fbpx
วิกิพีเดีย

ISO 639-3

มาตรฐาน ISO 639-3 เป็นมาตรฐานกำหนดรหัสของภาษามนุษย์ทั้งหมดเท่าที่ทราบว่ามี โดยใช้ตัวอักษรละติน

รายละเอียด

มาตรฐาน ISO 639-3 เป็นมาตรฐานในชุดเดียวกับ ISO 639 ที่มีความพยายามจะกำหนดสัญลักษณ์แทนภาษาให้มีความครอบคลุมภาษาต่าง ๆ มาตรฐานที่ถูกกำหนดเป็นส่วนที่ 3 ในมาตรฐาน ISO 639 โดยมีความแตกต่างจากมาตรฐานในส่วนที่ 1 คือ ISO 639-1 และ ส่วนที่ 2 คือ ISO 639-2 ซึ่งเน้นไปที่ภาษาที่มีการใช้กันเป็นภาษาหลักหรือมีการใช้บ่อย ๆ ในขณะที่ ISO 639-3 ถูกสร้างขี้นเพื่อให้ครอบคลุมการใช้งานในทุกลักษณะงานเท่าที่เป็นไปได้ โดยจะใช้รหัสตัวอักษรละตินสามตัวแทนชื่อภาษานั้น ๆ ซึ่งครอบคลุมไปถึงภาษาที่ปรากฏอยู่แล้วในสองมาตรฐานแรก ซึ่งเป็นภาษาที่พบใช้อยู่ในปัจจุบัน ภาษาที่ไม่มีการใช้แล้ว ภาษาโบราณ และภาษาที่สร้างขึ้น โดยกลุ่มบุคคลบางกลุ่มด้วยเหตุผลบางประการ โดยกลุ่มคนเหล่านั้นไม่ได้มีความเกี่ยวเนื่องทางวัฒนธรรม หรือบางทีที่เรียกกันทั่วไปว่าเรียกว่าภาษาประดิษฐ์ ตัวอย่างภาษาประดิษฐ์ที่พอรู้จักกันโดยทั่วไป เช่น เอสเปรันโต (Esperanto) และ อิดอ (Ido) ทำให้มาตรฐานส่วนที่ 3 ครอบคลุมภาษาที่คนส่วนใหญ่ไม่มีความคุ้นเคยจำนวนมาก อย่างไรก็ตาม มาตรฐานส่วนนี้ไม่ได้ครอบคลุมถึงโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และภาษาที่ตั้งขึ้นจากสมมุติฐาน เช่น ภาษาอินโด-ยูโรเปียนดั้งเดิม (Proto-Indo-European) หรือที่เรียกกันว่า PIE

มาตรฐาน ISO 639-3 มีความเฉพาะเจาะจงกว่า ISO 639-1 และ 639-2 คือระบุรหัสสำหรับภาษาที่ถูกเรียกเป็นภาษาถิ่นและไม่มีรหัสเฉพาะใน ISO 639-1 และ 639-2 ด้วย

รหัสสามตัวอักษรของ ISO 639-3 นั้นจะมีแค่แบบเดียวสำหรับหนึ่งภาษา คือแบบที่เรียกว่า T code ของ ISO 639-2 (ใน ISO 639-2 บางภาษาจะมีรหัสสองแบบ คือแบบ B code และ T code)

มาตรฐานล่าสุดของ ISO 639-3 คือ ISO 639-3:2007

ตัวอย่าง

639-3 639-2 (B/T) 639-1 ชื่อภาษา กลุ่มที่ใช้ ประเภท
arb + อื่น ๆ ara ar อาหรับ กระจายกลุ่ม มีใช้อยู่
eng eng en อังกฤษ เฉพาะกลุ่ม มีใช้อยู่
deu ger/deu de เยอรมัน เฉพาะกลุ่ม มีใช้อยู่
hbs sh Serbo-Croatian กระจายกลุ่ม มีใช้อยู่
ido ido io อิดอ เฉพาะกลุ่ม ประดิษฐ์
lab Linear A เฉพาะกลุ่ม โบราณ
lao lao lo ลาว เฉพาะกลุ่ม มีใช้อยู่
nan (zh-min-nan) หมิ่นหนาน (จีนฮกเกี้ยน) เฉพาะกลุ่ม มีใช้อยู่
tha tha th ไทย เฉพาะกลุ่ม มีใช้อยู่
zkh Khorezmian เฉพาะกลุ่ม ไม่มีใช้แล้ว
zho chi/zho zh จีน กระจายกลุ่ม มีใช้อยู่

ดูเพิ่ม

  • ISO 15924 รหัสสากลสำหรับตัวเขียน

อ้างอิง

  1. "ISO 639-3:2007 Codes for the representation of names of languages — Part 3: Alpha-3 code for comprehensive coverage of languages". February 2007.
  • ISO 693-3 Registration Authority – SIL International

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Relationship between ISO 639-3 and the other parts of ISO 639
  • Types of individual languages

มาตรฐาน, เป, นมาตรฐานกำหนดรห, สของภาษามน, ษย, งหมดเท, าท, ทราบว, าม, โดยใช, วอ, กษรละต, เน, อหา, รายละเอ, ยด, วอย, าง, เพ, างอ, แหล, งข, อม, ลอ, นรายละเอ, ยด, แก, ไขมาตรฐาน, เป, นมาตรฐานในช, ดเด, ยวก, ความพยายามจะกำหนดส, ญล, กษณ, แทนภาษาให, ความครอบคล, มภาษาต,. matrthan ISO 639 3 epnmatrthankahndrhskhxngphasamnusythnghmdethathithrabwami odyichtwxksrlatin 1 enuxha 1 raylaexiyd 2 twxyang 3 duephim 4 xangxing 5 aehlngkhxmulxunraylaexiyd aekikhmatrthan ISO 639 3 epnmatrthaninchudediywkb ISO 639 thimikhwamphyayamcakahndsylksnaethnphasaihmikhwamkhrxbkhlumphasatang matrthanthithukkahndepnswnthi 3 inmatrthan ISO 639 odymikhwamaetktangcakmatrthaninswnthi 1 khux ISO 639 1 aela swnthi 2 khux ISO 639 2 sungennipthiphasathimikarichknepnphasahlkhruxmikarichbxy inkhnathi ISO 639 3 thuksrangkhinephuxihkhrxbkhlumkarichnganinthuklksnanganethathiepnipid odycaichrhstwxksrlatinsamtwaethnchuxphasann sungkhrxbkhlumipthungphasathipraktxyuaelwinsxngmatrthanaerk sungepnphasathiphbichxyuinpccubn phasathiimmikarichaelw phasaobran aelaphasathisrangkhun odyklumbukhkhlbangklumdwyehtuphlbangprakar odyklumkhnehlannimidmikhwamekiywenuxngthangwthnthrrm hruxbangthithieriykknthwipwaeriykwaphasapradisth twxyangphasapradisththiphxruckknodythwip echn exseprnot Esperanto aela xidx Ido thaihmatrthanswnthi 3 khrxbkhlumphasathikhnswnihyimmikhwamkhunekhycanwnmak xyangirktam matrthanswnniimidkhrxbkhlumthungopraekrmphasakhxmphiwetxraelaphasathitngkhuncaksmmutithan echn phasaxinod yuorepiyndngedim Proto Indo European hruxthieriykknwa PIEmatrthan ISO 639 3 mikhwamechphaaecaacngkwa ISO 639 1 aela 639 2 khuxraburhssahrbphasathithukeriykepnphasathinaelaimmirhsechphaain ISO 639 1 aela 639 2 dwyrhssamtwxksrkhxng ISO 639 3 nncamiaekhaebbediywsahrbhnungphasa khuxaebbthieriykwa T code khxng ISO 639 2 in ISO 639 2 bangphasacamirhssxngaebb khuxaebb B code aela T code matrthanlasudkhxng ISO 639 3 khux ISO 639 3 2007 1 twxyang aekikh639 3 639 2 B T 639 1 chuxphasa klumthiich praephtharb xun ara ar xahrb kracayklum miichxyueng eng en xngkvs echphaaklum miichxyudeu ger deu de eyxrmn echphaaklum miichxyuhbs sh Serbo Croatian kracayklum miichxyuido ido io xidx echphaaklum pradisthlab Linear A echphaaklum obranlao lao lo law echphaaklum miichxyunan zh min nan hminhnan cinhkekiyn echphaaklum miichxyutha tha th ithy echphaaklum miichxyuzkh Khorezmian echphaaklum immiichaelwzho chi zho zh cin kracayklum miichxyuduephim aekikhISO 15924 rhssaklsahrbtwekhiynxangxing aekikh 1 0 1 1 ISO 639 3 2007 Codes for the representation of names of languages Part 3 Alpha 3 code for comprehensive coverage of languages February 2007 ISO 693 3 Registration Authority SIL Internationalaehlngkhxmulxun aekikhRelationship between ISO 639 3 and the other parts of ISO 639 Types of individual languagesekhathungcak https th wikipedia org w index php title ISO 639 3 amp oldid 9281717, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม