fbpx
วิกิพีเดีย

ปรากฏการณ์บูบา/กิกี

ปรากฏการณ์บูบา/กิกี (อังกฤษ: bouba/kiki effect) เป็นการจับคู่เสียงพูดกับรูปร่างที่เห็นทางตาอย่างไม่บังเอิญ โวลฟ์แกง โคฮ์เรอร์ ผู้เป็นนักจิตวิทยาชาวเยอรมัน-อเมริกัน สังเกตพบปรากฏการณ์นี้เป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1929 คือ ในการทดลองทางจิตวิทยาที่เกาะเตเนรีเฟ ที่ซึ่งภาษาหลักเป็นภาษาสเปน โคฮ์เรอร์แสดงรูปร่างคล้ายกับรูปที่แสดงด้านบน แล้วถามผู้ที่เข้าร่วมการทดลองว่า รูปไหนเป็น "ตาเก็ตตี" และรูปไหนเป็น "บาลูบา" (เรียกว่า "มาลูมา" ในการทดลองปี ค.ศ. 1947) ข้อมูลของเขาแสดงแนวโน้มสำคัญในการจับคู่รูปร่างหยัก ๆ กับคำว่า "ตาเก็ตตี" และรูปร่างโค้ง ๆ กับคำว่า "บาลูบา"

คุณคิดว่ารูปซ้ายหรือรูปขวามีชื่อว่า "บูบา" และรูปไหนชื่อว่า "กิกี" รูปนี้ใช้สำหรับทดลองว่า การจับคู่เสียง ๆ หนึ่งกับรูป ๆ หนึ่ง อาจจะไม่ใช่โดยความบังเอิญ นักศึกษามหาวิทยาลัยชาวอเมริกันและผู้พูดภาษาทมิฬในประเทศอินเดีย เรียกรูปซ้ายว่า กิกี และรูปขวาว่า บูบา

ในปี ค.ศ. 2001 รามจันทรันและฮับบาร์ด ทำการทดลองของโคฮ์เรอร์ซ้ำโดยใช้คำว่า "กิกี" และ "บูบา" แล้วถามนักศึกษาชั้นปริญญาตรีชาวอเมริกันและผู้พูดภาษาทมิฬในประเทศอินเดียว่า "รูปร่างไหนเป็นบูบา และรูปร่างไหนเป็นกิกี" ในผู้รับการทดลองทั้งสองพวกตามลำดับ 95% และ 98% เลือกรูปร่างมีเส้นโค้งว่า เป็นบูบา และรูปร่างเป็นหยัก ๆ ว่า เป็นกิกี ซึ่งบอกเป็นนัยว่า สมองมนุษย์สามารถดึงคุณสมบัติทางนามธรรม (abstract properties) จากรูปร่างและเสียงได้อย่างคงเส้นคงวา งานวิจัยเร็ว ๆ นี้ของดาฟน์ มอเรอร์ และคณะ แสดงว่า แม้แต่เด็กมีอายุตั้งแต่ 2 ขวบครึ่ง ซึ่งเด็กเกินไปที่จะอ่านหนังสือได้ ก็อาจจะประสบกับปรากฏการณ์นี้ด้วย

รามจันทรันและฮับบาร์ดเสนอว่า ปรากฏการณ์กิกี/บูบาอาจจะบอกอะไรบางอย่างเกี่ยวกับวิวัฒนาการของภาษา เพราะว่า การบัญญัติชื่อวัตถุต่าง ๆ ไม่ใช่เป็นไปโดยบังเอิญตามอำเภอใจ[ต้องการหน้า] รูปโค้ง ๆ อาจจะควรเรียกว่า "บูบา" เพราะต้องทำปากเป็นรูปกลม ๆ เพื่อจะกล่าวคำนั้น และรูปหยัก ๆ อาจจะควรเรียกว่า "กิกี" เพราะต้องทำปากให้ตึงประกอบเป็นมุม เพื่อจะกล่าวคำนั้น นอกจากนั้นแล้ว เสียง "ก" แข็งกว่า ต้องกล่าวด้วยกำลังที่เหนือกว่าเสียง "บ" ปรากฏการณ์นี้ซึ่งคล้ายกับภาวะวิถีประสาทเจือกัน (synesthesia) คือการที่เสียงซึ่งมาจากทางประสาทหนึ่งคือหู แปลไปเป็นรูปร่างซึ่งเกี่ยวข้องกับอีกทางประสาทหนึ่งคือตา อย่างไม่บังเอิญ บอกเป็นนัยว่า ปรากฏการณ์นี้อาจจะเป็นมูลฐานในระบบประสาทของการใช้เสียงสื่อความ (sound symbolism) ซึ่งเสียงหนึ่ง ๆ แปลไปเป็นวัตถุและเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่มีอยู่ในโลกอย่างเฉพาะเจาะจง

งานวิจัยเร็ว ๆ นี้แสดงว่า ปรากฏการณ์นี้อาจจะเป็นกรณีหนึ่งของ ideasthesia

ผู้มีโรคออทิซึมไม่แสดงแนวโน้มในการจับคู่เสียงและรูปในระดับที่เท่ากับบุคคลปกติ แม้ว่า ประมาณ 88% ของเด็กที่ยังเจริญวัยอยู่ประสบกับปรากฏการณ์นี้ แต่ว่าผู้มีโรคออทิซึมกลับประสบเพียงแค่ 56%

เชิงอรรถและอ้างอิง

  1. Köhler, W (1929). Gestalt Psychology. New York: Liveright.
  2. Köhler, W (1947). Gestalt Psychology, 2nd Ed. New York: Liveright.
  3. Ramachandran, VS & Hubbard, EM (2001b). "Synaesthesia: A window into perception, thought and language" (PDF). Journal of Consciousness Studies. 8 (12): 3–34.CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  4. Maurer D, Pathman T & Mondloch CJ (2006). "The shape of boubas: Sound-shape correspondences in toddlers and adults" (PDF). Developmental Science. 9 (3): 316–322. doi:10.1111/j.1467-7687.2006.00495.x. PMID 16669803.
  5. ideasthesia (การรับรู้ความคิด) มีนิยามว่า เป็นปรากฏการณ์ที่การเกิดความคิดซึ่งเรียกว่า inducer ก่อให้เกิดประสบการณ์เหมือนกับการรับรู้ความรู้สึกทางตาเป็นต้น (ซึ่งเรียกว่า concurrents) คือ การคิดถึงเหตุการณ์หนึ่งทำให้เกิดประสบการณ์ทางสมองที่คล้ายกับบเหตุการณ์นั้นกำลังเกิดขึ้นอยู่จริง ๆ คำว่า ideasthesia มาจากคำในภาษากรีกคือ "idea" + "aisthesis" แปลว่า การรับรู้ความคิด หรือการรับรู้ไอเดีย
  6. Gómez Milán, E., Iborra, O., de Córdoba, M.J., Juárez-Ramos V., Rodríguez Artacho, M.A., Rubio, J.L. (2013) The Kiki-Bouba effect: A case of personification and ideaesthesia. The Journal of Consciousness Studies. 20(1-2) : pp. 84-102.
  7. Oberman LM & Ramachandran VS. (2008). "Preliminary evidence for deficits in multisensory integration in autism spectrum disorders: the mirror neuron hypothesis". Social Neuroscience. 3 (3–4): 348–55. doi:10.1080/17470910701563681. PMID 18979385.

ปรากฏการณ, บา, งกฤษ, bouba, kiki, effect, เป, นการจ, บค, เส, ยงพ, ดก, บร, ปร, างท, เห, นทางตาอย, างไม, งเอ, โวลฟ, แกง, โคฮ, เรอร, เป, นน, กจ, ตว, ทยาชาวเยอรม, อเมร, งเกตพบปรากฏการณ, เป, นคร, งแรกในป, 1929, ในการทดลองทางจ, ตว, ทยาท, เกาะเตเนร, เฟ, งภาษาหล, กเป,. praktkarnbuba kiki xngkvs bouba kiki effect epnkarcbkhuesiyngphudkbruprangthiehnthangtaxyangimbngexiy owlfaekng okhherxr phuepnnkcitwithyachaweyxrmn xemrikn sngektphbpraktkarnniepnkhrngaerkinpi kh s 1929 1 khux inkarthdlxngthangcitwithyathiekaaetenrief thisungphasahlkepnphasasepn okhherxraesdngruprangkhlaykbrupthiaesdngdanbn aelwthamphuthiekharwmkarthdlxngwa rupihnepn taektti aelarupihnepn baluba eriykwa maluma inkarthdlxngpi kh s 1947 khxmulkhxngekhaaesdngaenwonmsakhyinkarcbkhurupranghyk kbkhawa taektti aelaruprangokhng kbkhawa baluba 2 khunkhidwarupsayhruxrupkhwamichuxwa buba aelarupihnchuxwa kiki rupniichsahrbthdlxngwa karcbkhuesiyng hnungkbrup hnung xaccaimichodykhwambngexiy nksuksamhawithyalychawxemriknaelaphuphudphasathmilinpraethsxinediy eriykrupsaywa kiki aelarupkhwawa buba inpi kh s 2001 ramcnthrnaelahbbard thakarthdlxngkhxngokhherxrsaodyichkhawa kiki aela buba aelwthamnksuksachnpriyyatrichawxemriknaelaphuphudphasathmilinpraethsxinediywa ruprangihnepnbuba aelaruprangihnepnkiki inphurbkarthdlxngthngsxngphwktamladb 95 aela 98 eluxkruprangmiesnokhngwa epnbuba aelaruprangepnhyk wa epnkiki sungbxkepnnywa smxngmnusysamarthdungkhunsmbtithangnamthrrm abstract properties cakruprangaelaesiyngidxyangkhngesnkhngwa 3 nganwicyerw nikhxngdafn mxerxr aelakhna aesdngwa aemaetedkmixayutngaet 2 khwbkhrung sungedkekinipthicaxanhnngsuxid kxaccaprasbkbpraktkarnnidwy 4 ramcnthrnaelahbbardesnxwa praktkarnkiki bubaxaccabxkxairbangxyangekiywkbwiwthnakarkhxngphasa ephraawa karbyytichuxwtthutang imichepnipodybngexiytamxaephxic 3 txngkarhna rupokhng xaccakhwreriykwa buba ephraatxngthapakepnrupklm ephuxcaklawkhann aelaruphyk xaccakhwreriykwa kiki ephraatxngthapakihtungprakxbepnmum ephuxcaklawkhann nxkcaknnaelw esiyng k aekhngkwa txngklawdwykalngthiehnuxkwaesiyng b praktkarnnisungkhlaykbphawawithiprasathecuxkn synesthesia khuxkarthiesiyngsungmacakthangprasathhnungkhuxhu aeplipepnruprangsungekiywkhxngkbxikthangprasathhnungkhuxta xyangimbngexiy bxkepnnywa praktkarnnixaccaepnmulthaninrabbprasathkhxngkarichesiyngsuxkhwam sound symbolism sungesiynghnung aeplipepnwtthuaelaehtukarntang thimixyuinolkxyangechphaaecaacngnganwicyerw niaesdngwa praktkarnnixaccaepnkrnihnungkhxng ideasthesia 5 6 phumiorkhxxthisumimaesdngaenwonminkarcbkhuesiyngaelarupinradbthiethakbbukhkhlpkti aemwa praman 88 khxngedkthiyngecriywyxyuprasbkbpraktkarnni aetwaphumiorkhxxthisumklbprasbephiyngaekh 56 7 echingxrrthaelaxangxing aekikh Kohler W 1929 Gestalt Psychology New York Liveright Kohler W 1947 Gestalt Psychology 2nd Ed New York Liveright 3 0 3 1 Ramachandran VS amp Hubbard EM 2001b Synaesthesia A window into perception thought and language PDF Journal of Consciousness Studies 8 12 3 34 CS1 maint multiple names authors list link Maurer D Pathman T amp Mondloch CJ 2006 The shape of boubas Sound shape correspondences in toddlers and adults PDF Developmental Science 9 3 316 322 doi 10 1111 j 1467 7687 2006 00495 x PMID 16669803 ideasthesia karrbrukhwamkhid miniyamwa epnpraktkarnthikarekidkhwamkhidsungeriykwa inducer kxihekidprasbkarnehmuxnkbkarrbrukhwamrusukthangtaepntn sungeriykwa concurrents khux karkhidthungehtukarnhnungthaihekidprasbkarnthangsmxngthikhlaykbbehtukarnnnkalngekidkhunxyucring khawa ideasthesia macakkhainphasakrikkhux idea aisthesis aeplwa karrbrukhwamkhid hruxkarrbruixediy Gomez Milan E Iborra O de Cordoba M J Juarez Ramos V Rodriguez Artacho M A Rubio J L 2013 The Kiki Bouba effect A case of personification and ideaesthesia The Journal of Consciousness Studies 20 1 2 pp 84 102 Oberman LM amp Ramachandran VS 2008 Preliminary evidence for deficits in multisensory integration in autism spectrum disorders the mirror neuron hypothesis Social Neuroscience 3 3 4 348 55 doi 10 1080 17470910701563681 PMID 18979385 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title praktkarnbuba kiki amp oldid 8033946, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม