fbpx
วิกิพีเดีย

ภาษาคำโดด

ภาษาคำโดด (อังกฤษ: isolating language) คือ ประเภทของภาษาที่มีอัตราส่วนของหน่วยคำหรือคำมูล (morpheme) ต่อคำน้อย และไม่มีการลงวิภัตติปัจจัย (การผันคำ) เลย คำส่วนใหญ่ในภาษาประเภทนี้อาจประกอบด้วยหน่วยคำเพียงหน่วยเดียว ภาษาคำโดดเป็นภาษาที่เมื่อนำคำตั้งหรือคำมูลมาเรียงลำดับกันเข้าเป็นประโยค จะคงรูปคำเหมือนเดิมไม่เปลี่ยนแปลง มีรูปอย่างไรก็คงรูปอย่างนั้น แยกโดด ๆ เป็นคำ ๆ ออกไป เมื่อสลับตำแหน่งของคำในประโยคความหมายก็จะเปลี่ยนไป เช่น "งูกินไก่" มีควาหมายอีกอย่างหนึ่ง ถ้าสลับคำในประโยคเป็น "ไก่กินงู" ก็ได้ ความหมายอีกอย่างหนึ่ง ภาษาคำโดดนี้บางภาษาเป็นคำพยางค์เดียว (monosyllabic language) บางภาษามี วิวัฒนาการทางภาษากลายเป็นคำหลายพยางค์ แต่ก็แตกต่างจากการสร้างคำแบบภาษามีวิวัตติปัจจัย คือ ไม่มีการลงอุปสรรค + อาคม และปัจจัย เป็นต้น ภาษายอรูบา (Yoruba) เป็นภาษาคำโดดที่มีผู้พูดมากที่สุดในปัจจุบัน

ภาษาคำโดดมีลักษณะที่ใกล้เคียงกับภาษาแยกหน่วยคำ (analytic language) ซึ่งมีการผันคำเพื่อกำหนดความสัมพันธ์ทางไวยากรณ์อยู่น้อยมาก หรือไม่มีเลย ภาษาคำโดดจึงอาจเป็นภาษาแยกหน่วยคำด้วยก็ได้ และมีภาษาคำโดดหลายภาษาที่อาศัยเทคนิคของภาษาแยกหน่วยคำในการสร้างคำใหม่ เช่น ภาษาอังกฤษ และภาษาจีน อย่างไรก็ดีภาษาคำควบอย่างเช่นภาษาอังกฤษและภาษาจีนก็อาจจะมีคำที่มีหลายหน่วยคำอยู่ได้เหมือนกัน ทั้งนี้เพราะการลดรูปของหน่วยคำบางคำ (derivational morphemes)

ภาษาคำโดดมีความสัมพันธ์ตรงกันข้ามกับภาษาคำควบ (synthetic language) ซึ่งคำแต่ละคำมักประกอบด้วย หน่วยคำหลายหน่วย ในทางภาษาศาสตร์ยังสมารถแบ่งย่อยต่อไปอีกเป็นภาษารูปคำติดต่อ (agglutinative) และภาษาคำควบหลายพยางค์ (polysynthetic) ได้อีก

อ้างอิง

  1. Whaley, Lindsay J. (1997). "Chapter 7: Morphemes". Introduction to Typology: The Unity and Diversity of Language. SAGE Publications, Inc.

ภาษาคำโดด, งกฤษ, isolating, language, ประเภทของภาษาท, ตราส, วนของหน, วยคำหร, อคำม, morpheme, อคำน, อย, และไม, การลงว, ตต, จจ, การผ, นคำ, เลย, คำส, วนใหญ, ในภาษาประเภทน, อาจประกอบด, วยหน, วยคำเพ, ยงหน, วยเด, ยว, เป, นภาษาท, เม, อนำคำต, งหร, อคำม, ลมาเร, ยงลำด, . phasakhaodd xngkvs isolating language khux praephthkhxngphasathimixtraswnkhxnghnwykhahruxkhamul morpheme txkhanxy aelaimmikarlngwiphttipccy karphnkha ely khaswnihyinphasapraephthnixacprakxbdwyhnwykhaephiynghnwyediyw phasakhaoddepnphasathiemuxnakhatnghruxkhamulmaeriyngladbknekhaepnpraoykh cakhngrupkhaehmuxnedimimepliynaeplng mirupxyangirkkhngrupxyangnn aeykodd epnkha xxkip emuxslbtaaehnngkhxngkhainpraoykhkhwamhmaykcaepliynip echn ngukinik mikhwahmayxikxyanghnung thaslbkhainpraoykhepn ikkinngu kid khwamhmayxikxyanghnung phasakhaoddnibangphasaepnkhaphyangkhediyw monosyllabic language bangphasami wiwthnakarthangphasaklayepnkhahlayphyangkh aetkaetktangcakkarsrangkhaaebbphasamiwiwttipccy khux immikarlngxupsrrkh xakhm aelapccy epntn phasayxruba Yoruba epnphasakhaoddthimiphuphudmakthisudinpccubnphasakhaoddmilksnathiiklekhiyngkbphasaaeykhnwykha analytic language sungmikarphnkhaephuxkahndkhwamsmphnththangiwyakrnxyunxymak hruximmiely phasakhaoddcungxacepnphasaaeykhnwykhadwykid aelamiphasakhaoddhlayphasathixasyethkhnikhkhxngphasaaeykhnwykhainkarsrangkhaihm echn phasaxngkvs aelaphasacin xyangirkdiphasakhakhwbxyangechnphasaxngkvsaelaphasacinkxaccamikhathimihlayhnwykhaxyuidehmuxnkn thngniephraakarldrupkhxnghnwykhabangkha derivational morphemes phasakhaoddmikhwamsmphnthtrngknkhamkbphasakhakhwb synthetic language sungkhaaetlakhamkprakxbdwy hnwykhahlayhnwy 1 inthangphasasastryngsmarthaebngyxytxipxikepnphasarupkhatidtx agglutinative aelaphasakhakhwbhlayphyangkh polysynthetic idxikxangxing aekikh Whaley Lindsay J 1997 Chapter 7 Morphemes Introduction to Typology The Unity and Diversity of Language SAGE Publications Inc ekhathungcak https th wikipedia org w index php title phasakhaodd amp oldid 9497367, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม