fbpx
วิกิพีเดีย

ISO 639-2

ISO 639-2 เป็นส่วนที่สองของมาตรฐาน ISO 639 ที่จะใช้รหัสตัวอักษรภาษาอังกฤษแทนภาษาต่าง ๆ ซึ่งมาตรฐานชุดนี้ประกอบด้วย กลุ่มของตัวอักษร 3 ตัว แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม โดยกลุ่มแรกใช้แทนชื่อของภาษาที่ใช้ใน งานบรรณาณุกรม ( bibliographic applications ) และกลุ่มที่สองใช้ใน งานที่ต้องเกี่ยวกับบัญญัติศัพท์ ( terminology applications ) รหัสที่ใช้แทนภาษาของทั้งสองกลุ่มเหมือนกันยกเว้นเพียง 23 ภาษา จากภาษาทั้งหมดมากกว่า 450 ภาษา ทั้งนี้เนื่องจากเงื่อนไขในการสร้างรหัสนั้น การใช้รหัสแทนภาษามาตรฐานนี้เริ่มต้นมาจากการใช้งานที่เกี่ยวข้องกับงานห้องสมุด การให้บริการข้อมูลต่าง ๆ ตลอดจนงานพิมพ์ ที่ต้องใช้ในการแลกเปลี่ยนข้อมูล รหัสเหล่านี้ได้มีการใช้แพร่หลายในกลุ่มงานห้องสมุด และต่อมาได้มีการปรับนำมาใช้โดยกลุ่มของนักภาษาศาสตร์ และในกลุ่มงานที่ต้องการคำนิยามเฉพาะ ซึ่งมาตรฐานส่วนนี้ได้มีการพัฒนาขึ้นโดยมีพื้นฐานจากความต้องการใช้ภาษานั้น ๆ ที่มีการใช้อย่างแพร่หลายอยู่ทั่วโลก แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นก็ไม่รวมถึงโปรแกรมภาษาလိၵ်ႈတၢႆးလိၵ်ႈထႆး

การจัดทำรหัส

รหัสที่แสดงแทนภาษาต่าง ๆ นี้ ประกอบด้วยตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวเล็ก 3 ตัว โดยที่ตัวอักษรเหล่านั้นไม่จำเป็นต้องเป็นตัวอักษรย่อของ ภาษานั้น ๆ แต่สามารถใช้รหัสนั้นในการจำแนกภาษาได้

มาตรฐานกลุ่มนี้ประกอบด้วย 2 กลุ่มด้วยกันคือ กลุ่มรหัสที่ใช้ในงานบรรณานุกรม (ISO 639-2/B) หรือ รหัสกลุ่ม B และ กลุ่มรหัสที่ใช้ในงานที่ต้องเกี่ยวกับบัญญัติศัพท์ (ISO 639-2/T) หรือ รหัสกลุ่ม T

โดยมีเงื่อนไขในการจัดรหัสสำหรับงานบรรณานุกรม หรือ รหัสกลุ่ม B คือ

  • รหัสที่ประเทศเหล่านั้นเลือกใช้
  • รหัสที่มีการใช้แล้วในระดับประเทศและนานาชาติ
  • ชื่อของภาษานั้นหรือสัญลักษณ์แทนในภาษาอังกฤษแทนภาษานั้น ๆ

เงื่อนไขในการจัดรหัสสำหรับงานที่ต้องเกี่ยวกับศัพท์บัญญัติเฉพาะทาง หรือ รหัสกลุ่ม T คือ

  • รหัสที่มีการใช้แล้วในระดับประเทศและนานาชาติ
  • ชื่อแทนของภาษานั้นหรือสัญลักษณ์แทนในภาษาอังกฤษแทนภาษานั้น ๆ

โดยการจัดรหัสทั้งสองแบบนี้มีเพียง 23 ภาษาเท่านั้นที่มีรหัสแตกต่างกัน โดยที่ในอนาคตการกำหนดรหัสจะขึ้นอยู่กับชื่อแทนของภาษานั้น ยกเว้นแต่กรณีที่ประเทศนั้น ๆ หรือกลุ่มประเทศที่ใช้ภาษานั้น ๆ ร้องขอ แต่เพื่อให้เกิดความเสถียรภาพและความต่อเนื่อง การเปลี่ยนรหัสเหล่านี้จะทำได้เมื่อมีความจำเป็นจริง ๆ เท่านั้น และรหัสเดิมจะยังคงต้องใช้อยู่ อย่างน้อย 5 ปีก่อนที่จะมีการใช้รหัสใหม่แทนที่หลังจากที่ได้มีการร้องขอให้มีการเปลี่ยนแปลง แต่อย่างไรก็ตามรหัสในกลุ่มบรรณานุกรมจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงถ้าชื่อของภาษาหรือสัญลักษณ์ย่อของภาษาเปลี่ยนด้วยเหตุผลอย่างใดอย่างหนึ่ง ทั้งนี้เพื่อไม่ให้เกิดความสับสน ในกรณีที่ภาษาเดียวกันแต่มีการเขียนต่างกันจะใช้รหัสแทนภาษาตัวเดียวกันแต่อาจมีมาตรฐาน อื่นเพิ่มขึ้นเพื่อแยกให้เห็นระบบการเขียนที่แตกต่างกัน สำหรับกรณีภาษาท้องถิ่นก็จะใช้รหัสเดียวกับภาษานั้น ๆ ยกเว้นบ้างในกรณีที่ภาษาท้องถิ่นนั้นมีลักษณะที่ไม่สามารถบอกรากที่มาของภาษานั้น ๆ ได้ชัดเจนก็สามารถมีรหัสภาษาของตัวเองได้ (ซึ่งมีปรากฏอยู่น้อยกรณี)

ข้อแตกต่างของมาตรฐาน ISO 639-1 และ ISO 639-2

ISO 639 เป็นมาตรฐานที่พยายามจัดรหัสแทนชื่อของภาษาต่าง ๆ แต่

  • ISO 639-1 ประกอบด้วยตัวอักษรแทนเพียง 2 ตัว ซึ่งพัฒนาขึ้นในปี ค.ศ. 1988 จากบุคคลในกลุ่มงานทางภาษาศาสตร์ งานทางด้านพจนานุกรม และงานทางบัญญัติศัพท์ โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้ครอบคลุมภาษาหลักๆที่ใช้ในโลก
  • ISO 639-2 ประกอบด้วยตัวอักษร 3 ตัว ถูกริเริ่มในปี ค.ศ. 1989 เนื่องจากเริ่มตระหนักว่ามาตรฐานส่วนแรก คือ ISO 639-1 ไม่เพียงพอที่จะครอบคลุมภาษาจำนวนมหาศาลได้ แต่มาตรฐานชุดนี้ได้กำหนดเป็นมาตรฐานครั้งแรกก็เมื่อในปี ค.ศ. 1998 หรือ 9 ปีต่อมา โดยมีจุดมุ่งหมายในการพัฒนาก็เพื่อใช้ในงานบรรณานุกรมและงานที่ต้องนิยามคำศัพท์ ซึ่งมาตรฐานชุดนี้ครอบคลุมถึงมาตรฐาน ISO 639-1 และภาษาอื่น ๆ ที่มีปรากฏเป็นงานเขียนเชิงวรรณกรรมหรืออย่างน้อยต้องมีส่วนประกอบที่แสดงงานเขียนเชิงวรรณกรรม ซึ่งก็เกี่ยวเนื่องถึงภาษาต่าง ๆ ทั้งหมดเกือบทั้งหมดเท่าที่มีปรากฏอยู่ทั่วโลก โดยในมาตรฐานชุดนี้มีการแยกกลุ่มรากของภาษานั้น ๆ ไว้ด้วย

ตัวอย่าง

ตัวอย่างของรหัสในกลุ่ม ISO 639-2 เทียบกับ ISO 639-1 โดยที่ ถ้ารหัสในกลุ่ม ISO 639-2 ใช้รหัสแทนไม่เหมือนกัน รหัสชุดแรกแสดงถึงรหัสในกลุ่มบรรณาณุกรม และชุดที่สองแสดงถึงรหัสในกลุ่มบัญญัติศัพท์

639-2 639-1 ชื่อของภาษา
ara ar ภาษาอาหรับ
aus กลุ่มภาษาในออสเตรเลีย
ban ภาษาบาหลี
baq/eus eu ภาษาบาสก์
bel be ภาษาเบลารุส
tib/bod bo ภาษาทิเบต
bur/mya my ภาษาพม่า
cze/ces cs ภาษาเช็ก
chi/zho zh ภาษาจีน
ger/deu de ภาษาเยอรมัน
dsb Lower Sorbian
dut/nld nl ภาษาดัตช์; Flemish
eng en ภาษาอังกฤษ
enm ภาษาอังกฤษกลาง (1100-1500)
epo eo ภาษาเอสเปอรันโต
fre/fra fr ภาษาฝรั่งเศส
fro ภาษาฝรั่งเศสเก่า (842-ca.1400)
lao lo ภาษาลาว
may/msa ms ภาษามลายู
mul หลายภาษา
pli pi ภาษาบาลี
san sa ภาษาสันสกฤต
sgn ภาษามือ
tha th ภาษาไทย

อ้างอิง

  • ISO 639-2 Registraion Authority

ดูเพิ่ม

เป, นส, วนท, สองของมาตรฐาน, จะใช, รห, สต, วอ, กษรภาษาอ, งกฤษแทนภาษาต, าง, งมาตรฐานช, ดน, ประกอบด, วย, กล, มของต, วอ, กษร, แบ, งออกเป, กล, โดยกล, มแรกใช, แทนช, อของภาษาท, ใช, ใน, งานบรรณาณ, กรม, bibliographic, applications, และกล, มท, สองใช, ใน, งานท, องเก, ยวก. ISO 639 2 epnswnthisxngkhxngmatrthan ISO 639 thicaichrhstwxksrphasaxngkvsaethnphasatang sungmatrthanchudniprakxbdwy klumkhxngtwxksr 3 tw aebngxxkepn 2 klum odyklumaerkichaethnchuxkhxngphasathiichin nganbrrnanukrm bibliographic applications aelaklumthisxngichin nganthitxngekiywkbbyytisphth terminology applications rhsthiichaethnphasakhxngthngsxngklumehmuxnknykewnephiyng 23 phasa cakphasathnghmdmakkwa 450 phasa thngnienuxngcakenguxnikhinkarsrangrhsnn karichrhsaethnphasamatrthannierimtnmacakkarichnganthiekiywkhxngkbnganhxngsmud karihbrikarkhxmultang tlxdcnnganphimph thitxngichinkaraelkepliynkhxmul rhsehlaniidmikarichaephrhlayinklumnganhxngsmud aelatxmaidmikarprbnamaichodyklumkhxngnkphasasastr aelainklumnganthitxngkarkhaniyamechphaa sungmatrthanswnniidmikarphthnakhunodymiphunthancakkhwamtxngkarichphasann thimikarichxyangaephrhlayxyuthwolk aetthngnithngnnkimrwmthungopraekrmphasaလ ၵ တ လ ၵ ထ enuxha 1 karcdtharhs 2 khxaetktangkhxngmatrthan ISO 639 1 aela ISO 639 2 3 twxyang 4 xangxing 5 duephimkarcdtharhs aekikhrhsthiaesdngaethnphasatang ni prakxbdwytwxksrphasaxngkvstwelk 3 tw odythitwxksrehlannimcaepntxngepntwxksryxkhxng phasann aetsamarthichrhsnninkarcaaenkphasaidmatrthanklumniprakxbdwy 2 klumdwyknkhux klumrhsthiichinnganbrrnanukrm ISO 639 2 B hrux rhsklum B aela klumrhsthiichinnganthitxngekiywkbbyytisphth ISO 639 2 T hrux rhsklum Todymienguxnikhinkarcdrhssahrbnganbrrnanukrm hrux rhsklum B khux rhsthipraethsehlanneluxkich rhsthimikarichaelwinradbpraethsaelananachati chuxkhxngphasannhruxsylksnaethninphasaxngkvsaethnphasann enguxnikhinkarcdrhssahrbnganthitxngekiywkbsphthbyytiechphaathang hrux rhsklum T khux rhsthimikarichaelwinradbpraethsaelananachati chuxaethnkhxngphasannhruxsylksnaethninphasaxngkvsaethnphasann odykarcdrhsthngsxngaebbnimiephiyng 23 phasaethannthimirhsaetktangkn odythiinxnakhtkarkahndrhscakhunxyukbchuxaethnkhxngphasann ykewnaetkrnithipraethsnn hruxklumpraethsthiichphasann rxngkhx aetephuxihekidkhwamesthiyrphaphaelakhwamtxenuxng karepliynrhsehlanicathaidemuxmikhwamcaepncring ethann aelarhsedimcayngkhngtxngichxyu xyangnxy 5 pikxnthicamikarichrhsihmaethnthihlngcakthiidmikarrxngkhxihmikarepliynaeplng aetxyangirktamrhsinklumbrrnanukrmcaimmikarepliynaeplngthachuxkhxngphasahruxsylksnyxkhxngphasaepliyndwyehtuphlxyangidxyanghnung thngniephuximihekidkhwamsbsn inkrnithiphasaediywknaetmikarekhiyntangkncaichrhsaethnphasatwediywknaetxacmimatrthan xunephimkhunephuxaeykihehnrabbkarekhiynthiaetktangkn sahrbkrniphasathxngthinkcaichrhsediywkbphasann ykewnbanginkrnithiphasathxngthinnnmilksnathiimsamarthbxkrakthimakhxngphasann idchdecnksamarthmirhsphasakhxngtwexngid sungmipraktxyunxykrni khxaetktangkhxngmatrthan ISO 639 1 aela ISO 639 2 aekikhISO 639 epnmatrthanthiphyayamcdrhsaethnchuxkhxngphasatang aet ISO 639 1 prakxbdwytwxksraethnephiyng 2 tw sungphthnakhuninpi kh s 1988 cakbukhkhlinklumnganthangphasasastr nganthangdanphcnanukrm aelanganthangbyytisphth odymicudprasngkhephuxihkhrxbkhlumphasahlkthiichinolk ISO 639 2 prakxbdwytwxksr 3 tw thukrieriminpi kh s 1989 enuxngcakerimtrahnkwamatrthanswnaerk khux ISO 639 1 imephiyngphxthicakhrxbkhlumphasacanwnmhasalid aetmatrthanchudniidkahndepnmatrthankhrngaerkkemuxinpi kh s 1998 hrux 9 pitxma odymicudmunghmayinkarphthnakephuxichinnganbrrnanukrmaelanganthitxngniyamkhasphth sungmatrthanchudnikhrxbkhlumthungmatrthan ISO 639 1 aelaphasaxun thimipraktepnnganekhiynechingwrrnkrrmhruxxyangnxytxngmiswnprakxbthiaesdngnganekhiynechingwrrnkrrm sungkekiywenuxngthungphasatang thnghmdekuxbthnghmdethathimipraktxyuthwolk odyinmatrthanchudnimikaraeykklumrakkhxngphasann iwdwytwxyang aekikhtwxyangkhxngrhsinklum ISO 639 2 ethiybkb ISO 639 1 odythi tharhsinklum ISO 639 2 ichrhsaethnimehmuxnkn rhschudaerkaesdngthungrhsinklumbrrnanukrm aelachudthisxngaesdngthungrhsinklumbyytisphth 639 2 639 1 chuxkhxngphasaara ar phasaxahrbaus klumphasainxxsetreliyban phasabahlibaq eus eu phasabaskbel be phasaeblarustib bod bo phasathiebtbur mya my phasaphmacze ces cs phasaechkchi zho zh phasacinger deu de phasaeyxrmndsb Lower Sorbiandut nld nl phasadtch Flemisheng en phasaxngkvsenm phasaxngkvsklang 1100 1500 epo eo phasaexsepxrnotfre fra fr phasafrngessfro phasafrngesseka 842 ca 1400 lao lo phasalawmay msa ms phasamlayumul hlayphasapli pi phasabalisan sa phasasnskvtsgn phasamuxtha th phasaithyxangxing aekikhISO 639 2 Registraion Authorityduephim aekikhISO 639 ISO 639 1 ISO 639 3ekhathungcak https th wikipedia org w index php title ISO 639 2 amp oldid 9489595, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม