fbpx
วิกิพีเดีย

ภาษาอโมไรต์

ภาษาอโมไรต์ เป็นภาษาตระกูลเซมิติกที่พูดโดยเผ่าอโมไรต์ในประวัติศาสตร์ยุคต้นของตะวันออกกลาง เป็นที่รู้จักจากบันทึกของชาวอัคคาเดียระหว่างช่วงที่ชาวอโมไรต์เข้าปกครองบาบิโลเนีย (2,357 – 457 ก่อนพุทธศักราช) และพบในบันทึกของชาวอียิปต์ยุคต้น ชื่อสถานที่แห่งหนึ่งคือ "Snir" (שְׂנִיר) เป็นที่รู้จักจากคัมภีร์ไบเบิล ลักษณะทั่วไปของภาษานี้ได้แก่

  • มีการแยกการกสัมบูรณ์ – ไม่สัมบูรณ์เช่นเดียวกับภาษาตระกูลเซมิติกอื่นๆ รวมทั้งปัจจัย -a สำหรับบุรุษที่ 3 (ต่างจากภาษาอัคคาเดียและภาษาฮีบรู), และสระไม่สัมบูรณ์ -a-, เช่นเดียวกับภาษาอาหรับ ต่างจาก -i-. ในภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิก
  • มีคำกริยาจากพยัญชนะสองตัวคู่ เช่น Yabanni-Il, “การสร้างของพระเจ้า” (รากศัพท์ bny).
  • มีหลายแห่งที่ภาษาอัคคาเดียใช้ š, ส่วนภาษาอโมไรต์ใช้ h เช่นเดียวกับภาษาฮีบรูและภาษาอาหรับ
  • บุรุษที่ 1 สัมบูรณ์คือ -ti (เอกพจน์), -nu (พหูพจน์), เช่นเดียวกับภาษาคานาอันไนต์

อ้างอิง

  • D. Cohen, Les langues chamito-semitiques, CNRS: Paris 1985.
  • I. Gelb, "La lingua degli amoriti", Academia Nazionale dei Lincei. Rendiconti 1958, no. 8, 13, pp. 143-163.
  • H. B. Huffmon. Amorite Personal Names in the Mari Texts. A Structural and Lexical Study, Baltimore 1965

ภาษาอโมไรต, เป, นภาษาตระก, ลเซม, กท, ดโดยเผ, าอโมไรต, ในประว, ศาสตร, คต, นของตะว, นออกกลาง, เป, นท, กจากบ, นท, กของชาวอ, คคาเด, ยระหว, างช, วงท, ชาวอโมไรต, เข, าปกครองบาบ, โลเน, อนพ, ทธศ, กราช, และพบในบ, นท, กของชาวอ, ปต, คต, อสถานท, แห, งหน, งค, snir, יר, เป,. phasaxomirt epnphasatrakulesmitikthiphudodyephaxomirtinprawtisastryukhtnkhxngtawnxxkklang epnthiruckcakbnthukkhxngchawxkhkhaediyrahwangchwngthichawxomirtekhapkkhrxngbabioleniy 2 357 457 kxnphuththskrach aelaphbinbnthukkhxngchawxiyiptyukhtn chuxsthanthiaehnghnungkhux Snir ש נ יר epnthiruckcakkhmphiribebil lksnathwipkhxngphasaniidaekmikaraeykkarksmburn imsmburnechnediywkbphasatrakulesmitikxun rwmthngpccy a sahrbburusthi 3 tangcakphasaxkhkhaediyaelaphasahibru aelasraimsmburn a echnediywkbphasaxahrb tangcak i inphasahibruaelaphasaxraemxik mikhakriyacakphyychnasxngtwkhu echn Yabanni Il karsrangkhxngphraeca raksphth bny mihlayaehngthiphasaxkhkhaediyich s swnphasaxomirtich h echnediywkbphasahibruaelaphasaxahrb burusthi 1 smburnkhux ti exkphcn nu phhuphcn echnediywkbphasakhanaxnintphasaxomirtpraethsthimikarphudemosopetemiyobran odychawxomirtsuyhay1 457 pikxnphuththskrachtrakulphasaaexofrexchiaextik phasaklumesmitikphasaklumesmitiktawntkphasaklumesmitikklangphasaklumesmitiktawntkechiyngehnuxphasaxomirtrhsphasaISO 639 3 xangxing aekikhD Cohen Les langues chamito semitiques CNRS Paris 1985 I Gelb La lingua degli amoriti Academia Nazionale dei Lincei Rendiconti 1958 no 8 13 pp 143 163 H B Huffmon Amorite Personal Names in the Mari Texts A Structural and Lexical Study Baltimore 1965ekhathungcak https th wikipedia org w index php title phasaxomirt amp oldid 9354168, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม