fbpx
วิกิพีเดีย

กลุ่มภาษาคอเคซัสตะวันตกเฉียงเหนือ

กลุ่มภาษาคอเคซัสตะวันตกเฉียงเหนือ (Northwest Caucasian languages) หรือกลุ่มภาษาปอนดิก หรืออับคาซ-อะดืยเก เป็นกลุ่มของภาษาที่ใช้พูดในเทือกเขาคอเคซัสโดยเฉพาะในรัสเซีย จอร์เจีย และตุรกี และมีผู้พูดภาษาเหล่านี้กลุ่มเล็กๆในตะวันออกกลาง

ลักษณะสำคัญ

กลุ่มภาษานี้ทั้งหมดมีเสียงสระน้อย ( 2 หรือ 3 เสียง) แต่มีเสียงพยัญชนะมาก ตัวอย่างเช่น ภาษาอูบึกมีสระเพียง 2 เสียง แต่ถือเป็นภาษาที่มีเสียงพยัญชนะมากที่สุดสำหรับภาษาที่อยู่นอกเขตแอฟริกาตอนใต้ ซึ่งนักภาษาศาสตร์สันนิษฐานว่าการเกิดเสียงพยัญชนะจำนวนมากเกิดจากการรวมกันของเสียงพยัญชนะที่อยู่ใกล้เคียงกันหรือกับเสียงพยัญชนะที่กลายมาจากเสียงกึ่งสระและควบรวมกันกลายเป็นพยัญชนะใหม่ และอาจเกิดจากระบบอุปสรรคในไวยากรณ์สมัยโบราณ ที่เสียงพยัญชนะที่เป็นอุปสรรคควบรวมกับพยัญชนะอีกตัวกลายเป็นเสียงพยัญชนะใหม่ เช่นกัน

ไวยากรณ์

ภาษาในกลุ่มภาษาคอเคซัสตะวันตกเฉียงเหนือมีระบบนามแบบการกที่เรียบง่าย แต่มีระบบของคำกริยาที่ซับซ้อนจนดูเหมือนว่าโครงสร้างของประโยคทั้งหมดรวมอยู่ภายในคำกริยา

การจัดจำแนก

ภาษาในกลุ่มนี้มี 5 ภาษาคือ ภาษาอับฮาเซีย ภาษาอบาซา ภาษากาบาร์เดียหรือภาษาเซอร์คาเซียตะวันออก ภาษาอะดืยเกหรือเซอร์คาเซียตะวันตก และภาษาอูบึกซึ่งตายแล้ว

  • ภาษาอะดืยเก เป็นภาษาที่มีจำนวนผู้พูดมากภาษาหนึ่งในกลุ่มนี้ มี 500,000 คน ในรัสเซียและตะวันออกกลาง แบ่งเป็นในตุรกี 180,000 คน ในรัสเซีย 125,000 คน และเป็นภาษาราชการในสาธารณรัฐอะดืยเกีย ในจอร์แดน 45,000 คน ในซีเรีย 25,000 คน และในอิรัก 20,000 คน มีผู้พูดจำนวนเล็กน้อยในสหรัฐ
  • ภาษากาบาร์เดีย มีผู้พูดทั้งหมดราว 1 ล้านคน แบ่งเป็นในตุรกี 550,000 คน และในรัสเซีย 450,000 คน และเป็นภาษาราชการในสาธารณรัฐกาบาร์ดิโน-บัลกาเรีย และสาธารณรัฐการาเชย์-เซอร์กัสเซีย มีเสียงพยัญชนะน้อยที่สุดในกลุ่มนี้คือมีเพียง 48 เสียง
  • ภาษาอับฮาเซีย มีผู้พูดราว 100,000 คนในอับคาเซีย ซึ่งเป็นเขตปกครองตนเองในจอร์เจียและเป็นภาษาราชการด้วย จำนวนผู้พูดในตุรกีไม่แน่นอน ภาษานี้เริ่มใช้เป็นภาษาเขียนเมื่อพุทธศตวรรษที่ 25 บางครั้งจัดให้เป็นภาษาเดียวกับภาษาอบาซา โดยแยกเป็นคนละสำเนียงเพราะมีความใกล้เคียงกันมาก
  • ภาษาอบาซา มีผู้พูดทั้งหมด 45,000 คน แบ่งเป็นในรัสเซีย 35,000 คน และในตุรกี 10,000 คน มีการใช้เป็นภาษาเขียนแต่ไม่มีสถานะเป็นภาษาราชการ
  • ภาษาอูบึก เป็นภาษาที่ใกล้เคยงกับภาษาอับคาซและภาษาอบาซามากกว่าอีก 2 ภาษาของกลุ่มนี้ ผู้พูดภาษานี้เปลี่ยนไปพูดภาษาอะดืยเก ภาษาอูบึกเป็นภาษาตายอย่างแท้จริงเมื่อ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2535 เมื่อ ผู้พูดภาษานี้คนสุดท้ายคือ เตฟฟิก เอเซนต์ เสียชีวิตลง จัดเป็นภาษาที่มีเสียงพยัญชนะมากที่สุดในโลกเพราะมีถึง 81 เสียง ไม่มีการใช้เป็นภาษาเขียน

ความสัมพันธ์กับภาษาอื่น

ความเชื่อมโยงกับภาษาฮัตติก

ในอดีตจนถึง 1,257 ปีก่อนพุทธศักราช บริเวณอนาโตเลียรอบๆฮัตตูซา ซึ่งต่อมาถูกยึดครองโดยชาวฮิตไตต์ เคยเป็นดินแดนของชาวฮัตเตียนมาก่อน ซึ่งพูดภาษาที่ไม่ใช่ตระกูลภาษาอินโด-ยุโรเปียน และไม่เกี่ยวข้องกับภาษาฮิตไตต์ ภาษาฮัตติกที่เป็นภาษาโดดเดี่ยวนี้อาจจะมีความเกี่ยวข้องกับกลุ่มภาษานี้ได้

ความเชื่อมโยงกับตระกูลภาษาอินโด-ยุโรเปียน

กลุ่มภาษาคอเคซัสตะวันตกเฉียงเหนืออาจเคยมีความเกี่ยวข้องกับตระกูลภาษาอินโด-ยุโรเปียนมาก่อนเมื่อ 12,000 ปีก่อนหน้านี้ โดยมีภาษษปอนดิกดั้งเดิมเป็นภาษาในยุคเริ่มแรกแต่แนวคิดนี้ไม่ได้รับการยอมรับเท่าใดนัก

ความเชื่อมโยงกับกลุ่มภาษาคอเคซัสเหนือ

นักภาษาศาสตร์ส่วนใหญ่รวมกลุ่มภาษาคอเคซัสตะวันตกเฉียงเหนือเข้ากับกลุ่มภาษาคอเคซัสตะวันออกเฉียงเหนือเป็นกลุ่มภาษาคอเคซัสเหนือแต่ความเชื่อมโยงของภาษาสองกลุ่มนี้มีไม่มากนัก

ความเชื่อมโยงระดับสูง

มีนักภาษาศาสตร์บางคนพยายามเชื่อมโยงในระดับที่สูงกว่านี้ เช่นเชื่อมโยงเข้ากับภาษาเดเน-คอเคเซียน ภาษาบาสก์ ภาษาบูรูศัสกี ภาษาเยนิสเซียน ตระกูลภาษาจีน-ทิเบต เป็นต้น นอกจากนั้นยังมีความพยายามเชื่อมโยงกับตระกูลภาษาอินโด-ยุโรเปียน ตระกูลภาษายูราลิก ตระกูลภาษาอัลไตอิก ตระกูลภาษาคาร์ทเวเลียน แต่ยังไม่มีข้อสรุปแน่ชัด

อ้างอิง

  1. Colarusso, John (2003). "Further Etymologies between Indo-European and Northwest Caucasian". Current Trends in Caucasian, East European and Inner Asian Linguistics, Papers in Honor of Howard Aronson. Amsterdam: Dee Ann Holisky and Kevin Tuite. pp. 41–60.
  2. Colarusso, John (1997), "Phyletic Links between Proto-Indo-European and Proto-Northwest Caucasian", The Journal of Indo-European Studies, 25 (1–2): 119–151

แหล่งข้อมูลอื่น

  • CIA linguistic map of the Caucasus
  • Atlas of the Caucasian Languages with detailed Language Guide (by Yuri B. Koryakov) 2007-09-17 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  • A Comparative Dictionary of North Caucasian Languages: Preface by Sergei Starostin & Sergein Nikolayev
  • North Caucasian Etymological Dictionary, by S. A. Starostin & S. Nikolayev

กล, มภาษาคอเคซ, สตะว, นตกเฉ, ยงเหน, northwest, caucasian, languages, หร, อกล, มภาษาปอนด, หร, ออ, บคาซ, อะด, ยเก, เป, นกล, มของภาษาท, ใช, ดในเท, อกเขาคอเคซ, สโดยเฉพาะในร, สเซ, จอร, เจ, และต, รก, และม, ดภาษาเหล, าน, กล, มเล, กๆในตะว, นออกกลาง, เน, อหา, กษณะสำค, . klumphasakhxekhsstawntkechiyngehnux Northwest Caucasian languages hruxklumphasapxndik hruxxbkhas xaduyek epnklumkhxngphasathiichphudinethuxkekhakhxekhssodyechphaainrsesiy cxreciy aelaturki aelamiphuphudphasaehlaniklumelkintawnxxkklang enuxha 1 lksnasakhy 2 iwyakrn 3 karcdcaaenk 4 khwamsmphnthkbphasaxun 4 1 khwamechuxmoyngkbphasahttik 4 2 khwamechuxmoyngkbtrakulphasaxinod yuorepiyn 4 3 khwamechuxmoyngkbklumphasakhxekhssehnux 4 4 khwamechuxmoyngradbsung 5 xangxing 6 aehlngkhxmulxunlksnasakhy aekikhklumphasanithnghmdmiesiyngsranxy 2 hrux 3 esiyng aetmiesiyngphyychnamak twxyangechn phasaxubukmisraephiyng 2 esiyng aetthuxepnphasathimiesiyngphyychnamakthisudsahrbphasathixyunxkekhtaexfrikatxnit sungnkphasasastrsnnisthanwakarekidesiyngphyychnacanwnmakekidcakkarrwmknkhxngesiyngphyychnathixyuiklekhiyngknhruxkbesiyngphyychnathiklaymacakesiyngkungsraaelakhwbrwmknklayepnphyychnaihm aelaxacekidcakrabbxupsrrkhiniwyakrnsmyobran thiesiyngphyychnathiepnxupsrrkhkhwbrwmkbphyychnaxiktwklayepnesiyngphyychnaihm echnkniwyakrn aekikhphasainklumphasakhxekhsstawntkechiyngehnuxmirabbnamaebbkarkthieriybngay aetmirabbkhxngkhakriyathisbsxncnduehmuxnwaokhrngsrangkhxngpraoykhthnghmdrwmxyuphayinkhakriyakarcdcaaenk aekikhphasainklumnimi 5 phasakhux phasaxbhaesiy phasaxbasa phasakabarediyhruxphasaesxrkhaesiytawnxxk phasaxaduyekhruxesxrkhaesiytawntk aelaphasaxubuksungtayaelw phasaxaduyek epnphasathimicanwnphuphudmakphasahnunginklumni mi 500 000 khn inrsesiyaelatawnxxkklang aebngepninturki 180 000 khn inrsesiy 125 000 khn aelaepnphasarachkarinsatharnrthxaduyekiy incxraedn 45 000 khn insieriy 25 000 khn aelainxirk 20 000 khn miphuphudcanwnelknxyinshrth phasakabarediy miphuphudthnghmdraw 1 lankhn aebngepninturki 550 000 khn aelainrsesiy 450 000 khn aelaepnphasarachkarinsatharnrthkabardion blkaeriy aelasatharnrthkaraechy esxrksesiy miesiyngphyychnanxythisudinklumnikhuxmiephiyng 48 esiyng phasaxbhaesiy miphuphudraw 100 000 khninxbkhaesiy sungepnekhtpkkhrxngtnexngincxreciyaelaepnphasarachkardwy canwnphuphudinturkiimaennxn phasanierimichepnphasaekhiynemuxphuththstwrrsthi 25 bangkhrngcdihepnphasaediywkbphasaxbasa odyaeykepnkhnlasaeniyngephraamikhwamiklekhiyngknmak phasaxbasa miphuphudthnghmd 45 000 khn aebngepninrsesiy 35 000 khn aelainturki 10 000 khn mikarichepnphasaekhiynaetimmisthanaepnphasarachkar phasaxubuk epnphasathiiklekhyngkbphasaxbkhasaelaphasaxbasamakkwaxik 2 phasakhxngklumni phuphudphasaniepliynipphudphasaxaduyek phasaxubukepnphasatayxyangaethcringemux 7 tulakhm ph s 2535 emux phuphudphasanikhnsudthaykhux etffik exesnt esiychiwitlng cdepnphasathimiesiyngphyychnamakthisudinolkephraamithung 81 esiyng immikarichepnphasaekhiynkhwamsmphnthkbphasaxun aekikhkhwamechuxmoyngkbphasahttik aekikh inxditcnthung 1 257 pikxnphuththskrach briewnxnaoteliyrxbhttusa sungtxmathukyudkhrxngodychawhititt ekhyepndinaednkhxngchawhtetiynmakxn sungphudphasathiimichtrakulphasaxinod yuorepiyn aelaimekiywkhxngkbphasahititt phasahttikthiepnphasaoddediywnixaccamikhwamekiywkhxngkbklumphasaniid khwamechuxmoyngkbtrakulphasaxinod yuorepiyn aekikh klumphasakhxekhsstawntkechiyngehnuxxacekhymikhwamekiywkhxngkbtrakulphasaxinod yuorepiynmakxnemux 12 000 pikxnhnani odymiphasspxndikdngedimepnphasainyukherimaerkaetaenwkhidniimidrbkaryxmrbethaidnk 1 2 khwamechuxmoyngkbklumphasakhxekhssehnux aekikh nkphasasastrswnihyrwmklumphasakhxekhsstawntkechiyngehnuxekhakbklumphasakhxekhsstawnxxkechiyngehnuxepnklumphasakhxekhssehnuxaetkhwamechuxmoyngkhxngphasasxngklumnimiimmaknk khwamechuxmoyngradbsung aekikh minkphasasastrbangkhnphyayamechuxmoynginradbthisungkwani echnechuxmoyngekhakbphasaeden khxekhesiyn phasabask phasaburusski phasaeynisesiyn trakulphasacin thiebt epntn nxkcaknnyngmikhwamphyayamechuxmoyngkbtrakulphasaxinod yuorepiyn trakulphasayuralik trakulphasaxlitxik trakulphasakhartheweliyn aetyngimmikhxsrupaenchdxangxing aekikh Colarusso John 2003 Further Etymologies between Indo European and Northwest Caucasian Current Trends in Caucasian East European and Inner Asian Linguistics Papers in Honor of Howard Aronson Amsterdam Dee Ann Holisky and Kevin Tuite pp 41 60 Colarusso John 1997 Phyletic Links between Proto Indo European and Proto Northwest Caucasian The Journal of Indo European Studies 25 1 2 119 151aehlngkhxmulxun aekikhCIA linguistic map of the Caucasus Atlas of the Caucasian Languages with detailed Language Guide by Yuri B Koryakov Archived 2007 09 17 thi ewyaebkaemchchin A Comparative Dictionary of North Caucasian Languages Preface by Sergei Starostin amp Sergein Nikolayev North Caucasian Etymological Dictionary by S A Starostin amp S Nikolayevekhathungcak https th wikipedia org w index php title klumphasakhxekhsstawntkechiyngehnux amp oldid 9557999, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม