fbpx
วิกิพีเดีย

ประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือ

ประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือ (Deliberative Democracy) เป็นรูปแบบหนึ่งของระบอบประชาธิปไตย โดยมีนัยหมายถึงกระบวนการทางประชาธิปไตยที่มีความเชื่อมั่นในพลังอำนาจจากการให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจทางการเมืองมากยิ่งขึ้น โดยการปรึกษาหารือ ร่วมถกแถลงอภิปรายข้อปัญหาต่างๆ อย่างเป็นระบบ เพื่อโน้มน้าวพลเมืองคนอื่น และกลุ่มคนที่มีผลประโยชน์และความเห็นแตกต่างกันด้วยข้อมูลและเหตุผล อันจะนำไปสู่การแสวงหาทางออกที่เห็นพ้องต้องกัน หรือ ฉันทามติ ในการแก้ไขปัญหาสาธารณะ ตลอดจนการตัดสินใจทางการเมืองต่างๆ (Kurian, 2011: 385)

อรรถาธิบาย

ในระบอบประชาธิปไตยแบบตัวแทนซึ่งเป็นหนึ่งในบรรดาการปกครองสมัยใหม่ที่ใช้กันอยู่ทั่วทุกมุมโลกในปัจจุบัน ทำให้กระบวนการเลือกตั้ง และการตัดสินใจโดยเสียงข้างมากได้กลายเป็นสิ่งที่จำเป็น และสำคัญประการแรกๆ ของการปกครองในระบอบประชาธิปไตยสมัยใหม่ แต่กระบวนการเลือกตั้งก็อาจไม่ใช่ปัจจัยที่เพียงพอเสียแล้วในการสร้างคุณค่าให้แก่ประชาธิปไตยแบบตัวแทน เพราะคุณภาพของประชาธิปไตยสมัยใหม่นั้นอยู่ที่การเคารพทั้งการตัดสินใจของเสียงข้างมาก ในขณะเดียวกันก็จะต้องธำรงไว้ซึ่งสิทธิเสรีภาพของเสียงข้างน้อย ด้วยเหตุนี้ แนวคิดประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือจึงเข้ามาตอบโจทย์จุดอ่อนของประชาธิปไตยเสียงข้างมาก และพยายามช่วยให้เราสามารถบรรลุคุณค่าของประชาธิปไตยทั้งสองมิติไปได้พร้อมๆ กัน

อนึ่ง สิ่งที่สำคัญที่สุดของระบอบประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือนั้นอยู่ที่กระบวนการ “ปรึกษาหารือ” (deliberation) ของประชาชน นั่นเพราะกระบวนการปรึกษาหารือนี้จะช่วยทำให้ประชาชนสามารถเข้ามามีส่วนร่วมทางการเมืองที่มากไปกว่าแค่การเข้าคูหาเพื่อเลือกตั้งเท่านั้น หรือที่เรียกกันว่าประชาธิปไตยแบบสี่วินาที (four seconds democracy) เพราะในกระบวนการปรึกษาหารือนี้ ประชาชนทุกๆ คนจะร่วมกันใช้ข้อมูลและเหตุผลเป็นเครื่องมือหลักในการแสดงออกซึ่งจุดยืน ตลอดจนมีโอกาสที่จะโน้มน้าวจิตใจของพลเมืองคนอื่นๆ ให้คล้อยตามเหตุผลของตนได้อย่างเท่าเทียมกันทั้งเสียงข้างมาก และเสียงข้างน้อย เพื่อที่สุดท้ายจะนำไปสู่การตัดสินใจทางการเมืองหนึ่งๆ ร่วมกันอย่างเข้าใจ ดังที่ฮาเบอร์มาส (Habermas, 1975) ได้กล่าวถึงกระบวนการปรึกษาหารือในระบอบประชาธิปไตยว่าไม่ได้เกิดขึ้นจากความต้องการของผู้มีอำนาจที่อยู่เหนือตัวเราขึ้นไป หากแต่เป็นเรื่องของการใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างเข้าอกเข้าใจของพลเมืองทุกๆ คนที่เข้าร่วมในกระบวนการปรึกษาหารือ

ด้วยเหตุนี้ในระบอบประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือ กระบวนการปรึกษาหารือของประชาชน ทุกๆฝ่ายจึงได้ถูกนำมาวางไว้ก่อนหน้าที่จะมีการตัดสินใจสำคัญในทางการเมืองใดๆ เช่น ก่อนหน้าที่จะมีการออกกฎหมายโดยรัฐสภา หรือก่อนการพิพากษาตัดสินคดีความของศาล หรือแม้แต่ก่อนการออกนโยบายสาธารณะใดๆ ของรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งโดยเสียงข้างมาก นั่นก็เพราะในบางครั้งเสียงข้างมากที่เลือกตั้งรัฐบาลเข้าไปอาจไม่เห็นพ้องต้องกันกับรัฐบาล หรือ ผู้ที่สนับสนุนนโยบายสาธารณะหนึ่งๆ ของรัฐบาลเสมอไปในทุกๆ กรณี ดังนั้นกระบวนการปรึกษาหารือของประชาชนจะช่วยทำให้การออกกฎหมาย คำตัดสินพิพากษาคดีของศาล (ในกรณีใช้ระบบลูกขุน) หรือ การออกนโยบายสาธารณะใดๆ นั้นเป็นไปตามความเห็นพ้องต้องกันจากประชาชนทุกๆฝ่ายของสังคม และจะช่วยอุดช่องว่างของประชาธิปไตยแบบตัวแทนที่ประชาชนมีโอกาสแสดงเจตจำนงอิสระ หรือ อัตตาณัติของตนเพียงครั้งเดียวคือตอนเข้าคูหาเพื่อไปเลือกตั้งผู้แทน โดยที่ไม่มีโอกาสได้แสดงความคิดเห็น หรือ ที่มาที่ไปของนโยบายนั้นๆ ร่วมกับพลเมืองคนอื่นๆ ภายในรัฐเลย (ไชยันต์, 2549)

กระบวนการปรึกษาหารือของประชาชนนั้นอาจกระทำได้ในหลายวิธี เช่น การจัดให้มีเวทีเสวนาแบบเปิด (open forum) หรือ ประชาเสวนาหาทางออก (deliberation) เพื่อเปิดกว้างให้สาธารณชนได้มีโอกาสเข้าร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกันกับองค์กรต่างๆ ทั้งภาครัฐ และภาคเอกชนในประเด็นสำคัญทางการเมืองต่างๆ หรือ การใช้โพลล์เสวนา (deliberative polling: DP) ในการบ่งบอกว่าอะไรคือสิ่งที่สาธารณชนทั้งหมดคิดเกี่ยวกับประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับนโยบายสาธารณะ หรือ เกี่ยวกับผู้สมัครรับเลือกตั้ง ซึ่งเกิดขึ้นภายใต้เงื่อนไขที่ว่าสาธารณชนได้มีโอกาสขบคิดกันอย่างกว้างขวาง (extensive reflection) และได้มีหนทางเข้าถึงข้อมูลข่าวสารอย่างทั่วถึงเสมอกัน เป็นต้น (ไชยันต์, 2549)

ตัวอย่างการนำไปใช้ในประเทศไทย

นับตั้งแต่เกิดการรัฐประหารในปี พ.ศ. 2549 เป็นต้นมา ประเทศไทยได้เผชิญกับช่วงเวลาที่เกิดปัญหาจากวิกฤติการณ์ และความขัดแย้งทางการเมืองอย่างรุนแรงชนิดที่สร้างรอยร้าวขนาดใหญ่ให้แก่สังคมไทยด้วยการแบ่งแยกผู้คนออกเป็นฝักเป็นฝ่ายที่คอยเข้าห้ำหั่น และประหัตถ์ประหารกันในทางการเมืองอยู่ตลอดเวลาอย่างที่ไม่เคยปรากฏขึ้นมาก่อน ดังสะท้อนให้เห็นผ่านเหตุการณ์การใช้ความรุนแรงนับตั้งแต่เหตุการณ์ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2551 และ วิกฤติการณ์ในเดือนเมษายน-พฤษภาคมของปี พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2553 ซึ่งทำให้เกิดความสูญเสียทั้งชีวิต และจิตใจของผู้คนชาวไทยอย่างร้ายแรง

ด้วยเหตุนี้ในช่วงปี พ.ศ. 2554 - 2555 จึงได้เกิดกระแสเรียกร้องให้สร้าง “ความปรองดองแห่งชาติ” ด้วยการจัดตั้งคณะกรรมการอิสระตรวจสอบและค้นหาความจริงเพื่อความปรองดองแห่งชาติ (หรือ คอป.) ตลอดจนการเสนอแผนปรองดองฉบับต่างๆ จากหลายๆ ฝ่ายออกสู่สาธารณชนโดยหวังว่าอาจเป็นหนึ่งในหนทางที่จะสามารถช่วยประสานความขัดแย้งต่างๆ ในสังคมไทยให้คลี่คลายลงไปได้บ้าง

ในสภาพการณ์ของกระแสเรียกร้องให้มีการปรองดองแห่งชาติเกิดขึ้นดังกล่าวนี้เอง ที่ดูเหมือนกระบวนการปรึกษาหารือ ได้เข้ามามีบทบาทสำคัญในทางการเมืองไทยเพิ่มขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการจัดให้มี “สุนทรียเสวนา” (dialogue) ตามรายงานการวิจัยเกี่ยวกับเรื่องการปรองดองของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาแนวทางการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สภาผู้แทนราษฎร โดยคณะวิจัยจากสถาบันพระปกเกล้า ซึ่งมุ่งเน้นให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อให้เกิดความเข้าใจ และเห็นอกเห็นใจซึ่งกันและกัน ทั้งภายในกลุ่ม และระหว่างกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่างๆ ในสังคม เพื่อปรับความสัมพันธ์ที่ขัดแย้งระหว่างกัน อันจะนำไปสู่การร่วมกันหาทางออกหรือแนวทางในการปรับโครงสร้างทางการเมือง และสังคมต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และเป็นสาเหตุของปัญหาความขัดแย้งที่แต่ละฝ่ายให้การยอมรับนั่นเอง (รายงานสถาบันพระปกเกล้า, 2555: 17)

อย่างไรก็ตาม ในโลกสมัยใหม่ที่มีความซับซ้อนสูง ประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือคงไม่อาจแทนที่ประชาธิปไตยแบบตัวแทนได้ เป็นแต่เพียงกระบวนการเสริมเพื่อลดจุดอ่อนของประชาธิปไตยแบบตัวแทนและตัดสินด้วยเสียงข้างมาก กระบวนการปรึกษาหารือในระบอบประชาธิปไตยจากการพูดคุย และถกเถียงกัน จะนำไปสู่การสร้างสัญญาประชาคมใหม่ทั้งต่อพลเมืองด้วยกัน และระหว่างพลเมืองกับผู้ที่เข้ามาเป็นรัฐบาล ซึ่งเป็นข้อตกลงระหว่างกันที่จะทำให้พลเมืองของรัฐนั้นสามารถร่วมกันจรรโลงสังคม และสร้างกฎระเบียบใหม่ที่เป็นธรรมในสังคมได้อย่างที่พวกเขาต้องการได้อย่างยั่งยืน

อ้างอิง

  1. Kurian, George Thomas (2011). The encyclopedia of political science. Washington: CQ Press.
  2. Habermas, Jürgen (1975). The legitimation crisis. Boston: Beacon Press.
  3. ไชยันต์ ไชยพร (2549). แนวคิด “Deliberative Democracy and Deliberative Polls” (1). เข้าถึงวันที่ 30 กันยายน 2555 ใน http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2006q4/2006november20p7.htm 2013-01-13 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.
  4. สถาบันพระปกเกล้า (2555). รายงานวิจัยการสร้างความปรองดองแห่งชาติ. เข้าถึงวันที่ 30 กันยายน 2555 ใน http://www.kpi.ac.th/kpith/images/stories/2012/reconciliation/ส่วนหน้า.pdf[ลิงก์เสีย].

ประชาธ, ปไตยแบบปร, กษาหาร, deliberative, democracy, เป, นร, ปแบบหน, งของระบอบประชาธ, ปไตย, โดยม, ยหมายถ, งกระบวนการทางประชาธ, ปไตยท, ความเช, อม, นในพล, งอำนาจจากการให, ประชาชนได, วนร, วมในการต, ดส, นใจทางการเม, องมากย, งข, โดยการปร, กษาหาร, วมถกแถลงอภ, ปรายข, . prachathipityaebbpruksaharux Deliberative Democracy epnrupaebbhnungkhxngrabxbprachathipity odyminyhmaythungkrabwnkarthangprachathipitythimikhwamechuxmninphlngxanaccakkarihprachachnidmiswnrwminkartdsinicthangkaremuxngmakyingkhun odykarpruksaharux rwmthkaethlngxphipraykhxpyhatang xyangepnrabb ephuxonmnawphlemuxngkhnxun aelaklumkhnthimiphlpraoychnaelakhwamehnaetktangkndwykhxmulaelaehtuphl xncanaipsukaraeswnghathangxxkthiehnphxngtxngkn hrux chnthamti inkaraekikhpyhasatharna tlxdcnkartdsinicthangkaremuxngtang Kurian 2011 385 1 xrrthathibay aekikhinrabxbprachathipityaebbtwaethnsungepnhnunginbrrdakarpkkhrxngsmyihmthiichknxyuthwthukmumolkinpccubn thaihkrabwnkareluxktng aelakartdsinicodyesiyngkhangmakidklayepnsingthicaepn aelasakhyprakaraerk khxngkarpkkhrxnginrabxbprachathipitysmyihm aetkrabwnkareluxktngkxacimichpccythiephiyngphxesiyaelwinkarsrangkhunkhaihaekprachathipityaebbtwaethn ephraakhunphaphkhxngprachathipitysmyihmnnxyuthikarekharphthngkartdsinickhxngesiyngkhangmak inkhnaediywknkcatxngtharngiwsungsiththiesriphaphkhxngesiyngkhangnxy dwyehtuni aenwkhidprachathipityaebbpruksaharuxcungekhamatxbocthycudxxnkhxngprachathipityesiyngkhangmak aelaphyayamchwyiherasamarthbrrlukhunkhakhxngprachathipitythngsxngmitiipidphrxm knxnung singthisakhythisudkhxngrabxbprachathipityaebbpruksaharuxnnxyuthikrabwnkar pruksaharux deliberation khxngprachachn nnephraakrabwnkarpruksaharuxnicachwythaihprachachnsamarthekhamamiswnrwmthangkaremuxngthimakipkwaaekhkarekhakhuhaephuxeluxktngethann hruxthieriykknwaprachathipityaebbsiwinathi four seconds democracy ephraainkrabwnkarpruksaharuxni prachachnthuk khncarwmknichkhxmulaelaehtuphlepnekhruxngmuxhlkinkaraesdngxxksungcudyun tlxdcnmioxkasthicaonmnawcitickhxngphlemuxngkhnxun ihkhlxytamehtuphlkhxngtnidxyangethaethiymknthngesiyngkhangmak aelaesiyngkhangnxy ephuxthisudthaycanaipsukartdsinicthangkaremuxnghnung rwmknxyangekhaic dngthihaebxrmas Habermas 1975 2 idklawthungkrabwnkarpruksaharuxinrabxbprachathipitywaimidekidkhuncakkhwamtxngkarkhxngphumixanacthixyuehnuxtwerakhunip hakaetepneruxngkhxngkarichchiwitxyurwmknxyangekhaxkekhaickhxngphlemuxngthuk khnthiekharwminkrabwnkarpruksaharuxdwyehtuniinrabxbprachathipityaebbpruksaharux krabwnkarpruksaharuxkhxngprachachn thukfaycungidthuknamawangiwkxnhnathicamikartdsinicsakhyinthangkaremuxngid echn kxnhnathicamikarxxkkdhmayodyrthspha hruxkxnkarphiphaksatdsinkhdikhwamkhxngsal hruxaemaetkxnkarxxknoybaysatharnaid khxngrthbalthimacakkareluxktngodyesiyngkhangmak nnkephraainbangkhrngesiyngkhangmakthieluxktngrthbalekhaipxacimehnphxngtxngknkbrthbal hrux phuthisnbsnunnoybaysatharnahnung khxngrthbalesmxipinthuk krni dngnnkrabwnkarpruksaharuxkhxngprachachncachwythaihkarxxkkdhmay khatdsinphiphaksakhdikhxngsal inkrniichrabblukkhun hrux karxxknoybaysatharnaid nnepniptamkhwamehnphxngtxngkncakprachachnthukfaykhxngsngkhm aelacachwyxudchxngwangkhxngprachathipityaebbtwaethnthiprachachnmioxkasaesdngectcanngxisra hrux xttantikhxngtnephiyngkhrngediywkhuxtxnekhakhuhaephuxipeluxktngphuaethn odythiimmioxkasidaesdngkhwamkhidehn hrux thimathiipkhxngnoybaynn rwmkbphlemuxngkhnxun phayinrthely ichynt 2549 krabwnkarpruksaharuxkhxngprachachnnnxackrathaidinhlaywithi echn karcdihmiewthieswnaaebbepid open forum hrux prachaeswnahathangxxk deliberation ephuxepidkwangihsatharnchnidmioxkasekharwmaelkepliynkhwamkhidehnrwmknkbxngkhkrtang thngphakhrth aelaphakhexkchninpraednsakhythangkaremuxngtang hrux karichophlleswna deliberative polling DP inkarbngbxkwaxairkhuxsingthisatharnchnthnghmdkhidekiywkbpraedntang thiekiywkhxngkbnoybaysatharna hrux ekiywkbphusmkhrrbeluxktng sungekidkhunphayitenguxnikhthiwasatharnchnidmioxkaskhbkhidknxyangkwangkhwang extensive reflection aelaidmihnthangekhathungkhxmulkhawsarxyangthwthungesmxkn epntn ichynt 2549 3 twxyangkarnaipichinpraethsithy aekikhnbtngaetekidkarrthpraharinpi ph s 2549 epntnma praethsithyidephchiykbchwngewlathiekidpyhacakwikvtikarn aelakhwamkhdaeyngthangkaremuxngxyangrunaerngchnidthisrangrxyrawkhnadihyihaeksngkhmithydwykaraebngaeykphukhnxxkepnfkepnfaythikhxyekhahahn aelaprahtthpraharkninthangkaremuxngxyutlxdewlaxyangthiimekhypraktkhunmakxn dngsathxnihehnphanehtukarnkarichkhwamrunaerngnbtngaetehtukarn 7 tulakhm ph s 2551 aela wikvtikarnineduxnemsayn phvsphakhmkhxngpi ph s 2552 aela ph s 2553 sungthaihekidkhwamsuyesiythngchiwit aelacitickhxngphukhnchawithyxyangrayaerngdwyehtuniinchwngpi ph s 2554 2555 cungidekidkraaeseriykrxngihsrang khwamprxngdxngaehngchati dwykarcdtngkhnakrrmkarxisratrwcsxbaelakhnhakhwamcringephuxkhwamprxngdxngaehngchati hrux khxp tlxdcnkaresnxaephnprxngdxngchbbtang cakhlay fayxxksusatharnchnodyhwngwaxacepnhnunginhnthangthicasamarthchwyprasankhwamkhdaeyngtang insngkhmithyihkhlikhlaylngipidbanginsphaphkarnkhxngkraaeseriykrxngihmikarprxngdxngaehngchatiekidkhundngklawniexng thiduehmuxnkrabwnkarpruksaharux idekhamamibthbathsakhyinthangkaremuxngithyephimkhun imwacaepnkarcdihmi sunthriyeswna dialogue tamrayngankarwicyekiywkberuxngkarprxngdxngkhxngkhnakrrmathikarwisamyphicarnasuksaaenwthangkarsrangkhwamprxngdxngaehngchati sphaphuaethnrasdr odykhnawicycaksthabnphrapkekla sungmungennihprachachnidmiswnrwminkaraelkepliynkhwamkhidehnephuxihekidkhwamekhaic aelaehnxkehnicsungknaelakn thngphayinklum aelarahwangklumphumiswnidswnesiytang insngkhm ephuxprbkhwamsmphnththikhdaeyngrahwangkn xncanaipsukarrwmknhathangxxkhruxaenwthanginkarprbokhrngsrangthangkaremuxng aelasngkhmtang thiekiywkhxng aelaepnsaehtukhxngpyhakhwamkhdaeyngthiaetlafayihkaryxmrbnnexng rayngansthabnphrapkekla 2555 17 4 xyangirktam inolksmyihmthimikhwamsbsxnsung prachathipityaebbpruksaharuxkhngimxacaethnthiprachathipityaebbtwaethnid epnaetephiyngkrabwnkaresrimephuxldcudxxnkhxngprachathipityaebbtwaethnaelatdsindwyesiyngkhangmak krabwnkarpruksaharuxinrabxbprachathipitycakkarphudkhuy aelathkethiyngkn canaipsukarsrangsyyaprachakhmihmthngtxphlemuxngdwykn aelarahwangphlemuxngkbphuthiekhamaepnrthbal sungepnkhxtklngrahwangknthicathaihphlemuxngkhxngrthnnsamarthrwmkncrrolngsngkhm aelasrangkdraebiybihmthiepnthrrminsngkhmidxyangthiphwkekhatxngkaridxyangyngyunxangxing aekikh Kurian George Thomas 2011 The encyclopedia of political science Washington CQ Press Habermas Jurgen 1975 The legitimation crisis Boston Beacon Press ichynt ichyphr 2549 aenwkhid Deliberative Democracy and Deliberative Polls 1 ekhathungwnthi 30 knyayn 2555 in http www nidambe11 net ekonomiz 2006q4 2006november20p7 htm Archived 2013 01 13 thi ewyaebkaemchchin sthabnphrapkekla 2555 raynganwicykarsrangkhwamprxngdxngaehngchati ekhathungwnthi 30 knyayn 2555 in http www kpi ac th kpith images stories 2012 reconciliation swnhna pdf lingkesiy ekhathungcak https th wikipedia org w index php title prachathipityaebbpruksaharux amp oldid 9648919, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม