fbpx
วิกิพีเดีย

บรรทัดฐาน

บรรทัดฐาน ปทัสถาน หรือ ปทัฏฐาน (อังกฤษ: norm) ในทางสังคมวิทยาหมายถึง พฤติกรรมและบทบาทภายในสังคมหรือกลุ่ม คำนี้มีการจำกัดความว่าเป็น "กฎซึ่งกลุ่มใช้สำหรับแยกแยะค่านิยม ทัศนคติและพฤติกรรมที่เหมาะสมและไม่เหมาะสม กฎดังกล่าวอาจบอกอย่างชัดเจนหรือเป็นนัยก็ได้ ผู้ที่ไม่ปฏิบัติตามบรรทัดฐานของสังคมอาจได้รับการลงโทษอย่างรุนแรง ซึ่งอาจนำไปสู่การกีดกันออกไปจากกลุ่ม" นอกจากนี้ยังมีการอธิบายว่าเป็น "กฎธรรมเนียมของพฤติกรรมที่ประสานปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น"

การจับมือกันหลังเสร็จสิ้นการแข่งขันเป็นตัวอย่างหนึ่งของบรรทัดฐานในสังคมตะวันตก

บรรทัดฐานทางสังคมบ่งชี้ถึงแนวทางสังคมยอมรับในการกระทำ การแต่งกาย การพูดจาหรือรูปลักษณ์ภายนอก บรรทัดฐานนี้มีความแตกต่างกันมากและมีวิวัฒนาการไม่เฉพาะแต่ในช่วงเวลาที่แตกต่างกันเท่านั้น แต่ยังรวมถึงความแตกต่างของวัย ชนชั้นทางสังคมและกลุ่มทางสังคมด้วย บรรทัดฐานของกลุ่มหนึ่งอาจไม่ได้รับการยอมรับในอีกกลุ่มหนึ่งก็ได้ การปฏิบัติตามบรรทัดฐานของสังคมนำมาซึ่งการได้รับความยอมรับและความเป็นที่นิยมภายในกลุ่ม การเพิกเฉยต่อบรรทัดฐานของสังคมอาจทำให้ผู้หนึ่งไม่ได้รับการยอมรับจากกลุ่ม ไม่ได้รับความยอมรับ หรืออาจถึงขั้นขับออกจากกลุ่มเลยก็เป็นได้ บรรทัดฐานทางสังคมมักเป็นตัวภาษาหรือการสื่อสารโดยไม่ใช้คำพูดระหว่างบุคคลในสังคมทั่วไป

การทราบว่าสิ่งใดควรพูด หรือควรใช้คำใดโดยเฉพาะเป็นพิเศษ ควรพูดคุยถึงหัวข้อใดหัวข้อหนึ่ง ควรใส่เสื้อผ้าแบบใด และเมื่อใดที่ไม่ควร ความรู้ดังกล่าวเป็นบรรทัดฐานทางวัฒนธรรมซึ่งมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการจัดการการแสดงออก ซึ่งเป็นระเบียบสำหรับปัจเจกชนในการแสดงพฤติกรรมโดยไม่ใช้คำพูด

ภาพรวม

บรรทัดฐานทางสังคมสามารถถูกมองว่าเป็นข้อความที่กำหนดพฤติกรรมและการกระทำเป็นการควบคุมทางสังคมอย่างไม่เป็นทางการ บรรทัดฐานนี้มักขึ้นอยู่กับบางระดับของการได้รับความยนยอมและดำรงอยู่โดยการบังคับทางสังคม ระเบียบของบรรทัดฐานมีอยู่สามรูปแบบดังนี้:

  • มุ่งให้ความสนใจการกระทำของอีโก้ส่วนบุคคลของผู้ใดผู้หนึ่ง
  • มุ่งให้ความสนใจปฏิกิริยาของอีโก้ต่อการกระทำอีกวิธีการหนึ่ง
  • การเจรจาระหว่างอีโก้และอีกการกระทำหนึ่ง

บรรทัดฐานเป็นกฎควบคุมพฤติกรรม มีทั้งแบบเป็นทางการและแบบไม่เป็นทางการ แต่บรรทัดฐานแบบไม่เป็นทางการจะพบว่ามีความเข้มแข็งกว่าแบบแรก บรรทัดฐานแบบไม่เป็นทางการสามารถแบ่งออกได้เป็นสองแบบ:

  • วิถีประชา กฎและบรรทัดฐานอย่างไม่เป็นทางการ การละเมิดวิถีประชาไม่ค่อยมีผลเท่าใดนัก แต่ทุกคนในกลุ่มถูกคาดหวังให้ปฏิบัติตาม วิถีประชาเป็นประเภทหนึ่งของนิสัยการปรับตัวและการยินยอม ผู้ที่ไม่ปฏิบัติตามจะถูกตำหนิหรือได้รับการเตือน
  • จารีต กฎอย่างไม่เป็นทางการ ซึ่งผู้ที่ไม่ปฏิบัติตามจะถูกลงโทษอย่างรุนแรงและถูกกีดกันจากสังคมหรือศาสนานั้น ๆ

นอกจากนี้ยังมี กฎหมาย ซึ่งเป็นบรรทัดฐานทางสังคมแบบเป็นทางการ[ต้องการอ้างอิง]

อ้างอิง

  1. Social Norms
  2. Steven N. Durlauf and Lawrence E. Blume (Eds), 'Social Norms' in New Palgrave Dictionary of Economics, Second Edition, London: Macmillan, (forthcoming)
  3. Kamau, C. (2009) Strategising impression management in corporations: cultural knowledge as capital. In D. Harorimana (Ed) Cultural implications of knowledge sharing, management and transfer: identifying competitive advantage. Chapter 4. Information Science Reference. ISBN 978-1-60566-790-4

แหล่งข้อมูลอื่น

  • การจัดระเบียบทางสังคม
  • Common Knowledge in Stanford Encyclopedia of Philosophy
  • Model Citizenship Real World Examples of Expected Normative Behavior

บรรท, ดฐาน, ปท, สถาน, หร, ปท, ฏฐาน, งกฤษ, norm, ในทางส, งคมว, ทยาหมายถ, พฤต, กรรมและบทบาทภายในส, งคมหร, อกล, คำน, การจำก, ดความว, าเป, กฎซ, งกล, มใช, สำหร, บแยกแยะค, าน, ยม, ศนคต, และพฤต, กรรมท, เหมาะสมและไม, เหมาะสม, กฎด, งกล, าวอาจบอกอย, างช, ดเจนหร, อเป, นน. brrthdthan pthsthan hrux pthtthan xngkvs norm inthangsngkhmwithyahmaythung phvtikrrmaelabthbathphayinsngkhmhruxklum khanimikarcakdkhwamwaepn kdsungklumichsahrbaeykaeyakhaniym thsnkhtiaelaphvtikrrmthiehmaasmaelaimehmaasm kddngklawxacbxkxyangchdecnhruxepnnykid phuthiimptibtitambrrthdthankhxngsngkhmxacidrbkarlngothsxyangrunaerng sungxacnaipsukarkidknxxkipcakklum 1 nxkcakniyngmikarxthibaywaepn kdthrrmeniymkhxngphvtikrrmthiprasanptismphnthkbphuxun 2 karcbmuxknhlngesrcsinkaraekhngkhnepntwxyanghnungkhxngbrrthdthaninsngkhmtawntk brrthdthanthangsngkhmbngchithungaenwthangsngkhmyxmrbinkarkratha karaetngkay karphudcahruxruplksnphaynxk brrthdthannimikhwamaetktangknmakaelamiwiwthnakarimechphaaaetinchwngewlathiaetktangknethann aetyngrwmthungkhwamaetktangkhxngwy chnchnthangsngkhmaelaklumthangsngkhmdwy brrthdthankhxngklumhnungxacimidrbkaryxmrbinxikklumhnungkid karptibtitambrrthdthankhxngsngkhmnamasungkaridrbkhwamyxmrbaelakhwamepnthiniymphayinklum karephikechytxbrrthdthankhxngsngkhmxacthaihphuhnungimidrbkaryxmrbcakklum imidrbkhwamyxmrb hruxxacthungkhnkhbxxkcakklumelykepnid brrthdthanthangsngkhmmkepntwphasahruxkarsuxsarodyimichkhaphudrahwangbukhkhlinsngkhmthwipkarthrabwasingidkhwrphud hruxkhwrichkhaidodyechphaaepnphiess khwrphudkhuythunghwkhxidhwkhxhnung khwrisesuxphaaebbid aelaemuxidthiimkhwr khwamrudngklawepnbrrthdthanthangwthnthrrmsungmikhwamsakhyxyangyingtxkarcdkarkaraesdngxxk 3 sungepnraebiybsahrbpceckchninkaraesdngphvtikrrmodyimichkhaphudphaphrwm aekikhbrrthdthanthangsngkhmsamarththukmxngwaepnkhxkhwamthikahndphvtikrrmaelakarkrathaepnkarkhwbkhumthangsngkhmxyangimepnthangkar brrthdthannimkkhunxyukbbangradbkhxngkaridrbkhwamynyxmaeladarngxyuodykarbngkhbthangsngkhm raebiybkhxngbrrthdthanmixyusamrupaebbdngni mungihkhwamsnickarkrathakhxngxiokswnbukhkhlkhxngphuidphuhnung mungihkhwamsnicptikiriyakhxngxioktxkarkrathaxikwithikarhnung karecrcarahwangxiokaelaxikkarkrathahnungbrrthdthanepnkdkhwbkhumphvtikrrm mithngaebbepnthangkaraelaaebbimepnthangkar aetbrrthdthanaebbimepnthangkarcaphbwamikhwamekhmaekhngkwaaebbaerk brrthdthanaebbimepnthangkarsamarthaebngxxkidepnsxngaebb withipracha kdaelabrrthdthanxyangimepnthangkar karlaemidwithiprachaimkhxymiphlethaidnk aetthukkhninklumthukkhadhwngihptibtitam withiprachaepnpraephthhnungkhxngnisykarprbtwaelakaryinyxm phuthiimptibtitamcathuktahnihruxidrbkaretuxn carit kdxyangimepnthangkar sungphuthiimptibtitamcathuklngothsxyangrunaerngaelathukkidkncaksngkhmhruxsasnann nxkcakniyngmi kdhmay sungepnbrrthdthanthangsngkhmaebbepnthangkar txngkarxangxing xangxing aekikh Social Norms Steven N Durlauf and Lawrence E Blume Eds Social Norms in New Palgrave Dictionary of Economics Second Edition London Macmillan forthcoming Kamau C 2009 Strategising impression management in corporations cultural knowledge as capital In D Harorimana Ed Cultural implications of knowledge sharing management and transfer identifying competitive advantage Chapter 4 Information Science Reference ISBN 978 1 60566 790 4aehlngkhxmulxun aekikhkarcdraebiybthangsngkhm Common Knowledge in Stanford Encyclopedia of Philosophy Model Citizenship Real World Examples of Expected Normative Behaviorekhathungcak https th wikipedia org w index php title brrthdthan amp oldid 9357495, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม