fbpx
วิกิพีเดีย

ธรณีแปรสัณฐาน

ธรณีแปรสัณฐาน (อังกฤษ: Geotectonic) เป็นการศึกษาด้านธรณีแปรสัณฐาน ที่นักธรณีวิทยาตั้งข้อสงสัยไว้หลายร้อยปีมาแล้วถึงลักษณะของพื้นผิวโลกที่มีลักษณะธรณีสัณฐานที่แตกต่างกันไปในแต่ละพื้นที่ บ้างก็เป็นลักษณะเทือกเขาสูงชัน บ้างก็เป็นที่ราบกินอาณาบริเวณกว้างใหญ่ไพศาล หรือ ที่ราบในบางแห่งก็เป็นที่ราบไหล่ทวีปใกล้ชายฝั่งทะเล บ้างก็พบเกาะกลางมหาสมุทร รวมถึงร่องลึกกลางมหาสมุทร โดยในช่วงประมาณ ค.ศ. 1960 เมื่อ B.C. Heezen, H.H. Hess และ R.S. Dietz ได้เสนอทฤษฎีเกี่ยวกับการแยกตัวของพื้นมหาสมุทร (Seafloor Spreading) กล่าวถึงการแยกตัวที่พื้นมหาสมุทรออกจากกันเป็นแนวยาวโดยมีแมกมาจากใต้ชั้นเปลือกโลกแทรกขึ้นมาเย็นตัวและแข็งตัว เกิดเป็นพื้นมหาสมุทรใหม่แล้วก็แยกจากกันออกไปอีกเรื่อยๆ นอกจากนั้นยังมีการพูดถึงการหดตัวของโลกอันเนื่องมาจากการสูญเสียพลังงานความร้อนทำให้การหดตัวเกิดขึ้นไม่เท่ากันในแต่ละบริเวณ บริเวณที่มีการหดตัวมากอาจเป็นเป็นร่องลึก อยู่ต่ำลงไป แต่บริเวณที่มีการหดตัวน้อยก็อาจเห็นเป็นเทือกเขาสูงได้เนื่องจากบริเวณโดยรอบมีการหดตัวที่มากกว่า แต่อย่างไรก็ตามก็ยังไม่สามารถอธิบายถึงแนวร่องหุบเขาที่เกิดขึ้นได้ นักธรณีวิทยายังคงศึกษาถึงเหตุการณ์ต่างๆอย่างต่อเนื่อง เช่น สนามแม่เหล็กโลกโบราณ ซากดึกดำบรรพ์ต่างๆที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของโลก ทำให้ปัจจุบันได้มีการกล่าวถึงทฤษฎีอยู่ 2 ทฤษฎี ที่จะมาอธิบายเหตุการณ์ต่างๆ ได้แก่

  1. ทฤษฎีทวีปเลื่อน (Continental Drift)
  2. ทฤษฎีแผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่ (Plate Tectonics)
การเคลื่อนตัวของแผ่นเปลือกโลก (คลิกแผนที่เพื่อดูรายละเอียดเพิ่มเติม)

ทฤษฎีทวีปเลื่อน

ในค.ศ. 1620 ฟรานซิส เบคอน ได้ตั้งข้อสังเกต ถึงการที่สองฟากมหาสมุทรแอตแลนติกมีลักษณะสัณฐานวิทยาที่สอดคล้องกันต่อมา P.Placet 1668 พยายามอธิบายว่าสองฟากมหาสมุทรแอตแลนติกน่าจะเชื่อมกันมาก่อน แต่ยังไม่มีหลักฐานหรือข้อมูลใดสนับสนุน นอกจากอาศัยลักษณะคล้ายคลึงสอดคล้องกันของชายฝั่งมหาสมุทรเท่านั้น จากนั้นในปี 1858 Antonio Sniderได้อาศัยข้อมูลชั้นหินในยุค Carboniferous ในทวีปยุโรปและอเมริกาเหนือมาเชื่อมโยงกันซึ่งสามารถสรุปได้ว่า ก่อนหน้านี้ทวีปทั้งหมดเคยเป็นทวีปผืนเดียวกันมาก่อน แล้วจึงค่อยๆ แยกออกจากกันในภายหลัง ในปี 1908 Frank B. Taylor ได้อธิบายถึงของการที่มหาทวีป 2 ทวีปซึ่งเคยวางตัวอยู่ใกล้ขั้วโลกเหนือและใต้แยกออกเป็นทวีปเล็กๆ และเคลื่อนที่มาในทิศเข้าหาเส้นศูนย์สูตร นั่นคือมหาทวีปลอเรเซีย (Laurasia) ซึ่งอยู่ทางเหนือและมหาทวีปกอนด์วานา (Gondwanaland) ซึ่งอยู่ทางใต้ โดยเป็นการเคลื่อนที่ของเปลือกโลกไซอัลเท่านั้น ต่อมาในปี 1910 Alfred Wegene ได้สร้างแผนที่มหาทวีปใหม่ โดยอาศัยรูปร่างแผนที่ของ Snider และตั้งชื่อว่ามหาทวีปพันเจีย ซึ่งถูกล้อมรอบด้วยมหาสมุทรพันธาลาสซา (Panthalassa) แล้วเกิดการแยกออกและเคลื่อนที่ไปอยู่ ณ ตำแหน่งที่เห็นอยู่ในปัจจุบัน โดยขณะเคลื่อนที่ก็เกิดเทือกเขาขึ้น ต่อมา Taylor ได้อธิบายว่ารอยชิ้นทวีปที่ขาดหล่นปรากฏเป็นเกาะแก่ง หรือรอยฉีกที่พบเป็นร่องลึกยังปรากฏอยู่บนพื้นมหาสมุทร

ทฤษฎีแผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่

เมื่อกว่าหลายทศวรรษที่ผ่านมา นักธรณีวิทยาได้ให้ข้อสังเกตไว้ว่าแผ่นทวีปต่างๆ บนโลกนั้นน่าจะสามารถนำมาต่อกันได้เพราะแผ่นทวีปเหล่านี้เคยเป็นแผ่นเดียวกันมาก่อน จากการสังเกตครั้งนั้นร่วมกับการค้นพบซากดึกดำบรรพ์ชนิดเดียวกันบนชายฝั่งอเมริกาเหนือและแอฟริกาในเวลาต่อมา ในช่วง 1950s ถึง 1960s นักธรณีวิทยาได้มีการศึกษาทางสุมทรศาสตร์อย่างจริงจังเพื่อหาข้อสนับสนุนแนวความคิดต่างๆ ในอดีต และได้ก่อให้เกิดทฤษฎีของเพลตเทคโทนิก (Plate Tectonics) ขึ้นในเวลาต่อมา ทฤษฎีดังกล่าวอธิบายว่าการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก (Plates) นั้นสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงพื้นผิวโลกตลอดช่วงธรณีกาล แผ่นเปลือกโลก Lithosphere (ซึ่งประกอบด้วยเปลือกโลกและแมนเทิลส่วนบน) ลอยตัวและไหลอยู่บนชั้นหินหนืด (ชั้นแมนเทิลที่สามารถไหลได้คล้ายของเหลวเรียกว่า Asthenosphere) สามารถเคลื่อนไปได้ประมาณหนึ่งนิ้วต่อปี และก็ได้เป็นคำตอบของสาเหตุที่ทำให้แผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่นั่นเอง โดยนักธรณีได้ให้ข้อสรุปไว้ว่าแผ่นเปลือกโลกสามารถเคลื่อนที่ได้สามแบบได้แก่

  1. เคลื่อนที่แยกออกจากกัน (Divergent)
  2. เคลื่อนที่เข้าชนกัน (Convergent)
  3. เคลื่อนผ่าน (Transform)

เคลื่อนที่แยกออกจากกัน

เมื่อแผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่แยกออกจากกัน ที่บริเวณแนวแผ่นเปลือกโลกแยกตัว (Divergent Boundaries) หินหนืดร้อน (Hot Magma) จากชั้นแมนเทิลจะแทรกตัวขึ้นมาตามช่องว่างตามแนวรอยแตก เมื่อหินหนืดเย็นตัวก็จะกลายเป็นแผ่นเปลือกโลกใหม่ การแทรกตัวขึ้นมาของหินหนืดจะทำให้แนวแยกตัวนั้นสูงขึ้นกลายเป็นแนวเทือกเขากลางมหาสมุทร (Mid-Ocean Ridges) แสดงถึงขอบของแผ่นเปลือกโลกในมหาสมุทร เปลือกโลกใหม่ที่ถูกสร้างขึ้นอย่างต่อเนื่องมีอัตราเร็วในการเกิดประมาณ 20 ลูกบาศก์กิโลเมตรต่อปี

แนวเทือกเขากลางสมุทร

มีลักษณะเป็นแนวเทือกเขาเตี้ยวางตัวทอดยาวไปบนพื้นมหาสมุทรคล้ายกับเทือกเขาบนทวีป เทือกเขากลางสมุทรที่สำคัญได้แก่ Mid-Atlantic Ridge และ East Pacific Rise เป็นต้น กลางเทือกเขามีลักษณะพิเศษคือมีร่องลึกอันเกิดจากรอยเลื่อนทอดตัวตลอดความยาวของเทือกเขา โดยมีลักษณะคล้ายคลึงกับร่องหุบเขาที่ปรากฏอยู่บนแผ่นดินหลายแห่ง เช่น ร่องหุบเขาทางด้านตะวันออกของทวีปแอฟริกา หรือร่องหุบเขาบริเวณแม่น้ำไรน์ในยุโรป เป็นต้น บนเทือกเขากลางสมุทรมีการยกตัวขึ้นมาของหินหลอมละลายที่ลึกลงไปในชั้นเนื้อโลกทำให้เกิดเป็นหินอัคนีพุจำพวก Basalt และ Ultramafic หินอัคนีพุเหล่านี้แสดงหลักฐานเป็นแถบบันทึกสนามแม่เหล็กโลกซึ่งเกิดขึ้นขณะที่หินหลอมละลายกำลังเย็นตัว แถบบันทึกนี้แสดงให้เห็นว่าสนามแม่เหล็กโลกได้เกิดการกลับขั้วไปมาตลอดเวลา นอกจากนี้ยังพบว่าแถบบันทึกสนามแม่เหล็กโลกนี้ปรากฏอยู่บนหินที่ประกอบเป็นพื้นมหาสมุทรทั้งสองฟากของเทือกเขากลางสมุทรด้วย และพบว่ายิ่งห่างออกไปจากแนวกลางของเทือกเขาชุดหินจะมีอายุแก่ขึ้นเรื่อย ๆ ดังนั้นจึงอธิบายได้ว่าหินเหล่านี้เกิดขึ้นก่อนที่กลางเทือกเขาแล้วค่อยเคลื่อนที่ออกจากกันเรื่อย ๆ ตามกาลเวลา จากการคำนวณการเคลื่อนที่ทำให้กำหนดความเร็วของการแยกตัวได้ว่าอยู่ระหว่าง 1 ถึง 15 เซนติเมตรต่อปี ดังนั้นเราสามารถระบุขอบของแผ่นเปลือกโลกในส่วนที่กำลังแยกตัวออกจากกันจากบริเวณเทือกเขากลางสมุทรได้

เคลื่อนที่เข้าชนกัน

เมื่อแผ่นเปลือกโลกมหาสมุทรใหม่มีการเย็นตัวเป็นเวลากว่าสิบล้านปี ความหนาแน่นก็จะค่อยๆ เพิ่มมากขึ้นจนมีความหนาแน่นมากกว่าชั้นหินหนืดที่อยู่ด้านล่าง จากนั้นจึงมุดตัวลงไปใต้โลกเรียกว่า Subduction การมุดตัวนี้จะเกิดขึ้นในบริเวณแนวแผ่นเปลือกโลกลู่เข้าหากัน (Convergent Plate Boundaries) ซึ่งแผ่นเปลือกโลกทั้งสองแผ่นมีการเคลื่อนที่เข้าชนกัน แผ่นเปลือกโลกมหาสมุทรที่มีความหนาแน่นมากกว่าจะเข้าชนและมุดตัวใต้แผ่นเปลือกโลกภาคพื้นทวีปที่ความหนาแน่นน้อยกว่า เมื่อแผ่นเปลือกโลกมุดตัวลงไปในโลก จะเกิดการบีบอัดและหลอมเป็นบางส่วน (Partially Melting) เนื่องจากอุณหภูมิและความดันที่สูงขึ้น ทำให้เกิดแผ่นดินไหวและภูเขาไฟ ขึ้นเหนือบริเวณที่มีการมุดตัว โดยการเคลื่อนที่แบบ Convergence จะทำให้เกิดลักษณะธรณีสัณฐาน 3 แบบได้แก่

การสร้างเทือกเขา

แรงดันจากการมุดตัวของแผ่นเปลือกโลกมหาสมุทรทำให้แผ่นเปลือกภาคพื้นทวีปที่มีความหนาแน่นน้อยกว่าที่เคลื่อนที่ต้านแรงดังกล่าวเกิดการโก่งตัวเกิดเป็นแนวเทือกเขาขนาดใหญ่ (Mountain Ranges) เช่น เทือกเขาหิมาลัย เทือกเขาร๊อกกี้

ร่องลึกมหาสมุทรและหมู่เกาะ

เมื่อแผ่นเปลือกโลกมหาสมุทรสองแผ่นเคลื่อนที่ชนกันและการมุดตัว บริเวณที่มีการมุดตัวจะเกิดร่องลึกมหาสมุทร (Oceanic Trenches) และแนวหมู่เกาะภูเขาไฟ (Volcanic Island Chains)

ร่องลึกก้นสมุทร

ร่องลึกนี้ถูกพบที่ใต้มหาสมุทรใกล้ขอบของทวีป และมักพบว่ามีแนวเกาะภูเขาไฟรูปโค้งอยู่ด้านอยู่ใกล้ขอบทวีป หินภูเขาไฟที่เกิดขึ้นตามแนวเกาะภูเขาไฟนี้เป็นจำพวกหิน Andesite ซึ่งแตกต่างไปจากหินอัคนีที่เกิดบริเวณเทือกเขากลางสมุทรที่ส่วนใหญ่เป็นหิน Basalt นอกจากนั้นบริเวณนี้ยังพบว่าเป็นบริเวณที่มีความร้อนสูงและมีการเกิดแผ่นดินไหวอยู่บ่อยครั้ง พบว่าตำแหน่งจุดกำเนิดแผ่นดินไหว มีลักษณะเอียงเทลงไปจากแนวร่องลึกลงไปถึงชั้นฐานธรณีภาค ที่ประมาณความลึกถึง 700 กิโลเมตร เรียกแนวแผ่นดินไหวเอียงเทนี้ว่าเขตเบนนิออฟ (Benioff Zones) จากการศึกษากลไกการเกิดแผ่นดินไหวที่พบในที่ลึกพบว่ามีแผ่นดินไหวจำนวนหนึ่งน่าจะเกิดจากรอยเลื่อนที่มีลักษณะสอดคล้องกับการเอียงของ Benioff Zone โดยแสดงเป็นลักษณะของรอยเลื่อนย้อน ดังนั้นจึงเกิดเป็นสมมติฐานว่าบริเวณนี้แผ่นเปลือกโลกกำลังมุดตัวเอียงลง และถูกกลืนหายไปในชั้นฐานธรณีภาค ขณะเดียวกันแนวเกาะภูเขาไฟและเขตความร้อนพิภพสูงก็อธิบายว่าได้เกิดการหลอมตัวของแผ่นเปลือกโลกในที่ลึกจนกลายเป็นมวลหินหลอมเหลว ซึ่งมวลหินหลอมเหลวค่อยๆหาทางเคลื่อนที่ขึ้นข้างบนมาเย็นตัวเป็นมวลหินอัคนีทั้งหินอัคนีพุและหินอัคนีแทรกดัน นอกจากนี้ในบริเวณใกล้เคียงที่ขอบของแผ่นเปลือกโลกด้านใดด้านหนึ่งหรือทั้งสองด้านน่าจะเกิดการเข้าชนกันทำให้เกิดการคดโค้งโก่งงอพร้อมกับรอยเลื่อนย้อนมากมายจนทำให้วัสดุถูกยกตัวขึ้นเป็นแนวแคบยาวขนานไปตามแนวชนกันของขอบแผ่นเปลือกโลกนั่นคือการเกิดเป็นแนวเทือกเขานั่นเอง

เคลื่อนผ่าน

แผ่นเปลือกโลกมีการเคลื่อนที่ผ่านซึ่งกันและกันในบริเวณแนวรอยเลื่อนแปรสภาพ (Transform Boundaries) มักพบในแผ่นเปลือกโลกมหาสมุทร ซึ่งเป็นสาเหตุทำให้แนวเทือกเขากลางมหาสมุทรเลื่อนเหลื่อมออกจากกัน บางบริเวณก็พบว่าตัดผ่านแผ่นเปลือกโลกภาคพื้นทวีปด้วย ในมหาสมุทรแนวดังกล่าวนี้มักจะก่อให้เกิดแผ่นดินไหวกำลังไม่มากอยู่เป็นประจำ ส่วนในภาคพื้นทวีปแนวดังกล่าวมักถูกจำกัดทำให้เกิดการสะสมพลังงานและก่อให้เกิดแผ่นดินไหวรุนแรงในเวลาต่อมาเมื่อเกิดการเลื่อนอย่างฉับพลัน ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายได้ ดังเช่น รอยเลื่อนซานแอนเดียส

รอยเลื่อนระนาบด้านข้าง

เป็นลักษณะของรอยเลื่อนแนวระดับ (Strike-Slip Fault) ซึ่งพบตัดแนวเทือกเขากลางสมุทรและทำให้แนวเทือกเขาเหลื่อมกันและจากข้อมูลแผ่นดินไหวพบว่า แนวรอยเลื่อนนี้อยู่ลึกประมาณ 300 กิโลเมตร รอยเลื่อนชนิดนี้ยังไม่ทราบถึงสาเหตุของการเกิด แต่สามารถใช้ระบุขอบเขตของแผ่นโลกที่เกิดได้ รวมทั้งบอกถึงการเคลื่อนตัวเฉียดผ่านกันของแผ่นเปลือกโลกที่อยู่ชิดกันด้วย

อ้างอิง

  • วิชาการธรณีไทย
  • Edward A. Keller (2001) Active Tectonics: Earthquakes, Uplift, and Landscape Prentice Hall; 2nd edition, ISBN 0-13-088230-5
  • Stanley A. Schumm, Jean F. Dumont and John M. Holbrook (2002) Active Tectonics and Alluvial Rivers, Cambridge University Press; Reprint edition, ISBN 0-521-89058-6
  • B.A. van der Pluijm and S. Marshak (2004). Earth Structure - An Introduction to Structural Geology and Tectonics. 2nd edition [1]. New York: W.W. Norton. p. 656. ISBN 0-393-92467-X. External link in |title= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น

  • The Origin and the Mechanics of the Forces Responsible for Tectonic Plate Movements
  • The Paleomap Project

ธรณ, แปรส, ณฐาน, งกฤษ, geotectonic, เป, นการศ, กษาด, าน, กธรณ, ทยาต, งข, อสงส, ยไว, หลายร, อยป, มาแล, วถ, งล, กษณะของพ, นผ, วโลกท, กษณะธรณ, ณฐานท, แตกต, างก, นไปในแต, ละพ, นท, างก, เป, นล, กษณะเท, อกเขาส, งช, างก, เป, นท, ราบก, นอาณาบร, เวณกว, างใหญ, ไพศาล, หร. thrniaeprsnthan xngkvs Geotectonic epnkarsuksadanthrniaeprsnthan thinkthrniwithyatngkhxsngsyiwhlayrxypimaaelwthunglksnakhxngphunphiwolkthimilksnathrnisnthanthiaetktangknipinaetlaphunthi bangkepnlksnaethuxkekhasungchn bangkepnthirabkinxanabriewnkwangihyiphsal hrux thirabinbangaehngkepnthirabihlthwipiklchayfngthael bangkphbekaaklangmhasmuthr rwmthungrxnglukklangmhasmuthr odyinchwngpraman kh s 1960 emux B C Heezen H H Hess aela R S Dietz idesnxthvsdiekiywkbkaraeyktwkhxngphunmhasmuthr Seafloor Spreading klawthungkaraeyktwthiphunmhasmuthrxxkcakknepnaenwyawodymiaemkmacakitchnepluxkolkaethrkkhunmaeyntwaelaaekhngtw ekidepnphunmhasmuthrihmaelwkaeykcakknxxkipxikeruxy nxkcaknnyngmikarphudthungkarhdtwkhxngolkxnenuxngmacakkarsuyesiyphlngngankhwamrxnthaihkarhdtwekidkhunimethakninaetlabriewn briewnthimikarhdtwmakxacepnepnrxngluk xyutalngip aetbriewnthimikarhdtwnxykxacehnepnethuxkekhasungidenuxngcakbriewnodyrxbmikarhdtwthimakkwa aetxyangirktamkyngimsamarthxthibaythungaenwrxnghubekhathiekidkhunid nkthrniwithyayngkhngsuksathungehtukarntangxyangtxenuxng echn snamaemehlkolkobran sakdukdabrrphtangthiaesdngthungkarepliynaeplngkhxngolk thaihpccubnidmikarklawthungthvsdixyu 2 thvsdi thicamaxthibayehtukarntang idaekthvsdithwipeluxn Continental Drift thvsdiaephnepluxkolkekhluxnthi Plate Tectonics karekhluxntwkhxngaephnepluxkolk khlikaephnthiephuxduraylaexiydephimetim enuxha 1 thvsdithwipeluxn 2 thvsdiaephnepluxkolkekhluxnthi 2 1 ekhluxnthiaeykxxkcakkn 2 1 1 aenwethuxkekhaklangsmuthr 2 2 ekhluxnthiekhachnkn 2 2 1 karsrangethuxkekha 2 2 2 rxnglukmhasmuthraelahmuekaa 2 2 3 rxnglukknsmuthr 2 3 ekhluxnphan 2 3 1 rxyeluxnranabdankhang 3 xangxing 4 aehlngkhxmulxunthvsdithwipeluxn aekikhinkh s 1620 fransis ebkhxn idtngkhxsngekt thungkarthisxngfakmhasmuthraextaelntikmilksnasnthanwithyathisxdkhlxngkntxma P Placet 1668 phyayamxthibaywasxngfakmhasmuthraextaelntiknacaechuxmknmakxn aetyngimmihlkthanhruxkhxmulidsnbsnun nxkcakxasylksnakhlaykhlungsxdkhlxngknkhxngchayfngmhasmuthrethann caknninpi 1858 Antonio Snideridxasykhxmulchnhininyukh Carboniferous inthwipyuorpaelaxemrikaehnuxmaechuxmoyngknsungsamarthsrupidwa kxnhnanithwipthnghmdekhyepnthwipphunediywknmakxn aelwcungkhxy aeykxxkcakkninphayhlng inpi 1908 Frank B Taylor idxthibaythungkhxngkarthimhathwip 2 thwipsungekhywangtwxyuiklkhwolkehnuxaelaitaeykxxkepnthwipelk aelaekhluxnthimainthisekhahaesnsunysutr nnkhuxmhathwiplxeresiy Laurasia sungxyuthangehnuxaelamhathwipkxndwana Gondwanaland sungxyuthangit odyepnkarekhluxnthikhxngepluxkolkisxlethann txmainpi 1910 Alfred Wegene idsrangaephnthimhathwipihm odyxasyruprangaephnthikhxng Snider aelatngchuxwamhathwipphneciy sungthuklxmrxbdwymhasmuthrphnthalassa Panthalassa aelwekidkaraeykxxkaelaekhluxnthiipxyu n taaehnngthiehnxyuinpccubn odykhnaekhluxnthikekidethuxkekhakhun txma Taylor idxthibaywarxychinthwipthikhadhlnpraktepnekaaaekng hruxrxychikthiphbepnrxnglukyngpraktxyubnphunmhasmuthrthvsdiaephnepluxkolkekhluxnthi aekikhemuxkwahlaythswrrsthiphanma nkthrniwithyaidihkhxsngektiwwaaephnthwiptang bnolknnnacasamarthnamatxknidephraaaephnthwipehlaniekhyepnaephnediywknmakxn cakkarsngektkhrngnnrwmkbkarkhnphbsakdukdabrrphchnidediywknbnchayfngxemrikaehnuxaelaaexfrikainewlatxma inchwng 1950s thung 1960s nkthrniwithyaidmikarsuksathangsumthrsastrxyangcringcngephuxhakhxsnbsnunaenwkhwamkhidtang inxdit aelaidkxihekidthvsdikhxngephltethkhothnik Plate Tectonics khuninewlatxma thvsdidngklawxthibaywakarekhluxnthikhxngaephnepluxkolk Plates nnsxdkhlxngkbkarepliynaeplngphunphiwolktlxdchwngthrnikal aephnepluxkolk Lithosphere sungprakxbdwyepluxkolkaelaaemnethilswnbn lxytwaelaihlxyubnchnhinhnud chnaemnethilthisamarthihlidkhlaykhxngehlweriykwa Asthenosphere samarthekhluxnipidpramanhnungniwtxpi aelakidepnkhatxbkhxngsaehtuthithaihaephnepluxkolkekhluxnthinnexng odynkthrniidihkhxsrupiwwaaephnepluxkolksamarthekhluxnthiidsamaebbidaek ekhluxnthiaeykxxkcakkn Divergent ekhluxnthiekhachnkn Convergent ekhluxnphan Transform ekhluxnthiaeykxxkcakkn aekikh emuxaephnepluxkolkekhluxnthiaeykxxkcakkn thibriewnaenwaephnepluxkolkaeyktw Divergent Boundaries hinhnudrxn Hot Magma cakchnaemnethilcaaethrktwkhunmatamchxngwangtamaenwrxyaetk emuxhinhnudeyntwkcaklayepnaephnepluxkolkihm karaethrktwkhunmakhxnghinhnudcathaihaenwaeyktwnnsungkhunklayepnaenwethuxkekhaklangmhasmuthr Mid Ocean Ridges aesdngthungkhxbkhxngaephnepluxkolkinmhasmuthr epluxkolkihmthithuksrangkhunxyangtxenuxngmixtraerwinkarekidpraman 20 lukbaskkiolemtrtxpi aenwethuxkekhaklangsmuthr aekikh milksnaepnaenwethuxkekhaetiywangtwthxdyawipbnphunmhasmuthrkhlaykbethuxkekhabnthwip ethuxkekhaklangsmuthrthisakhyidaek Mid Atlantic Ridge aela East Pacific Rise epntn klangethuxkekhamilksnaphiesskhuxmirxnglukxnekidcakrxyeluxnthxdtwtlxdkhwamyawkhxngethuxkekha odymilksnakhlaykhlungkbrxnghubekhathipraktxyubnaephndinhlayaehng echn rxnghubekhathangdantawnxxkkhxngthwipaexfrika hruxrxnghubekhabriewnaemnairninyuorp epntn bnethuxkekhaklangsmuthrmikaryktwkhunmakhxnghinhlxmlalaythiluklngipinchnenuxolkthaihekidepnhinxkhniphucaphwk Basalt aela Ultramafic hinxkhniphuehlaniaesdnghlkthanepnaethbbnthuksnamaemehlkolksungekidkhunkhnathihinhlxmlalaykalngeyntw aethbbnthukniaesdngihehnwasnamaemehlkolkidekidkarklbkhwipmatlxdewla nxkcakniyngphbwaaethbbnthuksnamaemehlkolknipraktxyubnhinthiprakxbepnphunmhasmuthrthngsxngfakkhxngethuxkekhaklangsmuthrdwy aelaphbwayinghangxxkipcakaenwklangkhxngethuxkekhachudhincamixayuaekkhuneruxy dngnncungxthibayidwahinehlaniekidkhunkxnthiklangethuxkekhaaelwkhxyekhluxnthixxkcakkneruxy tamkalewla cakkarkhanwnkarekhluxnthithaihkahndkhwamerwkhxngkaraeyktwidwaxyurahwang 1 thung 15 esntiemtrtxpi dngnnerasamarthrabukhxbkhxngaephnepluxkolkinswnthikalngaeyktwxxkcakkncakbriewnethuxkekhaklangsmuthrid ekhluxnthiekhachnkn aekikh emuxaephnepluxkolkmhasmuthrihmmikareyntwepnewlakwasiblanpi khwamhnaaennkcakhxy ephimmakkhuncnmikhwamhnaaennmakkwachnhinhnudthixyudanlang caknncungmudtwlngipitolkeriykwa Subduction karmudtwnicaekidkhuninbriewnaenwaephnepluxkolkluekhahakn Convergent Plate Boundaries sungaephnepluxkolkthngsxngaephnmikarekhluxnthiekhachnkn aephnepluxkolkmhasmuthrthimikhwamhnaaennmakkwacaekhachnaelamudtwitaephnepluxkolkphakhphunthwipthikhwamhnaaennnxykwa emuxaephnepluxkolkmudtwlngipinolk caekidkarbibxdaelahlxmepnbangswn Partially Melting enuxngcakxunhphumiaelakhwamdnthisungkhun thaihekidaephndinihwaelaphuekhaif khunehnuxbriewnthimikarmudtw odykarekhluxnthiaebb Convergence cathaihekidlksnathrnisnthan 3 aebbidaek karsrangethuxkekha aekikh aerngdncakkarmudtwkhxngaephnepluxkolkmhasmuthrthaihaephnepluxkphakhphunthwipthimikhwamhnaaennnxykwathiekhluxnthitanaerngdngklawekidkarokngtwekidepnaenwethuxkekhakhnadihy Mountain Ranges echn ethuxkekhahimaly ethuxkekharxkki rxnglukmhasmuthraelahmuekaa aekikh emuxaephnepluxkolkmhasmuthrsxngaephnekhluxnthichnknaelakarmudtw briewnthimikarmudtwcaekidrxnglukmhasmuthr Oceanic Trenches aelaaenwhmuekaaphuekhaif Volcanic Island Chains rxnglukknsmuthr aekikh rxngluknithukphbthiitmhasmuthriklkhxbkhxngthwip aelamkphbwamiaenwekaaphuekhaifrupokhngxyudanxyuiklkhxbthwip hinphuekhaifthiekidkhuntamaenwekaaphuekhaifniepncaphwkhin Andesite sungaetktangipcakhinxkhnithiekidbriewnethuxkekhaklangsmuthrthiswnihyepnhin Basalt nxkcaknnbriewnniyngphbwaepnbriewnthimikhwamrxnsungaelamikarekidaephndinihwxyubxykhrng phbwataaehnngcudkaenidaephndinihw milksnaexiyngethlngipcakaenwrxngluklngipthungchnthanthrniphakh thipramankhwamlukthung 700 kiolemtr eriykaenwaephndinihwexiyngethniwaekhtebnnixxf Benioff Zones cakkarsuksaklikkarekidaephndinihwthiphbinthilukphbwamiaephndinihwcanwnhnungnacaekidcakrxyeluxnthimilksnasxdkhlxngkbkarexiyngkhxng Benioff Zone odyaesdngepnlksnakhxngrxyeluxnyxn dngnncungekidepnsmmtithanwabriewnniaephnepluxkolkkalngmudtwexiynglng aelathukklunhayipinchnthanthrniphakh khnaediywknaenwekaaphuekhaifaelaekhtkhwamrxnphiphphsungkxthibaywaidekidkarhlxmtwkhxngaephnepluxkolkinthilukcnklayepnmwlhinhlxmehlw sungmwlhinhlxmehlwkhxyhathangekhluxnthikhunkhangbnmaeyntwepnmwlhinxkhnithnghinxkhniphuaelahinxkhniaethrkdn nxkcakniinbriewniklekhiyngthikhxbkhxngaephnepluxkolkdaniddanhnunghruxthngsxngdannacaekidkarekhachnknthaihekidkarkhdokhngokngngxphrxmkbrxyeluxnyxnmakmaycnthaihwsduthukyktwkhunepnaenwaekhbyawkhnaniptamaenwchnknkhxngkhxbaephnepluxkolknnkhuxkarekidepnaenwethuxkekhannexng ekhluxnphan aekikh aephnepluxkolkmikarekhluxnthiphansungknaelakninbriewnaenwrxyeluxnaeprsphaph Transform Boundaries mkphbinaephnepluxkolkmhasmuthr sungepnsaehtuthaihaenwethuxkekhaklangmhasmuthreluxnehluxmxxkcakkn bangbriewnkphbwatdphanaephnepluxkolkphakhphunthwipdwy inmhasmuthraenwdngklawnimkcakxihekidaephndinihwkalngimmakxyuepnpraca swninphakhphunthwipaenwdngklawmkthukcakdthaihekidkarsasmphlngnganaelakxihekidaephndinihwrunaernginewlatxmaemuxekidkareluxnxyangchbphln sungkxihekidkhwamesiyhayid dngechn rxyeluxnsanaexnediys rxyeluxnranabdankhang aekikh epnlksnakhxngrxyeluxnaenwradb Strike Slip Fault sungphbtdaenwethuxkekhaklangsmuthraelathaihaenwethuxkekhaehluxmknaelacakkhxmulaephndinihwphbwa aenwrxyeluxnnixyulukpraman 300 kiolemtr rxyeluxnchnidniyngimthrabthungsaehtukhxngkarekid aetsamarthichrabukhxbekhtkhxngaephnolkthiekidid rwmthngbxkthungkarekhluxntwechiydphanknkhxngaephnepluxkolkthixyuchidkndwyxangxing aekikhwichakarthrniithy Edward A Keller 2001 Active Tectonics Earthquakes Uplift and Landscape Prentice Hall 2nd edition ISBN 0 13 088230 5 Stanley A Schumm Jean F Dumont and John M Holbrook 2002 Active Tectonics and Alluvial Rivers Cambridge University Press Reprint edition ISBN 0 521 89058 6 B A van der Pluijm and S Marshak 2004 Earth Structure An Introduction to Structural Geology and Tectonics 2nd edition 1 New York W W Norton p 656 ISBN 0 393 92467 X External link in title help aehlngkhxmulxun aekikhThe Origin and the Mechanics of the Forces Responsible for Tectonic Plate Movements The Paleomap Projectekhathungcak https th wikipedia org w index php title thrniaeprsnthan amp oldid 9058350, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม