fbpx
วิกิพีเดีย

จังหวัดบันเติน

บันเติน (อินโดนีเซีย: Banten) เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศอินโดนีเซีย ตั้งอยู่ที่อ่าวบันเตินทางตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะชวา มีพื้นที่ 9,160.7 ตารางกิโลเมตร มีประชากร 9,083,114 คน (พ.ศ. 2548) จังหวัดบันเตินก่อตั้งขึ้นเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2543 โดยแยกออกจากจังหวัดชวาตะวันตก มีเมืองหลวงคือเซอรัง (Serang)

จังหวัดบันเติน

Provinsi Banten (อินโดนีเซีย)

ธง

ตรา
คำขวัญ: 
Iman Taqwa
(Faith and Piety)
ที่ตั้งในประเทศอินโดนีเซีย
พิกัดภูมิศาสตร์: 6°30′S 106°15′E / 6.500°S 106.250°E / -6.500; 106.250พิกัดภูมิศาสตร์: 6°30′S 106°15′E / 6.500°S 106.250°E / -6.500; 106.250
ประเทศอินโดนีเซีย
เมืองเอกเซอรัง
การปกครอง
 • Governorระตูอาตุต โชซิยะห์
พื้นที่
 • ทั้งหมด9,163 ตร.กม. (3,538 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2010)
 • ทั้งหมด10,644,030 คน
 • ความหนาแน่น1,200 คน/ตร.กม. (3,000 คน/ตร.ไมล์)
Demographics
 • ชาติพันธุ์Bantenese (47%), Sundanese (23%), Javanese (12%), Betawi (10%), Chinese (1%)
 • ศาสนาอิสลาม (96.6%), โปรเตสแตนต์ (1.2%), โรมันคาทอลิก (1%), พุทธ (0.7%), ฮินดู (0.4%)[ต้องการอ้างอิง]
 • ภาษาภาษาซุนดา, ภาษาชวา, ภาษาอินโดนีเซีย, ภาษาเบอตาวี
เขตเวลาWIB (UTC+7)
เว็บไซต์bantenprov.go.id

ประวัติศาสตร์

 
เมืองบันเตินเมื่อ พ.ศ. 2267

บันเติน หรือบันตัมเป็นเมืองเก่าแก่ของอินโดนีเซีย เคยเป็นศูนย์กลางของอาณาจักรบันเตินที่มีอำนาจในระหว่าง พ.ศ. 2067 – 2294 อาณาจักรบันเตินเป็นหนึ่งในบรรดารัฐมุสลิมที่ก่อตั้งขึ้นตามแนวชายฝั่งของเกาะชวา มีความรุ่งเรืองและเป็นเอกราชระหว่างพุทธศตวรรษที่ 21 – 23 โดยรุ่งเรืองที่สุดในสมัยของสุลต่านอากุง อับดุลฟาตะห์ผู้ครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. 2194 - 2225 สุลต่านแห่งบันเตินนั้นได้ขยายอำนาจไปสู่ชวาตะวันตก จาการ์ตา และชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้ของกาลีมันตัน เมื่อขยายอำนาจไปถึงที่ใดก็บังคับให้ดินแดนนั้นยอมรับศาสนาอิสลาม ในสมัยเดียวกันนั้น มีอาณาจักรที่ยิ่งใหญ่ในเกาะชวาอีกแห่งหนึ่งคืออาณาจักรมะตะรัมซึ่งต่างฝ่ายต่างคานอำนาจกันอยู่ได้

เมื่อชาวตะวันตกเข้ามาในบันเติน ในช่วงแรกสุลต่านแห่งบันเตินสามารถรักษาผลประโยชน์ของบันเตินไว้ได้ จนกระทั่งเนเธอร์แลนด์เข้ามาและพยายามบีบบังคับการค้าของชนพื้นเมืองอย่างหนัก จนเกิดการกระทบกระทั่งกับบันเตินใน พ.ศ. 2161 และเข้ายึดเมืองจาการ์ตาหรือเมืองปัตตาเวียไว้ได้ และใช้เป็นสถานีการค้า ความขัดแย้งระหว่างบันเตินกับเนเธอร์แลนด์จึงรุนแรงยิ่งขึ้น เนเธอร์แลนด์ยังบังคับให้พ่อค้าชาวอังกฤษและฝรั่งเศสออกไปจากปัตตาเวียด้วย

ต่อมาเกิดกรณีพิพาทแย่งชิงราชสมบัติในบันเตินระหว่างสุลต่านอากุง อับดุลฟาตะห์กับโอรสองค์ใหญ่คือเจ้าชายหะยีอับดุลกาฮาร์ เนเธอร์แลนด์เข้ามาแทรกแซงและสนับสนุนให้เจ้าชายหะยีอับดุลกาฮาร์ได้ขึ้นครองราชย์และต้องลงนามเป็นไมตรีกับเนเธอร์แลนด์ ทำให้ชาวบันเตินไม่พอใจและสนับสนุนสุลต่านพระองค์เดิมให้กลับมาครองราชย์อีก จึงเกิดสงครามกลางเมืองขึ้นใน พ.ศ. 2196 อับดุลกาฮาร์ เป็นฝ่ายชนะและคุมขังพระบิดาไว้ในคุกจนสิ้นพระชนม์

อับดุลกาฮาร์ได้ตอบแทนเนเธอร์แลนด์ที่สนับสนุนพระองค์โดยยกเลิกสิทธิของบันเตินเหนือรัฐเชรีบอนในชวาตะวันออก และยอมรับอำนาจของเนเธอร์แลนด์ ต่อมาใน พ.ศ. 2291 เกิดสงครามชิงราชสมบัติอีกครั้งระหว่างฝ่ายที่เนเธอร์แลนด์หนุนหลังกับฝ่ายที่ต่อต้านเนเธอร์แลนด์ เหตุการณ์วุ่นวายสงบลงใน พ.ศ. 2296 โดยปะแงรัน กุสตีที่เนเธอร์แลนด์เช่นกันได้ขึ้นครองราชย์ และได้ลงนามในสนธิสัญญายอมเป็นประเทศราชของเนเธอร์แลนด์ เมื่อเนเธอร์แลนด์ประสบปัญหา บริษัทดัตช์อีสต์อินดีสต์ล้มละลายใน พ.ศ. 2322 และต้องขูดรีดภาษีจากชนพื้นเมืองมากขึ้น ชาวบันเตินจึงลุกฮือขึ้นต่อต้านเนเธอร์แลนด์ นอกจากนั้น อังกฤษยังได้ยกพลขึ้นบกที่เซอมารังและปิดล้อมปัตตาเวียไว้ ในที่สุด เนเธอร์แลนด์จึงเสียบันเตินให้อังกฤษเมื่อ 17 กันยายน พ.ศ. 2354

ในสมัยของอังกฤษ เกิดสงครามชิงราชสมบัติในบันเตินอีกครั้ง ระหว่าง พ.ศ. 2354 – 2358 อังกฤษจึงแก้ปัญหาโดยการลดสิทธิและอำนาจสูงสุดของสุลต่านลง อังกฤษคืนบันเตินให้เนเธอร์แลนด์ใน พ.ศ. 2359 หลังจากนั้น เนเธอร์แลนด์ได้นำระบบเพาะปลูกมาใช้ ทำให้ชาวบันเตินต้องทำงานหนัก จึงเกิดกบฏบันเตินใน พ.ศ. 2431 ต่อมา บันเตินได้กลายเป็นศูนย์กลางที่สำคัญของพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียที่ก่อกบฏใน พ.ศ. 2469 และหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ชาวบันเตินได้เข้าร่วมในขบวนการกู้ชาติเพื่อขับไล่เนเธอร์แลนด์ออกไปจากอินโดนีเซีย

เขตการปกครอง

บันเตินแบ่งเขตการปกครองเป็น 4 เขต หรือ กาบูปาเติน (kabupaten) ได้แก่

  • เลอบะก์ (Lebak) หรือรังกัซบีตุง (Rangkasbitung)
  • ปันเดอกลัง (Pandeglang)
  • เซอรัง (เขต) หรือบาโรซ (Baros)
  • ตันเกอรัง (เขต) หรือตีการักซา (Tigaraksa)

และ 4 เมือง หรือโกตา (kota) ได้แก่

  • เซอรัง (Serang)
  • จีเลอกน (Cilegon)
  • ตาเงอรัง (Tangerang)
  • ตาเงอรังใต้ (South Tangerang)

ภาษา

ภาษาที่ใช้กันมากที่สุดคือ ภาษาซุนดา ชนพื้นเมืองที่อาศัยในจังหวัดบันเตินจะพูดภาษาถิ่นซุนดา ซึ่งเปลี่ยนแปลงมากจากภาษาซุนดาโบราณ ภาษาถิ่นนี้จัดเป็นภาษาไม่เป็นทางการ หรือชั้นหยาบในภาษาซุนดาสมัยใหม่ ซึ่งมีหลายชั้นเช่นเดียวกับภาษาชวา

อย่างไรก็ตาม ในเมืองเซอรัง และจีเลอกน กลุ่มชาติพันธุ์ชวาได้ใช้ภาษาชวาถิ่นบันเตินด้วย และในทางตอนเหนือของตาเงอรัง ยังมีการใช้ภาษาอินโดนีเซียถิ่นเบอตาวี ในหมู่ผู้อพยพชาวเบอตาวี และใช้ภาษาอินโดนีเซียพูดกันอย่างแพร่หลาย โดยเฉพาะในหมู่กลุ่มชาติพันธุ์ผู้อพยพอื่น ๆ จากส่วนอื่น ๆ ของอินโดนีเซีย โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากใจกลางเมือง

อ้างอิง

  1. Indonesia's Population: Ethnicity and Religion in a Changing Political Landscape. Institute of Southeast Asian Studies. 2003.
  2. Language maps of Indonesia (Java and Bali)
  3. ECAI - Pacific Language Mapping
  4. Purwo, Bambang K. (1993). "Factors influencing comparison of Sundanese, Javanese, Madurese, and Balinese".
  • สุพรรณี กาญจนัษฐิติ. บันเติน ใน สารานุกรมประวัติศาสตร์สากลสมัยใหม่: เอเชีย เล่ม 1 อักษร A-B ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กทม.ราชบัณฑิตยสถาน. 2539. หน้า 380 - 383

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Official website (อินโดนีเซีย)


งหว, ดบ, นเต, นเต, นโดน, เซ, banten, เป, นจ, งหว, ดหน, งของประเทศอ, นโดน, เซ, งอย, าวบ, นเต, นทางตะว, นตกเฉ, ยงเหน, อของเกาะชวา, นท, ตารางก, โลเมตร, ประชากร, คน, 2548, อต, งข, นเม, อเด, อนต, ลาคม, 2543, โดยแยกออกจากจ, งหว, ดชวาตะว, นตก, เม, องหลวงค, อเซอร, ser. bnetin xinodniesiy Banten epncnghwdhnungkhxngpraethsxinodniesiy tngxyuthixawbnetinthangtawntkechiyngehnuxkhxngekaachwa miphunthi 9 160 7 tarangkiolemtr miprachakr 9 083 114 khn ph s 2548 cnghwdbnetinkxtngkhunemuxeduxntulakhm ph s 2543 odyaeykxxkcakcnghwdchwatawntk miemuxnghlwngkhuxesxrng Serang cnghwdbnetinProvinsi Banten xinodniesiy cnghwdthngtrakhakhwy Iman Taqwa Faith and Piety thitnginpraethsxinodniesiyphikdphumisastr 6 30 S 106 15 E 6 500 S 106 250 E 6 500 106 250 phikdphumisastr 6 30 S 106 15 E 6 500 S 106 250 E 6 500 106 250praethsxinodniesiyemuxngexkesxrngkarpkkhrxng Governorratuxatut ochsiyahphunthi thnghmd9 163 tr km 3 538 tr iml prachakr 2010 thnghmd10 644 030 khn khwamhnaaenn1 200 khn tr km 3 000 khn tr iml Demographics chatiphnthuBantenese 47 Sundanese 23 Javanese 12 Betawi 10 Chinese 1 1 sasnaxislam 96 6 opretsaetnt 1 2 ormnkhathxlik 1 phuthth 0 7 hindu 0 4 txngkarxangxing phasaphasasunda phasachwa phasaxinodniesiy phasaebxtawiekhtewlaWIB UTC 7 ewbistbantenprov go id enuxha 1 prawtisastr 2 ekhtkarpkkhrxng 3 phasa 4 xangxing 5 aehlngkhxmulxunprawtisastr aekikh emuxngbnetinemux ph s 2267 bnetin hruxbntmepnemuxngekaaekkhxngxinodniesiy ekhyepnsunyklangkhxngxanackrbnetinthimixanacinrahwang ph s 2067 2294 xanackrbnetinepnhnunginbrrdarthmuslimthikxtngkhuntamaenwchayfngkhxngekaachwa mikhwamrungeruxngaelaepnexkrachrahwangphuththstwrrsthi 21 23 odyrungeruxngthisudinsmykhxngsultanxakung xbdulfatahphukhrxngrachyrahwang ph s 2194 2225 sultanaehngbnetinnnidkhyayxanacipsuchwatawntk cakarta aelachayfngtawntkechiyngitkhxngkalimntn emuxkhyayxanacipthungthiidkbngkhbihdinaednnnyxmrbsasnaxislam insmyediywknnn mixanackrthiyingihyinekaachwaxikaehnghnungkhuxxanackrmatarmsungtangfaytangkhanxanacknxyuidemuxchawtawntkekhamainbnetin inchwngaerksultanaehngbnetinsamarthrksaphlpraoychnkhxngbnetiniwid cnkrathngenethxraelndekhamaaelaphyayambibbngkhbkarkhakhxngchnphunemuxngxyanghnk cnekidkarkrathbkrathngkbbnetinin ph s 2161 aelaekhayudemuxngcakartahruxemuxngpttaewiyiwid aelaichepnsthanikarkha khwamkhdaeyngrahwangbnetinkbenethxraelndcungrunaerngyingkhun enethxraelndyngbngkhbihphxkhachawxngkvsaelafrngessxxkipcakpttaewiydwytxmaekidkrniphiphathaeyngchingrachsmbtiinbnetinrahwangsultanxakung xbdulfatahkboxrsxngkhihykhuxecachayhayixbdulkahar enethxraelndekhamaaethrkaesngaelasnbsnunihecachayhayixbdulkaharidkhunkhrxngrachyaelatxnglngnamepnimtrikbenethxraelnd thaihchawbnetinimphxicaelasnbsnunsultanphraxngkhedimihklbmakhrxngrachyxik cungekidsngkhramklangemuxngkhunin ph s 2196 xbdulkahar epnfaychnaaelakhumkhngphrabidaiwinkhukcnsinphrachnmxbdulkaharidtxbaethnenethxraelndthisnbsnunphraxngkhodyykeliksiththikhxngbnetinehnuxrthechribxninchwatawnxxk aelayxmrbxanackhxngenethxraelnd txmain ph s 2291 ekidsngkhramchingrachsmbtixikkhrngrahwangfaythienethxraelndhnunhlngkbfaythitxtanenethxraelnd ehtukarnwunwaysngblngin ph s 2296 odypaaengrn kustithienethxraelndechnknidkhunkhrxngrachy aelaidlngnaminsnthisyyayxmepnpraethsrachkhxngenethxraelnd emuxenethxraelndprasbpyha bristhdtchxistxindistlmlalayin ph s 2322 aelatxngkhudridphasicakchnphunemuxngmakkhun chawbnetincunglukhuxkhuntxtanenethxraelnd nxkcaknn xngkvsyngidykphlkhunbkthiesxmarngaelapidlxmpttaewiyiw inthisud enethxraelndcungesiybnetinihxngkvsemux 17 knyayn ph s 2354insmykhxngxngkvs ekidsngkhramchingrachsmbtiinbnetinxikkhrng rahwang ph s 2354 2358 xngkvscungaekpyhaodykarldsiththiaelaxanacsungsudkhxngsultanlng xngkvskhunbnetinihenethxraelndin ph s 2359 hlngcaknn enethxraelndidnarabbephaaplukmaich thaihchawbnetintxngthanganhnk cungekidkbtbnetinin ph s 2431 txma bnetinidklayepnsunyklangthisakhykhxngphrrkhkhxmmiwnistxinodniesiythikxkbtin ph s 2469 aelahlngsngkhramolkkhrngthi 2 chawbnetinidekharwminkhbwnkarkuchatiephuxkhbilenethxraelndxxkipcakxinodniesiyekhtkarpkkhrxng aekikhbnetinaebngekhtkarpkkhrxngepn 4 ekht hrux kabupaetin kabupaten idaek elxbak Lebak hruxrngksbitung Rangkasbitung pnedxklng Pandeglang esxrng ekht hruxbaors Baros tnekxrng ekht hruxtikarksa Tigaraksa aela 4 emuxng hruxokta kota idaek esxrng Serang cielxkn Cilegon taengxrng Tangerang taengxrngit South Tangerang phasa aekikhphasathiichknmakthisudkhux phasasunda 2 3 chnphunemuxngthixasyincnghwdbnetincaphudphasathinsunda sungepliynaeplngmakcakphasasundaobran phasathinnicdepnphasaimepnthangkar hruxchnhyabinphasasundasmyihm sungmihlaychnechnediywkbphasachwa 4 xyangirktam inemuxngesxrng aelacielxkn klumchatiphnthuchwaidichphasachwathinbnetindwy 3 aelainthangtxnehnuxkhxngtaengxrng yngmikarichphasaxinodniesiythinebxtawi inhmuphuxphyphchawebxtawi aelaichphasaxinodniesiyphudknxyangaephrhlay odyechphaainhmuklumchatiphnthuphuxphyphxun cakswnxun khxngxinodniesiy odyechphaaxyangyingcakicklangemuxngxangxing aekikh Indonesia s Population Ethnicity and Religion in a Changing Political Landscape Institute of Southeast Asian Studies 2003 Language maps of Indonesia Java and Bali 3 0 3 1 ECAI Pacific Language Mapping Purwo Bambang K 1993 Factors influencing comparison of Sundanese Javanese Madurese and Balinese suphrrni kaycnsthiti bnetin in saranukrmprawtisastrsaklsmyihm exechiy elm 1 xksr A B chbbrachbnthitysthan kthm rachbnthitysthan 2539 hna 380 383aehlngkhxmulxun aekikhOfficial website xinodniesiy bthkhwamekiywkbpraeths dinaedn hruxekhtkarpkkhrxngniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmulekhathungcak https th wikipedia org w index php title cnghwdbnetin amp oldid 9552850, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม