาวขึ้นนี้เชื่อว่าจะช่วยทำหน้าที่ช่วยในการหายใจ จึงสามารถเคลื่อนไหวได้ดีในน้ำทะเล เนื่องจากมีการปรับตัวทางด้านร่างกาย ทำให้สามารถเคลื่อนตัวอย่างรวดเร็วไปทางด้านหน้าและด้านหลัง แต่เคลื่อนตัวได้ไม่ดีเมื่ออยู่บนบก งูทะเลสามารถลอยตัวอยู่ที่ผิวหน้าน้ำทะเลได้เป็นเวลานานหลายชั่วโมง

งูทะเลส่วนใหญ่เป็นงูพิษ และเป็นงูพิษร้ายแรงด้วย พิษของงูทะเลเป็นพิษที่ทำลายระบบกล้ามเนื้อ โดยจะออกฤทธิ์เมื่อถูกกัดไปแล้วนานถึงครึ่งชั่วโมงหรือ 1 ชั่วโมง จึงมักมีผู้ถูกงูทะเลกัดเสียชีวิตบ่อย ๆ โดยไม่รู้ตัว แต่งูทะเลก็มีศัตรูตามธรรมชาติ คือ นกอินทรี ที่โฉบงูทะเลกินเป็นอาหาร

งูทะเลที่พบในไทย

งูทะเลที่พบในประเทศไทยมีหลายสิบชนิด หลายวงศ์ หลายสกุล ชนิดที่ใหญ่ที่สุดคือ งูสมิงทะเลปากดำ (Laticauda laticaudata) ที่มีความยาวได้ถึง 2 เมตร และมีพิษร้ายแรงที่สุด และมีอยู่เพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่ไม่มีพิษ คือ งูผ้าขี้ริ้ว (Acrochordus granulatus) โดยคนไทยมักจะเรียกชื่องูเหล่านี้รวมกัน เช่น งูผ้าขี้ริ้ว งูคออ่อน งูแสม งูฝักมะรุม งูชายธง เป็นต้น ซึ่งจริง ๆ แล้วเป็นงูแต่ละชนิดกัน

งูทะเลเป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่ในทะเล ส่วนมากหางจะมีลักษณะแบนคล้ายใบพายเพื่อประโชน์ในการว่ายน้ำ ทั่วโลกมีงูทะเลอยู่ราว 16 สกุล ประมาณ 50 ชนิดแพร่กระจายอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกและชายฝั่งมหาสมุทรอินเดีย งูทะเลอาจว่ายทวนน้ำเข้าไปในแหล่งน้ำจืด หรือในฤดูฝนอาจว่ายเข้าไปบริเวณปากน้ำที่เป็นน้ำกร่อย เนื่องจากบริเวณดังกล่าวมีธาตุอาหารอุดมสมบูรณ์ส่งผลให้มีปลาเป็นจำนวนมากจึงทำให้งูทะเลชุกชุมในบริเวณดังกล่าว งูทะเลเป็นสัตว์ที่ไม่ดุร้ายถึงแม้จะอยู่ในฤดูผสมพันธุ์ พวกมันมีพิษเอาไว้เพื่อการป้องกันตัวหรือหาอาหารเท่านั้น การที่คนเราถูกงูทะเลกัดเนื่องจากการเหยียบหรือจับต้องตัวมันขณะที่ติดมากับอวนของเรือประมง

ชนิดของงูทะเล

งูทะเลในน่านน้ำไทยมี 13 สกุล 23 ชนิด วงศ์ย่อย (Subfamily) คือ Hydrophiinae เป็นกลุ่มงูทะเลกลุ่มใหญ่มีถึง 21 ชนิดจากทั้งหมด 23 ชนิด เป็นงูทะเลแท้ที่มีการปรับตัวเพื่อการดำรงชีวิตในทะเลอย่างสมบูรณ์ คือ เกล็ดท้องลดรูปลงไปมากหรือหายไปเลยทำให้ไม่สามารถเลื้อยขึ้นบกได้จึงไม่มีการวางไข่บนบก ดังนั้นงูทะเลสายพันธุ์ย่อยนี้ทุกชนิดจะออกลูกเป็นตัว เช่น งูชายธงข้าวหลามตัด งูชายธงข้าวหลามตัดไทย งูกะรังหัวโต งูชายธงท้องบาง งูคออ่อนท้องขาว งูเสมียนรักหัวสั้น งูเสมียนรังหัวเข็ม งูชายธงหลังดำ งูอ้ายงั่ว งูแสมรังเหลือง งูแสมรังหัวเล็ก งูแสมรังหลังเหลือง งูแสมรังเทา งูแสมรังเทาท้องขาว งูแสมรังท้องเหลือง-ขาว และงูแสมรังคอยาวเป็นต้น งูสายพันธุ์ย่อยนี้ถือเป็นงูกลุ่มน้อยของงูทะเลไทยเพียงสกุลเดียว มีสมาชิกอยู่ 2 ชนิดเท่านั้น คือ งูสมิงทะเล และงูสมิงทะเลปากเหลือง งูทะเลสายพันธุ์ย่อยนี้มีการปรับตัวเพื่อการดำรงชีวิตในทะเลไม่สมบูรณ์เท่ากับพวก Hydrophiinae เกล็ดท้องยังมีอยู่และค่อนข้างกว้างอย่างน้อยประมาณครึ่งหนึ่งของความกว้างลำตัว ทำให้สามารถเลื้อยขึ้นบนหาดทรายได้บ้าง นอกจากนี้ยังมีการสืบพันธุ์ด้วยการวางไข่โดยขึ้นมาวางไข่บนบก

กลไกการปล่อยพิษและความเป็นพิษของงูทะเล

งูทะเลทุกชนิดมีต่อมพิษ (ยกเว้นงูผ้าขี้ริ้วเป็นงูทะเลชนิดเดียวที่ไม่มีพิษ มีหางกลมไม่แบนเป็นใบพาย) น้ำพิษของงูทะเลจะหลั่งออกมาใน 2 กรณี คือ เมื่อต้องการป้องกันตัว และ ล่าเหยื่อหรือหาอาหาร น้ำพิษจะเข้าไปทำลายหรือหยุดการเคลื่อนไหวของเหยื่อทำให้เหยื่อเป็นอัมพาตและตายในที่สุด พบว่าพิษของงูทะเลมีความรุนแรงมากกว่าพิษของงูพิษชนิดอื่นๆ (ยกเว้นพิษของงูพิษ Tiger snake ของออสเตรเลีย) น้ำพิษของงูทะเลมีความเป็นพิษสูง 1 หยดของน้ำพิษ (ประมาณ 0.03 มิลลิลิตรหรือประมาณ 10 มิลลิกรัมของน้ำหนักแห้ง) มีพิษมากพอที่จะฆ่าผู้ชายที่โตเต็มวัยได้ถึง 3 คน งูทะเลบางชนิดสามารถส่งผ่านน้ำพิษได้ 7-8 หยดในการกัดเพียงครั้งเดียว

น้ำพิษของงูทะเลทุกชนิดประกอบด้วยพิษมากกว่า 1 ชนิดและการรวมกันของพิษหลายชนิดทำให้มีความเป็นพิษที่รุนแรงมากขึ้น พิษของงูทะเลเป็นพิษชนิด Neurotoxin มีลักษณะเป็นของเหลวใสมีสีเหลืองหรือไม่มีสี มีความเป็นกรด-ด่าง (pH) ประมาณ 6.3 สามารถทนอยู่ในช่วง pH ได้ช่วงหนึ่ง มีผลต่อการทำงานของระบบประสาทที่ส่งต่อไปยังกล้ามเนื้อต่างๆ ทั่วร่างกาย พิษงูทะเลประกอบด้วยโปรตีนซึ่งเป็นองค์ประกอบหลังถึง 90 เปอร์เซ็นต์ของน้ำหนังแห้ง และโปรตีนส่วนมากเป็นเอนไซม์โดยจะพบเอนไซม์ 3 ชนิดได้แก่ Proteolytic enzyme, Phospholipase และ Hyaluronidase พิษงูทะเลบางชนิดสามารถทนความร้อน 100 องศาเซลเซียสได้ถึง 5 นาที โดยไม่สูญเสียความเป็นพิษแต่จะถูกทำลายเมื่อผ่านไป 20 นาที นอกจากนี้พบว่าน้ำพิษงูทะเลบางชนิดถูทำลายได้ที่อุณหภูมิ 75 องศาเซลเซียสในเวลา 20 นาทีเท่านั้น

งูทะเลมีเขี้ยวพิษสองเขี้ยวอยู่ทั้งสองข้างของขากรรไกรบน แต่มีบางชนิดพบเพียงเขี้ยวเดียวอยู่ในช่องปาก เขี้ยวงูทะเลมีขนาดเล็กมากเฉลี่ยประมาณ 1.3-6.7 มิลลิเมตร มีลักษณะเหมือนกับเขี้ยวของงูเห่าบกแต่มีขนาดเล็กกว่าเมื่อเทียบกับงูขนาดเดียวกัน เขี้ยวพิษ (Venom apparatus) จะเชื่อมต่อกับต่อมพิษ (Venom gland) ซึ่งต่อมนี้จะอยู่สองข้างของหัวและน้ำพิษจะไหลจากโคนเขี้ยวพิษ แรงดันจากการกัดเหยื่อจะส่งน้ำพิษเข้าสู่ตัวเหยื่อ เนื่องจากเขี้ยวงูทะเลมีขนาดเล็กมากเมื่อถูกกัดจะรู้สึกเหมือนโดนหนามตำหรือเหมือนโดนผึ้งต่อย ร่องรอยจากการถูกกัดนั้นแทบมองไม่เห็นหรืออาจพบมีเลือดออกซิบๆ มีรอยขีดยาว 2-3 เซนติเมตร รู้สึกเจ็บแปลบแล้วหายไปแต่บางครั้งก็อาจมีความรู้สึกเจ็บอยู่ระยะหนึ่งซึ่งไม่นานและไม่รุนแรงนัก อาการเจ็บเมื่อโดนกัดเช่นนี้ทำให้ผู้ที่ถูกงูทะเลกัดมักเข้าใจผิดว่าถูกปูหนีบ ถูกก้อนหินบาด หรือถูกสัตว์ไม่มีพิษขนาดเล็กชนิดอื่นๆ ทำร้าย หากถูกงูทะเลกัดแล้วเขี้ยวของงูทะเลหลุดคาอยู่ในแผลก่อนทำการรักษาต้องบ่งเอาเขี้ยวออกก่อน

อาการของผู้ที่ได้รับพิษจากงูทะเล

พิษงูทะเลเป็นพิษชนิด Neurotoxin เมื่อถูกกัดพิษจะกระจายไปทั่วกล้ามเนื้อต่างๆ และกล้ามเนื้อที่ถูกพิษทำลายนี้จะสามารถซ่อมแซมเองได้ภายใน 1-2 สัปดาห์หลังการกัดจนกล้ามเนื้อนั้นกลับมาสมบูรณ์ดังเดิม สำหรับอาการต่างๆ จะเริ่มพัฒนาขึ้นอย่างช้าๆ ตั้งแต่ 20 นาทีจนถึงหลายชั่วโมง อาการเริ่มแรกที่พบคือ มีอาการเจ็บปวดและเครียดเกร็งของกล้ามเนื้อ ลิ้นเริ่มแข็งไม่มีความรู้สึก กล้ามเนื้อเริ่มแข็งเกร็งไปทั่วร่างกาย เจ็บตามกล้ามเนื้อเมื่อมีการเคลื่อนไหว รู้สึกอ่อนเพลีย ไม่มีเรี่ยวแรง จากนั้นเริ่มมีอาการอัมพาตที่ขาภายใน 1-2 ชั่วโมงหลังถูกกัดและอาการอัมพาตจะผ่านซ่านไปที่หลัง แขนและลุกลามมาที่ต้นคอ กรามจะแข็งขยับปากหรือออกเสียงพูดได้ยาก ม่านตาขยายกว้างมีเหงื่อออก มีอาการชักกระตุกเป็นพักๆ และเริ่มบ่อยครั้งขึ้น สุดท้ายจะมีอาการทางเดินหายใจอย่างเห็นได้ชัด หายใจไม่ออก หมดสติ และเสียชีวิตในที่สุด โดยอัตราการเสียชีวิตของคนที่ถูกงูทะเลกัดอยู่ที่ 25 เปอร์เซ็นต์ในการกัดแต่ละครั้ง สำหรับอาการที่เกิดขึ้นไม่จำเป็นต้องเกิดขึ้นทั้งหมดทุกอาการและเวลาในการพัฒนาของอาการต่างๆ ก็แตกต่างกันด้วย

การปฐมพยาบาลและการรักษาผู้ที่ถูกงูทะเลกัด

ก่อนการรักษาต้องวิเคราะห์ก่อนว่าผู้เคราะห์ร้ายถูกงูทะเลกัดในทะเล แหล่งน้ำขัง ชายฝั่ง หรือป่าชายเลน เพราะอาการต่างๆ จะไม่ปรากฏได้โดยง่าย แต่ถ้าถูกกัดในน้ำจืด หนองบึง หรือบริเวณหาดทรายจะสามารถทราบว่าถูกงูทะเลกัดได้เนื่องจากจะมีอาการเกี่ยวกับกล้ามเนื้อ อาการอัมพาต และปัสสาวะเป็นสีเข้มภายในไม่กี่ชั่วโมง สัตว์หลายชนิดในทะเลสามารถทำอันตรายได้ลักษณะคล้ายกับพิษงูทะเล เช่น เงี่ยงของปลาบางชนิด กลุ่ม Coelenterates กลุ่มเม่นทะเล และกลุ่มหอยเต้าปูน เป็นต้น แต่หากถูกงูทะเลกัดผู้ป่วยไม่มีอาการเจ็บปวดบริเวณที่ถูกกัด

วิธีที่ดีที่สุดที่จะวินิจฉัยว่าผู้เคราะห์ร้ายถูกงูทะเลกัดได้แน่นอนก็คือ ผู้ใกล้ชิดหรือผู้เคราะห์ร้ายต้องฆ่างูตัวนั้นหรือนำซากงูตัวนั้นไปที่โรงพยาบาลด้วย เพื่อจะสามารถจำแนกชนิดของงูก่อนการรักษาที่ถูกต้อง สำหรับก่อนการรักษาควรมีการปฐมพยาบาลผู้เคราะห์ร้ายดังนี้

  1. ทำความสะอาดแผลที่ถูกงูกัดด้วยยาฆ่าเชื้อ เช่น แอลกอฮอล์หรือทิงเจอร์ไอโอดีน
  2. อย่าตื่นตกใจเกินไปและควรพาผู้ป่วยไปพบแพทย์ที่โรงพยาบาล หรือสถานีอนามัยที่ใกล้ทีสุดโดยเอาซากงูที่กัดไปด้วย เพื่อความถูกต้องในการรักษา
  3. ไม่ควรนำเอาใบไม้ รากไม้ หรือสมุนไพรต่างๆ ใส่แผล เพราะจำทำให้แผลสกปรก เกิดการติดเชื้อและอาจเป็นบาดทะยักได้
  4. ตำแหน่งขาหรือแขนที่ถูกกัดควรให้เคลื่อนไหวน้อยที่สุด โดยใช้ไม้กระดานหรือกระดาษแข็งๆ รองหรือดามไว้
  5. หากต้องมีการขันชะเนาะต้องใช้ผ้า โดยรัดเหนือตำแหน่งที่ถูกกัด รัดแน่นปานกลางพอที่จะใช้นิ้วมือ 1 นิ้วสอดระหว่างผ้ากับผิวหนังที่รัดได้ เพื่อบังคับให้จุดที่งูกัดเคลื่อนไวน้อยที่สุด (ห้ามใช้เชือกหรือยางรัดเด็ดขาด)
  6. ห้ามดื่มของมึนเมา เนื่องจากอาจเกิดการสำลักและอาเจียนหรือบดบังอาการที่แท้จริงที่เกิดจากพิษงูได้

ประโยชน์ของงูทะเล

งูทะเล เป็นสัตว์ที่นิยมนำมาปรุงเป็นอาหารได้หลากหลาย เช่นการปรุงสด ๆ อย่างต้มหรือผัด หรือนำไปดองกับเหล้า หรือแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อาหารต่าง ๆ อย่าง ลูกชิ้น โดยเชื่อว่ามีคุณสมบัติ​แก้ปวดหลัง แก้นอนไม่หลับและแก้ระบบการย่อยอาหารผิดปกติ ในประเทศญี่ปุ่นมีการนำไปรมควันหรือทำเป็นซุป อีกทั้งหนังงูทะเลก็ยังมีการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์เครื่องหนัง ในน่านน้ำไทยมีจับงูทะเลได้มากกว่า 80 ตันในแต่ละปี ในจำนวนนี้จะมี 7 ชนิดที่ถูกจับบ่อย และชนิดที่จับได้บ่อยที่สุดคือ งูแสมรังเหลืองลายคราม (Hydrophis cyanocinctus) และงูอ้ายงั่ว (Hydrophis hardwickii หรือเดิมใช้ชื่อว่า Lapemis hardwickii)

อ้างอิง

  1. Multi-celled animals (Metazoa)
  2. สัณฐานวิทยา ชีววิทยาการสืบพันธุ์ และนิเวศวิทยาของงูผ้าขี้ริ้ว Acrochordus granulatus ในอ่าวพังงา ประเทศไทย
  3. ไพบูลย์ จินตกุล. 2543. งูพิษในประเทศไทย. บริษัท มติชน พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพฯ. หน้า 122-128
  4. บุญเยือน ทุมวิภาต. 2525. การรักษาผู้ป่วยถูกงูพิษกัด. ภาควิชาเวชศาสตร์ป้องกันและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ. หน้า 24, 93-94.
  5. "เปิบไม่พิศดาร ลูกชิ้นงู งูอัด". โอเคเนชั่น. 25 March 2007. สืบค้นเมื่อ 23 December 2014.
  6. . คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2009-02-08. สืบค้นเมื่อ 2014-12-23.
  7. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2013-02-18. สืบค้นเมื่อ 2014-12-23.
  8. "จับงูทะเล ในอ่าวไทย (งูแสมรังเหลืองลายคราม และ งูอ้ายงั่ว)". itis.gov. 6 December 2014. สืบค้นเมื่อ 23 December 2014.

แหล่งข้อมูลอื่น

ทะเล, สม, งทะเลปากเหล, อง, laticauda, colubrina, การจำแนกช, นทางว, ทยาศาสตร, อาณาจ, กร, ตว, animalia, ไฟล, ตว, แกนส, นหล, chordata, ไฟล, มย, อย, ตว, กระด, กส, นหล, vertebrata, ตว, เล, อยคลาน, reptilia, นด, งก, าและง, squamata, นด, บย, อย, serpentes, วงศ, ษเข, . nguthaelngusmingthaelpakehluxng Laticauda colubrina karcaaenkchnthangwithyasastrxanackr stw Animalia iflm stwmiaeknsnhlng Chordata iflmyxy stwmikraduksnhlng Vertebrata chn stweluxykhlan Reptilia xndb kingkaaelangu Squamata xndbyxy ngu Serpentes wngs nguphisekhiywhna Elapidae wngsyxy nguthael Hydrophiinae Smith 1926aephnthiaesdngkarkracayphnthukhxngnguthaelthwolk nguthael epnchuxsamythiicheriykstweluxykhlancaphwkngu thixasyaeladarngchiwitxyuinthaeltlxdchiwit imekhykhunmabnbkely ykewnkarphsmphnthuaelawangikhinbangchnid nguthaelepnnguthixyuinwngsyxy Hydrophiinae nguthaelthukchnidxasyxyuinthaelhruxpakaemnachayfnghmd ykewn chnid Hydrophis semperi aela Laticauda crokeri ethann thiphbxasyxyuinthaelsabnacudinpraethsfilippins enuxha 1 lksna 2 nguthaelthiphbinithy 3 chnidkhxngnguthael 4 klikkarplxyphisaelakhwamepnphiskhxngnguthael 5 xakarkhxngphuthiidrbphiscaknguthael 6 karpthmphyabalaelakarrksaphuthithuknguthaelkd 7 praoychnkhxngnguthael 8 xangxing 9 aehlngkhxmulxunlksna aekikhnguthaelthwolkmithnghmdpraman 50 chnid 1 phbtngaetmhasmuthraepsifikaelamhasmuthrxinediy echuxwaepnngubkthiphthnakarlngmasuna odypkti nguthaelcaxasyxyutamchayfngnatunthixbxun hakinplaepnxaharhlk miruprangkhlayngubk aetmiswnthiaetktangxxkipkhux ekld bangchnidmiekldepnmn bangchnidmiekldfngxyuitphiwhnng latwlunkhlaypla hangaebnrabkhlayibphay sungepnwiwthnakarichsahrbwayna sisnlatwepnplxng cungthaihcaaenkdwytaeplaidyakwachnidihnepnchnidihn odythwipnguthaelmikhwamyawetmthipraman 50 70 esntiemtr aetkmibangchnidthiyawidthung 2 emtr aelamkxasytamthaelokhlnhruxthaelthiminakhunmakkwathaelnais 2 fnkhxngnguthaelepnekhiywsn ykewninskul Emydocephalus thimifnaekhngeriyngepnaethwhlngekhiywbnkrrikrbn xacmimakthung 18 si nguthaelcamichinenuxelk khlayfxngna sungcachwykhwangknimihnaekhasurucmukemuxtxngkardana rucmukkhxngnguthaelimmixanaekhtthiaennxn aetcaxyusungkwangubk thngnikephuxpxngknimihnaekhasurucmukidodyngaypxdkhangsaykhxngnguthaelldruplng swnpxdkhangkhwacaphthnaihyawkhun inbangkrniphbwayawcnthungrukn nxkcakcamipxdexaiwephuxhayicaelw pxdthiyawkhunniechuxwacachwythahnathichwyinkarhayic cungsamarthekhluxnihwiddiinnathael enuxngcakmikarprbtwthangdanrangkay thaihsamarthekhluxntwxyangrwderwipthangdanhnaaeladanhlng aetekhluxntwidimdiemuxxyubnbk nguthaelsamarthlxytwxyuthiphiwhnanathaelidepnewlananhlaychwomngnguthaelswnihyepnnguphis aelaepnnguphisrayaerngdwy phiskhxngnguthaelepnphisthithalayrabbklamenux odycaxxkvththiemuxthukkdipaelwnanthungkhrungchwomnghrux 1 chwomng cungmkmiphuthuknguthaelkdesiychiwitbxy odyimrutw aetnguthaelkmistrutamthrrmchati khux nkxinthri thiochbnguthaelkinepnxaharnguthaelthiphbinithy aekikhnguthaelthiphbinpraethsithymihlaysibchnid hlaywngs hlayskul chnidthiihythisudkhux ngusmingthaelpakda Laticauda laticaudata thimikhwamyawidthung 2 emtr aelamiphisrayaerngthisud aelamixyuephiyngchnidediywethannthiimmiphis khux nguphakhiriw Acrochordus granulatus odykhnithymkcaeriykchuxnguehlanirwmkn echn nguphakhiriw ngukhxxxn nguaesm ngufkmarum nguchaythng epntn sungcring aelwepnnguaetlachnidknnguthaelepnstwthixasyxyuinthael swnmakhangcamilksnaaebnkhlayibphayephuxpraochninkarwayna thwolkminguthaelxyuraw 16 skul praman 50 chnid 1 aephrkracayxyuinmhasmuthraepsifikaelachayfngmhasmuthrxinediy nguthaelxacwaythwnnaekhaipinaehlngnacud hruxinvdufnxacwayekhaipbriewnpaknathiepnnakrxy enuxngcakbriewndngklawmithatuxaharxudmsmburnsngphlihmiplaepncanwnmakcungthaihnguthaelchukchuminbriewndngklaw nguthaelepnstwthiimduraythungaemcaxyuinvduphsmphnthu phwkmnmiphisexaiwephuxkarpxngkntwhruxhaxaharethann karthikhnerathuknguthaelkdenuxngcakkarehyiybhruxcbtxngtwmnkhnathitidmakbxwnkhxngeruxpramngchnidkhxngnguthael aekikhnguthaelinnannaithymi 13 skul 23 chnid 3 wngsyxy Subfamily khux Hydrophiinae epnklumnguthaelklumihymithung 21 chnidcakthnghmd 23 chnid epnnguthaelaeththimikarprbtwephuxkardarngchiwitinthaelxyangsmburn khux ekldthxngldruplngipmakhruxhayipelythaihimsamartheluxykhunbkidcungimmikarwangikhbnbk dngnnnguthaelsayphnthuyxynithukchnidcaxxklukepntw echn nguchaythngkhawhlamtd nguchaythngkhawhlamtdithy ngukarnghwot nguchaythngthxngbang ngukhxxxnthxngkhaw nguesmiynrkhwsn nguesmiynrnghwekhm nguchaythnghlngda nguxayngw nguaesmrngehluxng nguaesmrnghwelk nguaesmrnghlngehluxng nguaesmrngetha nguaesmrngethathxngkhaw nguaesmrngthxngehluxng khaw aelanguaesmrngkhxyawepntn ngusayphnthuyxynithuxepnnguklumnxykhxngnguthaelithyephiyngskulediyw mismachikxyu 2 chnidethann khux ngusmingthael aelangusmingthaelpakehluxng nguthaelsayphnthuyxynimikarprbtwephuxkardarngchiwitinthaelimsmburnethakbphwk Hydrophiinae ekldthxngyngmixyuaelakhxnkhangkwangxyangnxypramankhrunghnungkhxngkhwamkwanglatw thaihsamartheluxykhunbnhadthrayidbang nxkcakniyngmikarsubphnthudwykarwangikhodykhunmawangikhbnbkklikkarplxyphisaelakhwamepnphiskhxngnguthael aekikhnguthaelthukchnidmitxmphis ykewnnguphakhiriwepnnguthaelchnidediywthiimmiphis mihangklmimaebnepnibphay naphiskhxngnguthaelcahlngxxkmain 2 krni khux emuxtxngkarpxngkntw aela laehyuxhruxhaxahar naphiscaekhaipthalayhruxhyudkarekhluxnihwkhxngehyuxthaihehyuxepnxmphataelatayinthisud phbwaphiskhxngnguthaelmikhwamrunaerngmakkwaphiskhxngnguphischnidxun ykewnphiskhxngnguphis Tiger snake khxngxxsetreliy naphiskhxngnguthaelmikhwamepnphissung 1 hydkhxngnaphis praman 0 03 millilitrhruxpraman 10 millikrmkhxngnahnkaehng miphismakphxthicakhaphuchaythiotetmwyidthung 3 khn nguthaelbangchnidsamarthsngphannaphisid 7 8 hydinkarkdephiyngkhrngediyw 4 naphiskhxngnguthaelthukchnidprakxbdwyphismakkwa 1 chnidaelakarrwmknkhxngphishlaychnidthaihmikhwamepnphisthirunaerngmakkhun phiskhxngnguthaelepnphischnid Neurotoxin milksnaepnkhxngehlwismisiehluxnghruximmisi mikhwamepnkrd dang pH praman 6 3 samarththnxyuinchwng pH idchwnghnung miphltxkarthangankhxngrabbprasaththisngtxipyngklamenuxtang thwrangkay phisnguthaelprakxbdwyoprtinsungepnxngkhprakxbhlngthung 90 epxresntkhxngnahnngaehng aelaoprtinswnmakepnexnismodycaphbexnism 3 chnididaek Proteolytic enzyme Phospholipase aela Hyaluronidase phisnguthaelbangchnidsamarththnkhwamrxn 100 xngsaeslesiysidthung 5 nathi odyimsuyesiykhwamepnphisaetcathukthalayemuxphanip 20 nathi nxkcakniphbwanaphisnguthaelbangchnidthuthalayidthixunhphumi 75 xngsaeslesiysinewla 20 nathiethannnguthaelmiekhiywphissxngekhiywxyuthngsxngkhangkhxngkhakrrikrbn aetmibangchnidphbephiyngekhiywediywxyuinchxngpak ekhiywnguthaelmikhnadelkmakechliypraman 1 3 6 7 milliemtr milksnaehmuxnkbekhiywkhxngnguehabkaetmikhnadelkkwaemuxethiybkbngukhnadediywkn ekhiywphis Venom apparatus caechuxmtxkbtxmphis Venom gland sungtxmnicaxyusxngkhangkhxnghwaelanaphiscaihlcakokhnekhiywphis aerngdncakkarkdehyuxcasngnaphisekhasutwehyux enuxngcakekhiywnguthaelmikhnadelkmakemuxthukkdcarusukehmuxnodnhnamtahruxehmuxnodnphungtxy rxngrxycakkarthukkdnnaethbmxngimehnhruxxacphbmieluxdxxksib mirxykhidyaw 2 3 esntiemtr rusukecbaeplbaelwhayipaetbangkhrngkxacmikhwamrusukecbxyurayahnungsungimnanaelaimrunaerngnk xakarecbemuxodnkdechnnithaihphuthithuknguthaelkdmkekhaicphidwathukpuhnib thukkxnhinbad hruxthukstwimmiphiskhnadelkchnidxun tharay hakthuknguthaelkdaelwekhiywkhxngnguthaelhludkhaxyuinaephlkxnthakarrksatxngbngexaekhiywxxkkxnxakarkhxngphuthiidrbphiscaknguthael aekikhphisnguthaelepnphischnid Neurotoxin emuxthukkdphiscakracayipthwklamenuxtang aelaklamenuxthithukphisthalaynicasamarthsxmaesmexngidphayin 1 2 spdahhlngkarkdcnklamenuxnnklbmasmburndngedim sahrbxakartang caerimphthnakhunxyangcha tngaet 20 nathicnthunghlaychwomng xakarerimaerkthiphbkhux mixakarecbpwdaelaekhriydekrngkhxngklamenux linerimaekhngimmikhwamrusuk klamenuxerimaekhngekrngipthwrangkay ecbtamklamenuxemuxmikarekhluxnihw rusukxxnephliy immieriywaerng caknnerimmixakarxmphatthikhaphayin 1 2 chwomnghlngthukkdaelaxakarxmphatcaphansanipthihlng aekhnaelaluklammathitnkhx kramcaaekhngkhybpakhruxxxkesiyngphudidyak mantakhyaykwangmiehnguxxxk mixakarchkkratukepnphk aelaerimbxykhrngkhun sudthaycamixakarthangedinhayicxyangehnidchd hayicimxxk hmdsti aelaesiychiwitinthisud odyxtrakaresiychiwitkhxngkhnthithuknguthaelkdxyuthi 25 epxresntinkarkdaetlakhrng sahrbxakarthiekidkhunimcaepntxngekidkhunthnghmdthukxakaraelaewlainkarphthnakhxngxakartang kaetktangkndwykarpthmphyabalaelakarrksaphuthithuknguthaelkd aekikhkxnkarrksatxngwiekhraahkxnwaphuekhraahraythuknguthaelkdinthael aehlngnakhng chayfng hruxpachayeln ephraaxakartang caimpraktidodyngay aetthathukkdinnacud hnxngbung hruxbriewnhadthraycasamarththrabwathuknguthaelkdidenuxngcakcamixakarekiywkbklamenux xakarxmphat aelapssawaepnsiekhmphayinimkichwomng stwhlaychnidinthaelsamarththaxntrayidlksnakhlaykbphisnguthael echn engiyngkhxngplabangchnid klum Coelenterates klumemnthael aelaklumhxyetapun epntn aethakthuknguthaelkdphupwyimmixakarecbpwdbriewnthithukkdwithithidithisudthicawinicchywaphuekhraahraythuknguthaelkdidaennxnkkhux phuiklchidhruxphuekhraahraytxngkhangutwnnhruxnasakngutwnnipthiorngphyabaldwy ephuxcasamarthcaaenkchnidkhxngngukxnkarrksathithuktxng sahrbkxnkarrksakhwrmikarpthmphyabalphuekhraahraydngni thakhwamsaxadaephlthithukngukddwyyakhaechux echn aexlkxhxlhruxthingecxrixoxdin xyatuntkicekinipaelakhwrphaphupwyipphbaephthythiorngphyabal hruxsthanixnamythiiklthisudodyexasaknguthikdipdwy ephuxkhwamthuktxnginkarrksa imkhwrnaexaibim rakim hruxsmuniphrtang isaephl ephraacathaihaephlskprk ekidkartidechuxaelaxacepnbadthaykid taaehnngkhahruxaekhnthithukkdkhwrihekhluxnihwnxythisud odyichimkradanhruxkradasaekhng rxnghruxdamiw haktxngmikarkhnchaenaatxngichpha odyrdehnuxtaaehnngthithukkd rdaennpanklangphxthicaichniwmux 1 niwsxdrahwangphakbphiwhnngthirdid ephuxbngkhbihcudthingukdekhluxniwnxythisud hamichechuxkhruxyangrdeddkhad hamdumkhxngmunema enuxngcakxacekidkarsalkaelaxaeciynhruxbdbngxakarthiaethcringthiekidcakphisnguidpraoychnkhxngnguthael aekikhnguthael epnstwthiniymnamaprungepnxaharidhlakhlay echnkarprungsd xyangtmhruxphd hruxnaipdxngkbehla hruxaeprrupepnphlitphnthxahartang xyang lukchin 5 odyechuxwamikhunsmbti aekpwdhlng aeknxnimhlbaelaaekrabbkaryxyxaharphidpkti inpraethsyipunmikarnaiprmkhwnhruxthaepnsup 6 7 xikthnghnngnguthaelkyngmikaraeprrupepnphlitphnthekhruxnghnng innannaithymicbnguthaelidmakkwa 80 tninaetlapi incanwnnicami 7 chnidthithukcbbxy aelachnidthicbidbxythisudkhux nguaesmrngehluxnglaykhram Hydrophis cyanocinctus aelanguxayngw Hydrophis hardwickii hruxedimichchuxwa Lapemis hardwickii 8 xangxing aekikh 1 0 1 1 Multi celled animals Metazoa snthanwithya chiwwithyakarsubphnthu aelaniewswithyakhxngnguphakhiriw Acrochordus granulatus inxawphngnga praethsithy iphbuly cintkul 2543 nguphisinpraethsithy bristh mtichn phimphkhrngthi 2 krungethph hna 122 128 buyeyuxn thumwiphat 2525 karrksaphupwythuknguphiskd phakhwichaewchsastrpxngknaelasngkhm mhawithyalymhidl phimphkhrngthi 1 krungethph hna 24 93 94 epibimphisdar lukchinngu nguxd oxekhenchn 25 March 2007 subkhnemux 23 December 2014 Kudaka Island khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2009 02 08 subkhnemux 2014 12 23 saenathiekbthawr khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2013 02 18 subkhnemux 2014 12 23 cbnguthael inxawithy nguaesmrngehluxnglaykhram aela nguxayngw itis gov 6 December 2014 subkhnemux 23 December 2014 swang ecriyphl 2514 stwthaelthiepnphytxchiwit hnwysarwcaehlngpramng krmpramng phimphkhrngthi 1 krungethph hna 34 39 http www talaythai com Education seasnake index php Archived 2007 06 27 thi ewyaebkaemchchin http www talaythai com marine animal seasnake index php3 Archived 2007 09 27 thi ewyaebkaemchchinaehlngkhxmulxun aekikhnguthael Archived 2007 06 27 thi ewyaebkaemchchinwikispichismikhxmulphasaxngkvsekiywkb Hydrophiidaeekhathungcak https th wikipedia org w index php title nguthael amp oldid 9620254, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม