fbpx
วิกิพีเดีย

จ่าง แซ่ตั้ง

จ่าง แซ่ตั้ง (1 พฤษภาคม พ.ศ. 2477 - 26 สิงหาคม พ.ศ. 2533) เป็นศิลปิน นักเขียนบทกวี และจิตรกร เขามีเชื้อสายจีน โดยบิดาอพยพมาจากประเทศจีน ส่วนมารดาเป็นคนจีนเกิดในประเทศไทย จ่างเกิดที่ตลาดสมเด็จ ริมแม่น้ำเจ้าพระยา ฝั่งธนบุรี เข้าเรียนหนังสือระดับชั้นมูลที่โรงเรียนเทศบาลสอง วัดพิชัยญาติ แต่เกิดสงครามโลกครั้งที่สอง จึงไม่ได้เรียนหนังสือที่ไหนอีก

จ่าง แซ่ตั้ง
Tang Chang
จ่าง แซ่ตั้ง ผู้ทำงานบทกวีรูปธรรมและงานศิลปนามธรรมเป็นคนแรก
เกิด1 พฤษภาคม พ.ศ. 2477
เสียชีวิต26 สิงหาคม พ.ศ. 2533 (56 ปี)
สัญชาติ ไทย
อาชีพนักเขียน กวี จิตรกร
มีชื่อเสียงจากเป็นศิลปินอิสระที่ทำงานด้านบทกวีรูปธรรม และภาพวาดนามธรรมคนแรกของประเทศไทย
ศาสนาพุทธ
คู่สมรสนางเซี๊ยะ แซ่ตั้ง

จ่าง แซ่ตั้ง สมรสกับนางเซี้ยะ แซ่ตั้ง มีบุตร 7 คน เสียชีวิตเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2533 อายุ 56 ปี

การทำงาน

จ่าง แซ่ตั้ง ชื่นชอบการวาดรูปมาตั้งแต่เด็ก และได้ฝึกฝนฝีมือการวาดภาพด้วยตัวเอง ในปี พ.ศ. 2505 เริ่มเขียนภาพจิตรกรรมฝาผนังสีน้ำมันขนาดใหญ่ โดยใช้นิ้วมือแทนพู่กัน เป็นภาพเจ้าแม่โพธิสัตว์ ที่มูลนิธิโรงพยาบาลเทียน โดยเขาเริ่มเขียนเรื่องสั้นในปี พ.ศ. 2506 เรื่อง “เวลาอันยาวนาน” พิมพ์ในหนังสือรับน้องใหม่ของมหาวิทยาลัยศิลปากร ต่อมาในปี พ.ศ. 2509 เริ่มเขียนบทกวี ที่มีลักษณะเด่นเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว เรียกว่า "กวีรูปธรรม" (concrete poetry) ซึ่งมีที่มาจากการเป็นจิตรกรวาดภาพมาแต่เดิม ลักษณะเฉพาะของบทกวีของจ่าง คือ ไม่ใช้ไม้ยมกแทนคำซ้ำ แต่ กลับเขียนคำซ้ำๆ กัน และมีลักษณะคล้ายการเขียนรูป ซึ่งเป็นความแปลกใหม่ที่ไม่มีใครทำมาก่อน ทั้งนี้ จ่าง แซ่ตั้ง ถือว่าเป็นคนแรกในประเทศไทย ที่ได้สร้างงานศิลปะประเภทนามธรรมและมีอิทธิพลต่อวงการศิลปะไทยเป็นอันมาก

ในปี พ.ศ. 2510 มีการแปลผลงานกวีของจ่าง แซ่ตั้งเป็นภาษาอังกฤษ และได้รับเชิญไปร่วมงานประชุมกวรโลกที่กรุงแคนเบอร์รา ออสเตรเลีย ในปี พ.ศ. 2514 ต่อมานิตยสาร “ลุคอิส” ได้มาทำสารคดีเกี่ยวกับชีวิต การทำงานและความเป็นอยู่ ของจ่าง รวมทั้งนำภาพสีพิมพ์เป็นปกเพื่อจำหน่ายขายทั่วโลก

ผลงาน

การแสดงศิลปะ-วรรณกรรม

  • พ.ศ. 2503

- นิทรรศการศิลปกรรมไทย-จีนแห่งประเทศไทยที่กรุงเทพฯ

  • พ.ศ. 2509
    • นิทรรศการศิลปกรรมร่วมสมัยครั้งที่ 1 “รวมศิลปินร่วมสมัย”หอศิลป์ปทุมวัน กรุงเทพฯ
  • พ.ศ. 2510
    • การแสดงศิลปกรรมไทยร่วมสมัยที่สิงคโปร์
    • การแสดงศิลปกรรมไทยร่วมสมัยที่มาเลเซีย
    • นิทรรศการศิลปกรรมร่วมสมัยครั้งที่ 3 “5 ศิลปินร่วมสมัย” หอศิลป์ปทุมวัน กรุงเทพฯ
  • พ.ศ. 2511
    • นิทรรศการศิลปะเพื่อการกุศล “จ่าง แซ่ตั้ง ลูกศิษย์ และลูกลูก” บ้านเด็กกำพร้าบ้านกิ่งแก้ว จ.เชียงใหม่
    • นิทรรศการศิลปกรรมร่วมสมัย “จ่าง แซ่ตั้ง และลูกลูก”แกลเลอรี่ 20 กรุงเทพฯ
  • พ.ศ. 2512
    • การแสดงศิลปกรรมร่วมสมัย รายการเชื้อเชิญศิลปินของ โรงเรียนเพาะช่าง
    • นิทรรศการศิลปกรรม “จ่าง แซ่ตั้ง และลูกลูก”ครั้งที่๑ห้องแสดงนิทรรศการศิลปะบ้านจ่าง แซ่ตั้ง กรุงเทพฯ
  • พ.ศ. 2513
    • นิทรรศการจิตรกรรมและบทกวี “จ่าง แซ่ตั้ง” ครั้งที่ 2 ห้องแสดงนิทรรศการศิลปะ บ้านจ่าง แซ่ตั้ง กรุงเทพฯ
    • นิทรรศการศิลปกรรม-บทกวี “จ่าง แซ่ตั้ง” ครั้งที่ 3 รวมจิตรกรรมและบทกวี (2503-2513) ห้องแสดงศิลปะบ้านจ่าง แซ่ตั้งกรุงเทพฯ
    • นิทรรศการศิลปะ บทกวี บทปรัชญา “จ่าง แซ่ตั้ง” สถานทูตสหรัฐอเมริกา AN INTRODUCTION TO TANG CHANG POET ARTIST AND PHILOSOPHER
  • พ.ศ. 2514
    • นิทรรศการศิลปกรรม “จ่าง แซ่ตั้ง ศิษย์ และบทกวีของลูกลูก”ครั้งที่ 4 ห้องแสดงนิทรรศการศิลปะ บ้าน จ่าง แซ่ตั้ง กรุงเทพฯ
  • พ.ศ. 2515
    • นิทรรศการศิลปกรรมร่วมสมัย“จ่าง แซ่ตั้ง ลูกศิษย์ และลูกลูก” โรงภาพยนตร์วอร์เนอร์ กรุงเทพฯ
    • แสดงบทกวีนิพนธ์ร่วมสมัย ที่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ
  • พ.ศ. 2516
    • นิทรรศการศิลปะกลางแจ้ง “จ่าง แซ่ตั้ง ลูกศิษย์ และลูกลูก”แสดงบนทางเดินเท้ารอบสนามหลวง กรุงเทพฯ
  • พ.ศ. 2517
  • พ.ศ. 2518
    • แสดงบทกวีนิพนธ์ “แม่”นิสิตนักศึกษาชมรมพุทธมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรุงเทพฯ
    • กวีสัมพันธ์ ไทย จีน อังกฤษ แห่งประเทศไทย”อ่านบทกวีนิพนธ์ หอสมุดแห่งชาติ กรุงเทพฯ
    • แสดงบทกวีรูปธรรม (CONCRETE POETRY) และอ่านบทกวีนิพนธ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร กรุงเทพฯ
  • พ.ศ. 2524
    • การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 27 กรุงเทพฯ ในฐานะ “ศิลปินเชื้อเชิญ”
  • พ.ศ. 2528
    • อ่านบทกวีนิพนธ์ สมาคมนักเรียนเก่าสหรัฐอเมริกา (A.U.A.) กรุงเทพฯ
    • ก่อตั้ง “หอศิลป กวี จ่าง แซ่ตั้ง”กรุงเทพฯ
    • แสดงศิลปกรรม บทกวีนิพนธ์ ย้อนหลัง จ่าง แซ่ตั้ง (2500-2528) หอศิลป กวี จ่าง แซ่ตั้ง กรุงเทพฯ
  • พ.ศ. 2534
    • “พลังแห่งสัจจะ” จ่าง แซ่ตั้ง : ประเทือง เอมเจริญ ณ ศูนย์สรรพสินค้าริเวอร์ซิตี้
  • พ.ศ. 2537
    • “งานสีของ จ่าง แซ่ตั้ง” ณ สุขุมวิท 20 กรุงเทพฯ
  • พ.ศ. 2538
    • “ศิลปะสมัยใหม่” (Asian Modernism) 28 ตุลาคม – 3 ธันวาคม ณ Japan Foundation Forum, Tokyo จัดโดย The Japan Foundation Asia Center
  • พ.ศ. 2539
    • “ศิลปะสมัยใหม่” (Asian Modernism) 6 กุมภาพันธ์ – 6 มีนาคม ณ Metropolitan Museum of Manila จัดโดย Metropolitan Museum of Manila, Embassy of Japan, The Philippines, The Japan Foundation
    • “ศิลปะสมัยใหม่” (Asian Modernism) 8-28 พฤษภาคม ณ หอศิลปแห่งชาติ กรุงเทพฯ จัดโดย กรมศิลปากร กระทรวงศึกษาธิการ และ The Japan Foundation
    • “ศิลปะสมัยใหม่” (Asian Modernism) 1 มิถุนายน – 31 กรกฎาคม ณ Gedung Pameran Seni Rupa, Department Pendidikan dan Kebudayaan, Jakarta, Indonesia จัดโดย Diroctorate General for Culture, Ministry of Education and Culture, Republic of Indonesia, The Japan Foundation
  • พ.ศ. 2543
    • “จ่าง แซ่ตั้ง ก็คือ จ่าง แซ่ตั้ง” ภาพใบหน้าตัวเอง 400 ชิ้น พ.ศ. 2497-2530 ณ เดอะ เมอร์คิวรี่ อาร์ต แกเลอรี่ เพลินจิต กรุงเทพฯ
  • พ.ศ. 2544
    • “จิตรกร ไล่จับ แสงแดด แสงแดด แสงแดด แสงแดด แสงแดด แสงแดด แสงแดด แสงแดด แสงแดด แสงแดด แสงแดด แสงแดด แสงแดด แสงแดด แสงแดด ใส่ไว้ในภาพ” 25 มิถุนายน - 22 กรกฎาคม ณ Open Arts Space เดอะสีลม แกเลอเรีย
  • พ.ศ. 2545
    • นิทรรศการศิลปะ “เวลาอันยาวนาน” 17-30 กันยายน ณ ห้องศิลปนิทรรศมารศี วังสวนผักกาด กรุงเทพฯ 1-14 ตุลาคม ณ อนุสรณ์สถาน 14 ตุลาฯ 16 ราชดำเนิน กรุงเทพฯ 11 กันยายน – 6 ตุลาคม ณ สถาบันปรีดี พนมยงค์ สุขุมวิท 55 กรุงเทพฯ และผลงานได้สัญจรไปจัดนิทรรศการในส่วนภูมิภาค 1-15 พฤศจิกายน ณ หอศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยนเรศวร จ.พิษณุโลก 20 พฤศจิกายน – 3 ธันวาคม ณ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 9-23 ธันวาคม 2545 ณ วิทยาลัยอาชีวศึกษา อุบลราชธานี
  • พ.ศ. 2550
    • นิทรรศการศิลปกรรม “โลกทรรศน์จากภายใน : จ่าง แซ่ตั้ง” (World View from Within : Tang Chang) ผลงานจิตรกรรม 120 ชิ้น จากผลงานจิตรกรรมรูปธรรมสู่นามธรรมที่ถูกสร้างขึ้นในช่วงปี 2501-2525 จัดแสดง ณ หอศิลป์จามจุรี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2551
    • งานเทศกาลพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น 2-4 พฤศจิกายน 2551 ณ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
  • พ.ศ. 2556
    • นิทรรศการ “เพราะฉันต้องการ ที่ว่างของฉัน” 5 กุมภาพันธ์ – 31 มีนาคม ณ หอศิลป์ ศุภโชค ดิ อาร์ต เซนเตอร์ สุขุมวิท 33 กรุงเทพฯ
    • นิทรรศการ “จิตรกรรมนามธรรม บทกวีรูปธรรม” 15 กุมภาพันธ์ – 28 เมษายน ณ หอศิลป์ G23 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร กรุงเทพฯ

นิทรรศการในต่างประเทศ

  • พ.ศ. 2557
    • ได้รับเชิญเข้าร่วมแสดงในมหกรรมศิลปะ “เซี่ยงไฮ้ เบียนนาเล่” ครั้งที่ 10 ระหว่างวันที่ 23 พฤศจิกายน 2557 – 31 มีนาคม 2558 ณ Power Station of Art เมืองเซี่ยงไฮ้ สาธารณรัฐประชาชนจีน
  • พ.ศ. 2558
    • ร่วมแสดงในนิทรรศการ "The World is our Home" ณ Parasite เขตปกครองพิเศษฮ่องกง
  • พ.ศ. 2559
    • ร่วมแสดงในนิทรรศการ "Reframing Modernism" ณ National Gallery Singaport
  • พ.ศ. 2560
    • ร่วมแสดงในนิทรรศการ "Misfits : Pages from loose-leaf modernity" ณ HKW กรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี
  • พ.ศ. 2561
    • นิทรรศการแสดงเดี่ยว "Tang Chang : The Painting That is Painted With Poetry is Beautiful" ณ The Smart Museum ชิคาโก สหรัฐอเมริกา

งานสังคมและความเคลื่อนไหว

  • พ.ศ. 2503
    • เขียนภาพเหมือนช่วยการกุศลงานกาชาด กรุงเทพฯ
  • พ.ศ. 2504
    • เขียนภาพเหมือนช่วยการกุศลงานกาชาด กรุงเทพฯ
    • ริเริ่มภาพจิตรกรรมสีดำบนสีดำ (นามธรรม)
  • พ.ศ. 2505
    • ริเริ่มภาพจิตรกรรมสีขาวบนขาว (นามธรรม)
    • สร้างภาพจิตรกรรมสีน้ำมันขนาดใหญ่
    • เรื่องราวเกี่ยวกับเจ้าแม่โพธิสัตว์ (ด้วยนิ้วมือ) จำนวน 12 ภาพ ปัจจุบันอยู่ที่มูลนิธิโรงพยาบาลเทียนหัว สามแยก กรุงเทพฯ
    • เขียนภาพเหมือนช่วยการกุศลงานกาชาด กรุงเทพฯ
  • พ.ศ. 2510
    • ริเริ่มบทกวีสมัยใหม่ CONCRETE POETRYในนิตยสารช่อฟ้ารายเดือน
  • พ.ศ. 2513
    • นิตยสาร QUADRANT ของ AUSTRALIA ตีพิมพ์เผยแพร่ประวัติและผลงาน
    • หนังสือบทประพันธ์แห่งเอเซียตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานกวีนิพนธ์
    • สำนักข่าวสาร U.P.I. ส่งผู้สื่อข่าวชื่อ BOB NOOR บรรณาธิการข่าวภาพของสหรัฐอเมริกา ถ่ายภาพจิตรกรรมของจ่าง แซ่ตั้ง เผยแพร่ทั่วโลก
  • พ.ศ. 2514
    • เป็นตัวแทนชาวไทยที่ได้รับคัดเลือกผลงานกวีนิพนธ์เข้าร่วม “การประชุมใหญ่ผู้เชี่ยวชาญและนักศึกษาทางด้านภาคตะวันออกของโลก”ประเทศออสเตรเลีย (CONGRESS OF ORIENTALISTS- 1971, CANBERRA, AUSTALIA)
    • นิตยสาร LOOK EASTตีพิมพ์บทกวีนามธรรม-ภาพจิตรกรรมของจ่าง แซ่ตั้งเผยแพร่ทั่วโลก
  • พ.ศ. 2531
    • สาธารณรัฐประชาชนจีน โดย อาจารย์ฟู่เจิงโหย่ว แห่งมหาวิทยาลัยปักกิ่ง ขอประวัติ จ่าง แซ่ตั้ง ไปลงในพจนานุกรมผู้มีชื่อเสียงทางวิชาการของลูกจีนในประเทศไทยในแขนงกวีและนักจิตวิทยา
    • เป็นตัวแทนชาวไทย ซึ่งได้รับเกียรติรับมอบประกาศนียบัตรยกย่องความสามารถจาก ประธานสถาบันกวีนานาชาติอินเดีย ในการประชุมกวีโลกครั้งที่ 10 ณ กรุงเทพฯ

ผลงานทางวรรณกรรม

  • “ปกดำ” กวีนิพนธ์นามธรรม,พิมพ์เผยแพร่ 2511
  • “CONCRETE POETRY” ปกดำฉบับภาษาอังกฤษ,พิมพ์เผยแพร่ 2511
  • “เด็กคนนั้น” กวีนิพนธ์,พิมพ์เผยแพร่ 2512
  • “อภิปรัชญาศิลปะ ท่านเต้าฉี” ถอดความและบทเขียน,พิมพ์เผยแพร่ 2512
  • “คัมภีร์เต้าเต้อจิงของท่านเหล่าจวื่อ” ถอดความ ขยายความ บทเขียน,พิมพ์เผยแพร่ 2515
  • “สีส้ม” กวีนิพนธ์,พิมพ์เผยแพร่ 2516
  • “แม่กับลูก” กวีนิพนธ์,พิมพ์เผยแพร่ 2515
  • “ภาพพจน์ที่ผ่านมา” กวีนิพนธ์,พิมพ์เผยแพร่ 2517
  • “บทกวีจีน” รวบรวม ถอดความ,พิมพ์เผยแพร่ 2517
  • “อา Q ของท่านหลู่ซิ่น” ถอดความ,พิมพ์เผยแพร่ 2517
  • “ยามเช้า” กวีนิพนธ์,พิมพ์เผยแพร่ 2528
  • “เวิ้งฟ้า” กวีนิพนธ์,พิมพ์เผยแพร่ 2529
  • “วันใหม่” กวีนิพนธ์และเรื่องสั้น,พิมพ์เผยแพร่ 2529
  • “เด็กคนนั้น 2” กวีนิพนธ์,พิมพ์เผยแพร่ 2530
  • “อาร์ต ไดอารี ” กวีนิพนธ์และจิตรกรรม,พิมพ์เผยแพร่ 2530
  • “ปรมัตถ์เต๋า ของท่านเหล่าจวื่อ” ถอดความ ขยายความ บทเขียนและจิตรกรรม,2530
  • “ตำราพิชัยสงคราม ซุนวู่” ถอดความ, รวมเล่มตีพิมพ์ 2553
  • “บทกวีของฉัน”, แนะนำ และอธิบายการเขียนบทกวีของตนเอง, กวีนิพนธ์และบทเขียน, รวมเล่มตีพิมพ์ 2553

อ้างอิง

  • ประทีป เหมือนนิล. 100 นักประพันธ์ไทย. กรุงเทพ : สุวีริยาสาส์น, 2542. หน้า 479. ISBN 974-8267-78-4

แหล่งข้อมูลอื่น

  • พิพิธภัณฑ์ จ่าง แซ่ตั้ง
  • Tang Chang The Original, The Original Tang Chang! นิทรรศการแสดงผลงานของ จ่าง แซ่ตั้ง, มีนาคม-เมษายน 2543
  • จ่าง แซ่ตั้ง ก็คือ จ่าง แซ่ตั้ง (ภาพใบหน้าตนเอง 400 ชิ้น พ.ศ. 2497 - 2530),ซีดีรอมรวมผลงาน จัดทำโดย The Mercury Art Gallery.
  • สูจิบัตรประกอบนิทรรศการ "จ่าง แซ่ตั้ง : เพราะฉันต้องการ ที่ว่างของฉัน" และ "จ่าง แซ่ตั้ง : จิตรกรรมนามธรรม บทกวีรูปธรรม"

าง, แซ, พฤษภาคม, 2477, งหาคม, 2533, เป, นศ, ลป, กเข, ยนบทกว, และจ, ตรกร, เขาม, เช, อสายจ, โดยบ, ดาอพยพมาจากประเทศจ, วนมารดาเป, นคนจ, นเก, ดในประเทศไทย, างเก, ดท, ตลาดสมเด, มแม, ำเจ, าพระยา, งธนบ, เข, าเร, ยนหน, งส, อระด, บช, นม, ลท, โรงเร, ยนเทศบาลสอง, ดพ, ยญา. cang aestng 1 phvsphakhm ph s 2477 26 singhakhm ph s 2533 epnsilpin nkekhiynbthkwi aelacitrkr ekhamiechuxsaycin odybidaxphyphmacakpraethscin swnmardaepnkhncinekidinpraethsithy cangekidthitladsmedc rimaemnaecaphraya fngthnburi ekhaeriynhnngsuxradbchnmulthiorngeriynethsbalsxng wdphichyyati aetekidsngkhramolkkhrngthisxng cungimideriynhnngsuxthiihnxikcang aestngTang Changcang aestng phuthanganbthkwirupthrrmaelangansilpnamthrrmepnkhnaerkekid1 phvsphakhm ph s 2477esiychiwit26 singhakhm ph s 2533 56 pi sychatiithyxachiphnkekhiyn kwi citrkrmichuxesiyngcakepnsilpinxisrathithangandanbthkwirupthrrm aelaphaphwadnamthrrmkhnaerkkhxngpraethsithysasnaphuththkhusmrsnangesiya aestngcang aestng smrskbnangesiya aestng mibutr 7 khn esiychiwitemuxwnthi 26 singhakhm ph s 2533 xayu 56 pi enuxha 1 karthangan 2 phlngan 3 nithrrskarintangpraeths 4 ngansngkhmaelakhwamekhluxnihw 5 phlnganthangwrrnkrrm 6 xangxing 7 aehlngkhxmulxunkarthangan aekikhcang aestng chunchxbkarwadrupmatngaetedk aelaidfukfnfimuxkarwadphaphdwytwexng inpi ph s 2505 erimekhiynphaphcitrkrrmfaphnngsinamnkhnadihy odyichniwmuxaethnphukn epnphaphecaaemophthistw thimulnithiorngphyabalethiyn odyekhaerimekhiyneruxngsninpi ph s 2506 eruxng ewlaxnyawnan phimphinhnngsuxrbnxngihmkhxngmhawithyalysilpakr txmainpi ph s 2509 erimekhiynbthkwi thimilksnaednepnexklksnechphaatw eriykwa kwirupthrrm concrete poetry sungmithimacakkarepncitrkrwadphaphmaaetedim lksnaechphaakhxngbthkwikhxngcang khux imichimymkaethnkhasa aet klbekhiynkhasa kn aelamilksnakhlaykarekhiynrup sungepnkhwamaeplkihmthiimmiikhrthamakxn thngni cang aestng thuxwaepnkhnaerkinpraethsithy thiidsrangngansilpapraephthnamthrrmaelamixiththiphltxwngkarsilpaithyepnxnmakinpi ph s 2510 mikaraeplphlngankwikhxngcang aestngepnphasaxngkvs aelaidrbechiyiprwmnganprachumkwrolkthikrungaekhnebxrra xxsetreliy inpi ph s 2514 txmanitysar lukhxis idmathasarkhdiekiywkbchiwit karthanganaelakhwamepnxyu khxngcang rwmthngnaphaphsiphimphepnpkephuxcahnaykhaythwolkphlngan aekikhkaraesdngsilpa wrrnkrrm ph s 2503 nithrrskarsilpkrrmithy cinaehngpraethsithythikrungethph ph s 2509 nithrrskarsilpkrrmrwmsmykhrngthi 1 rwmsilpinrwmsmy hxsilppthumwn krungethph ph s 2510 karaesdngsilpkrrmithyrwmsmythisingkhopr karaesdngsilpkrrmithyrwmsmythimaelesiy nithrrskarsilpkrrmrwmsmykhrngthi 3 5 silpinrwmsmy hxsilppthumwn krungethph ph s 2511 nithrrskarsilpaephuxkarkusl cang aestng luksisy aelalukluk banedkkaphrabankingaekw c echiyngihm nithrrskarsilpkrrmrwmsmy cang aestng aelalukluk aeklelxri 20 krungethph ph s 2512 karaesdngsilpkrrmrwmsmy raykarechuxechiysilpinkhxng orngeriynephaachang nithrrskarsilpkrrm cang aestng aelalukluk khrngthi1hxngaesdngnithrrskarsilpabancang aestng krungethph ph s 2513 nithrrskarcitrkrrmaelabthkwi cang aestng khrngthi 2 hxngaesdngnithrrskarsilpa bancang aestng krungethph nithrrskarsilpkrrm bthkwi cang aestng khrngthi 3 rwmcitrkrrmaelabthkwi 2503 2513 hxngaesdngsilpabancang aestngkrungethph nithrrskarsilpa bthkwi bthprchya cang aestng sthanthutshrthxemrika AN INTRODUCTION TO TANG CHANG POET ARTIST AND PHILOSOPHER ph s 2514 nithrrskarsilpkrrm cang aestng sisy aelabthkwikhxnglukluk khrngthi 4 hxngaesdngnithrrskarsilpa ban cang aestng krungethph ph s 2515 nithrrskarsilpkrrmrwmsmy cang aestng luksisy aelalukluk orngphaphyntrwxrenxr krungethph aesdngbthkwiniphnthrwmsmy thi mhawithyalyekstrsastr krungethph ph s 2516 nithrrskarsilpaklangaecng cang aestng luksisy aelalukluk aesdngbnthangedinetharxbsnamhlwng krungethph ph s 2517 nithrrskarsilpkrrm cang aestng aelalukluk orngeriynswnkuhlabwithyaly krungethph nithrrskarsilpkrrm wrrnkrrm hxprachumihymhawithyalythrrmsastr krungethph nithrrskarsilpkrrm cang aestng aelalukluk sthabnwthnthrrmeyxrmn krungethph ph s 2518 aesdngbthkwiniphnth aem nisitnksuksachmrmphuththmhawithyalythrrmsastr krungethph kwismphnth ithy cin xngkvs aehngpraethsithy xanbthkwiniphnth hxsmudaehngchati krungethph aesdngbthkwirupthrrm CONCRETE POETRY aelaxanbthkwiniphnth mhawithyalysilpakr krungethph ph s 2524 karaesdngsilpkrrmaehngchati khrngthi 27 krungethph inthana silpinechuxechiy ph s 2528 xanbthkwiniphnth smakhmnkeriynekashrthxemrika A U A krungethph kxtng hxsilp kwi cang aestng krungethph aesdngsilpkrrm bthkwiniphnth yxnhlng cang aestng 2500 2528 hxsilp kwi cang aestng krungethph ph s 2534 phlngaehngscca cang aestng praethuxng exmecriy n sunysrrphsinkhariewxrsiti ph s 2537 ngansikhxng cang aestng n sukhumwith 20 krungethph ph s 2538 silpasmyihm Asian Modernism 28 tulakhm 3 thnwakhm n Japan Foundation Forum Tokyo cdody The Japan Foundation Asia Center ph s 2539 silpasmyihm Asian Modernism 6 kumphaphnth 6 minakhm n Metropolitan Museum of Manila cdody Metropolitan Museum of Manila Embassy of Japan The Philippines The Japan Foundation silpasmyihm Asian Modernism 8 28 phvsphakhm n hxsilpaehngchati krungethph cdody krmsilpakr krathrwngsuksathikar aela The Japan Foundation silpasmyihm Asian Modernism 1 mithunayn 31 krkdakhm n Gedung Pameran Seni Rupa Department Pendidikan dan Kebudayaan Jakarta Indonesia cdody Diroctorate General for Culture Ministry of Education and Culture Republic of Indonesia The Japan Foundation ph s 2543 cang aestng kkhux cang aestng phaphibhnatwexng 400 chin ph s 2497 2530 n edxa emxrkhiwri xart aekelxri ephlincit krungethph ph s 2544 citrkr ilcb aesngaedd aesngaedd aesngaedd aesngaedd aesngaedd aesngaedd aesngaedd aesngaedd aesngaedd aesngaedd aesngaedd aesngaedd aesngaedd aesngaedd aesngaedd isiwinphaph 25 mithunayn 22 krkdakhm n Open Arts Space edxasilm aekelxeriy ph s 2545 nithrrskarsilpa ewlaxnyawnan 17 30 knyayn n hxngsilpnithrrsmarsi wngswnphkkad krungethph 1 14 tulakhm n xnusrnsthan 14 tula 16 rachdaenin krungethph 11 knyayn 6 tulakhm n sthabnpridi phnmyngkh sukhumwith 55 krungethph aelaphlnganidsycripcdnithrrskarinswnphumiphakh 1 15 phvscikayn n hxsilpaaelawthnthrrm mhawithyalynerswr c phisnuolk 20 phvscikayn 3 thnwakhm n mhawithyalykhxnaekn 9 23 thnwakhm 2545 n withyalyxachiwsuksa xublrachthani ph s 2550 nithrrskarsilpkrrm olkthrrsncakphayin cang aestng World View from Within Tang Chang phlngancitrkrrm 120 chin cakphlngancitrkrrmrupthrrmsunamthrrmthithuksrangkhuninchwngpi 2501 2525 cdaesdng n hxsilpcamcuri culalngkrnmhawithyaly ph s 2551 nganethskalphiphithphnththxngthin 2 4 phvscikayn 2551 n sunymanusywithyasirinthr ph s 2556 nithrrskar ephraachntxngkar thiwangkhxngchn 5 kumphaphnth 31 minakhm n hxsilp suphochkh di xart esnetxr sukhumwith 33 krungethph nithrrskar citrkrrmnamthrrm bthkwirupthrrm 15 kumphaphnth 28 emsayn n hxsilp G23 mhawithyalysrinkhrinthrwiorthprasanmitr krungethphnithrrskarintangpraeths aekikhph s 2557 idrbechiyekharwmaesdnginmhkrrmsilpa esiyngih ebiynnael khrngthi 10 rahwangwnthi 23 phvscikayn 2557 31 minakhm 2558 n Power Station of Art emuxngesiyngih satharnrthprachachncin ph s 2558 rwmaesdnginnithrrskar The World is our Home n Parasite ekhtpkkhrxngphiesshxngkng ph s 2559 rwmaesdnginnithrrskar Reframing Modernism n National Gallery Singaport ph s 2560 rwmaesdnginnithrrskar Misfits Pages from loose leaf modernity n HKW krungebxrlin praethseyxrmni ph s 2561 nithrrskaraesdngediyw Tang Chang The Painting That is Painted With Poetry is Beautiful n The Smart Museum chikhaok shrthxemrikangansngkhmaelakhwamekhluxnihw aekikhph s 2503 ekhiynphaphehmuxnchwykarkuslngankachad krungethph ph s 2504 ekhiynphaphehmuxnchwykarkuslngankachad krungethph rierimphaphcitrkrrmsidabnsida namthrrm ph s 2505 rierimphaphcitrkrrmsikhawbnkhaw namthrrm srangphaphcitrkrrmsinamnkhnadihy eruxngrawekiywkbecaaemophthistw dwyniwmux canwn 12 phaph pccubnxyuthimulnithiorngphyabalethiynhw samaeyk krungethph ekhiynphaphehmuxnchwykarkuslngankachad krungethph ph s 2510 rierimbthkwismyihm CONCRETE POETRYinnitysarchxfarayeduxn ph s 2513 nitysar QUADRANT khxng AUSTRALIA tiphimphephyaephrprawtiaelaphlngan hnngsuxbthpraphnthaehngexesiytiphimphephyaephrphlngankwiniphnth sankkhawsar U P I sngphusuxkhawchux BOB NOOR brrnathikarkhawphaphkhxngshrthxemrika thayphaphcitrkrrmkhxngcang aestng ephyaephrthwolk ph s 2514 epntwaethnchawithythiidrbkhdeluxkphlngankwiniphnthekharwm karprachumihyphuechiywchayaelanksuksathangdanphakhtawnxxkkhxngolk praethsxxsetreliy CONGRESS OF ORIENTALISTS 1971 CANBERRA AUSTALIA nitysar LOOK EASTtiphimphbthkwinamthrrm phaphcitrkrrmkhxngcang aestngephyaephrthwolk ph s 2531 satharnrthprachachncin ody xacaryfuecingohyw aehngmhawithyalypkking khxprawti cang aestng iplnginphcnanukrmphumichuxesiyngthangwichakarkhxnglukcininpraethsithyinaekhnngkwiaelankcitwithya epntwaethnchawithy sungidrbekiyrtirbmxbprakasniybtrykyxngkhwamsamarthcak prathansthabnkwinanachatixinediy inkarprachumkwiolkkhrngthi 10 n krungethphphlnganthangwrrnkrrm aekikh pkda kwiniphnthnamthrrm phimphephyaephr 2511 CONCRETE POETRY pkdachbbphasaxngkvs phimphephyaephr 2511 edkkhnnn kwiniphnth phimphephyaephr 2512 xphiprchyasilpa thanetachi thxdkhwamaelabthekhiyn phimphephyaephr 2512 khmphiretaetxcingkhxngthanehlacwux thxdkhwam khyaykhwam bthekhiyn phimphephyaephr 2515 sism kwiniphnth phimphephyaephr 2516 aemkbluk kwiniphnth phimphephyaephr 2515 phaphphcnthiphanma kwiniphnth phimphephyaephr 2517 bthkwicin rwbrwm thxdkhwam phimphephyaephr 2517 xa Q khxngthanhlusin thxdkhwam phimphephyaephr 2517 yamecha kwiniphnth phimphephyaephr 2528 ewingfa kwiniphnth phimphephyaephr 2529 wnihm kwiniphnthaelaeruxngsn phimphephyaephr 2529 edkkhnnn 2 kwiniphnth phimphephyaephr 2530 xart idxari kwiniphnthaelacitrkrrm phimphephyaephr 2530 prmttheta khxngthanehlacwux thxdkhwam khyaykhwam bthekhiynaelacitrkrrm 2530 taraphichysngkhram sunwu thxdkhwam rwmelmtiphimph 2553 bthkwikhxngchn aenana aelaxthibaykarekhiynbthkwikhxngtnexng kwiniphnthaelabthekhiyn rwmelmtiphimph 2553xangxing aekikhprathip ehmuxnnil 100 nkpraphnthithy krungethph suwiriyasasn 2542 hna 479 ISBN 974 8267 78 4aehlngkhxmulxun aekikhphiphithphnth cang aestng Tang Chang The Original The Original Tang Chang nithrrskaraesdngphlngankhxng cang aestng minakhm emsayn 2543 cang aestng kkhux cang aestng phaphibhnatnexng 400 chin ph s 2497 2530 sidirxmrwmphlngan cdthaody The Mercury Art Gallery sucibtrprakxbnithrrskar cang aestng ephraachntxngkar thiwangkhxngchn aela cang aestng citrkrrmnamthrrm bthkwirupthrrm bthkhwamekiywkbchiwprawtiniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmulekhathungcak https th wikipedia org w index php title cang aestng amp oldid 8696485, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม