fbpx
วิกิพีเดีย

มะยม

มะยม
มะยมในอินเดีย
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Plantae
หมวด: พืชดอก Magnoliophyta
ชั้น: พืชใบเลี้ยงคู่ Magnoliopsida
อันดับ: Malpighiales
วงศ์: Phyllanthaceae
เผ่า: Phyllantheae
เผ่าย่อย: Flueggeinae
สกุล: Phyllanthus
สปีชีส์: P.  acidus
ชื่อทวินาม
Phyllanthus acidus
(L.) Skeels.
ชื่อพ้อง

Phyllanthus distichus Müll.Arg.
Cicca acida Merr.
Cicca disticha L.
Averrhoa acida L.

มะยม (ชื่อวิทยาศาสตร์: Phyllanthus acidus) ภาคอีสานเรียกว่า หมากยม ภาคใต้เรียกว่า ยม เป็นไม้ยืนต้น ขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูงประมาณ 3 – 10 เมตร ลำต้นตั้งตรง เปลือกต้นขรุขระสีเทาปนน้ำตาล แตกกิ่งที่ปลายยอด กิ่งก้านจะเปราะและแตกง่าย ใบประกอบ มีใบย่อยออกเรียงแบบสลับกันเป็น 2 แถว แต่ละก้านมีใบย่อย 20 – 30 คู่ ใบรูปขอบขนานกลมหรือค่อนข้างเป็นสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนปลายใบแหลม ฐานใบกลมหรือมน ขอบใบเรียบ ดอก ออกเป็นช่อตามกิ่ง ดอกย่อยสีเหลืองอมน้ำตาลเรื่อๆ ติดผลเป็นพวง ผลมีสามพูชัดเจน เมื่ออ่อนสีเขียว เมื่อแก่เปลี่ยนเป็นสีเหลืองหรือขาวแกมเหลือง เนื้อฉ่ำน้ำ เมล็ดรูปร่างกลม แข็ง สีน้ำตาลอ่อน 1 เมล็ด มีทั้งพันธุ์เปรี้ยวและพันธุ์หวาน ซึ่งมีรสหวานอมฝาด ผลจะอ่อนนุ่มเมื่อสุก จึงเก็บเกี่ยวก่อนผลจะหล่นจากต้น ถิ่นกำเนิดอยู่ที่เอเชียใต้และอเมริกันเขตร้อน

จุดกำเนิดและการแพร่กระจาย

พืชชนิดนี้พบได้ทั่วเอเชีย และพบปลูกตามบ้านในแคริบเบียน อเมริกากลาง และอเมริกาใต้กระจายพันธุ์ข้ามมหาสมุทรอินเดียไปจนถึงมอริเชียส และข้ามมหาสมุทรแปซิฟิกไปจนถึงฮาวาย แพร่กระจายไปจนถึงภูมิภาคทะเลแคริบเบียนเมื่อ พ.ศ. 2336 โดยวิลเลียมไบลก์นำมะยมจากติมอร์ไปยังจาเมกา พืชชนิดนี้พบได้ทั่วไปในกวม อินโดนีเซีย เวียดนามใต้ ลาว ตอนเหนือของคาบสมุทรมลายู และอินเดียยังคงพบพืชชนิดนี้ในฟิลิปปินส์ ไทย กัมพูชา และฮาวาย พบเห็นได้ในเปอร์โตริโก เอกวาดอร์ เอลซัลวาดอร์ เม็กซิโก โคลอมเบีย เวเนซุเอลา สุรินาเม เปรู และบราซิล

การใช้ประโยชน์

 
ผล

มะยมใช้รับประทานเป็นผลไม้สดและแปรรูป เช่น แช่อิ่ม ดอง น้ำมะยม แยม หรือกวน ใช้ทำส้มตำ ยอดอ่อนรับประทานเป็นผักสด กินกับน้ำพริก ลาบ ส้มตำ ขนมจีน ในอินเดียและอินโดนีเซีย นำใบไปปรุงอาหาร ผลใช้ปรุงรสอาหารในอินโดนีเซีย ในฟิลิปปินส์ใช้ทำน้ำส้มสายชู หรือกินดิบหรือดองในเกลือและน้ำส้มสายชู ในมาเลเซียนิยมนำไปเชื่อม ในอินเดียและอินโดนีเซียนิยมนำใบมะยมไปประกอบอาหาร เนื้อไม้แข็งแรง ทนทาน แต่ต้นไม่ใหญ่มาก ในอินเดีย เปลือกไม้ใช้เป็นแหลางของแทนนิน

ผลมะยมมีฤทธิ์กัดเสมหะและเป็นยาระบาย ใบเป็นส่วนประกอบของยาเขียว ตำราไทยใช้ รากแก้ไข้ รักษาโรคผิวหนัง น้ำเหลืองเสีย ผื่นคัน ใบ ต้มน้ำอาบแก้คัน แก้ไข้ เหือด หิด อีสุกอีใส ในผลมีแทนนิน เดกซ์โทรส เลวูโลส ซูโครส วิตามินซี ในรากมี beta-amyrin, phyllanthol, แทนนิน ซาโปนิน กรดแกลลิก น้ำเชื่อมใช้รักษาโรคกระเพาะอาหาร ในอินเดียผลใช้เป็นตัวกระตุ้นเลือดสำหรับตับ มะยมมี 4-hydroxybenzoic acid กรดคาเฟอิก adenosine, kaempferol และกรดไฮโปแกลลิก สารสกัดจากมะยมที่สกัดด้วยเอทานอลมีประสิทธิภาพดีในการยับยั้งการเจริญของ E. coli O157:H7 และ Propionibacterium acnes

รวมภาพ

อ้างอิง

  1. นิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน์. มะยม ใน ผลไม้ 111 ชนิด: คุณค่าอาหารและการกิน. กทม. แสงแดด. 2550 หน้า 179
  2. Morton, Julia (16 June 1963). . The Miami News. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2015-10-14. สืบค้นเมื่อ 30 October 2011.
  3. Janick, Jules; Robert E. Paull (12 April 2008). The Encyclopedia of Fruit & Nuts. CABI. p. 373. ISBN 978-0-85199-638-7. สืบค้นเมื่อ 30 October 2011.
  4. Center for New Crops & Plants Products. "Otaheite Gooseberry". Purdue University. สืบค้นเมื่อ 2011-10-30.
  5. National Geographic (18 November 2008). Edible: an Illustrated Guide to the World's Food Plants. National Geographic Books. p. 110. ISBN 978-1-4262-0372-5. สืบค้นเมื่อ 30 October 2011.
  6. Leeya, Yuttapong; Mulvany, Michael J.; Queiroz, Emerson F.; Marston, Andrew; Hostettmann, Kurt; Jansakul, Chaweewan (2010). "Hypotensive activity of an n-butanol extract and their purified compounds from leaves of Phyllanthus acidus (L.) Skeels in rats". European Journal of Pharmacology. 649 (1–3): 301–13. doi:10.1016/j.ejphar.2010.09.038. PMID 20868659.
  7. Sousa, M.; Ousingsawat, J.; Seitz, R.; Puntheeranurak, S.; Regalado, A.; Schmidt, A.; Grego, T.; Jansakul, C.; และคณะ (2006). "An Extract from the Medicinal Plant Phyllanthus acidus and Its Isolated Compounds Induce Airway Chloride Secretion: A Potential Treatment for Cystic Fibrosis". Molecular Pharmacology. 71 (1): 366–76. doi:10.1124/mol.106.025262. PMID 17065237.
  8. อัฐญาพร ชัยชมภู และนฤมล ทองไว. 2554. การยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียก่อโรคบางชนิดโดยใช้สารสกัดสมุนไพรพื้นบ้าน. การประชุมวิชาการครั้งที่ 8 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กำแพงแสน

มะยม, ในอ, นเด, ยการจำแนกช, นทางว, ทยาศาสตร, อาณาจ, กร, plantaeหมวด, ชดอก, magnoliophytaช, ชใบเล, ยงค, magnoliopsidaอ, นด, malpighialesวงศ, phyllanthaceaeเผ, phyllantheaeเผ, าย, อย, flueggeinaeสก, phyllanthusสป, acidusช, อทว, นามphyllanthus, acidus, skeels, อพ. maymmayminxinediykarcaaenkchnthangwithyasastrxanackr Plantaehmwd phuchdxk Magnoliophytachn phuchibeliyngkhu Magnoliopsidaxndb Malpighialeswngs Phyllanthaceaeepha Phyllantheaeephayxy Flueggeinaeskul Phyllanthusspichis P aciduschuxthwinamPhyllanthus acidus L Skeels chuxphxngPhyllanthus distichus Mull Arg Cicca acida Merr Cicca disticha L Averrhoa acida L maym chuxwithyasastr Phyllanthus acidus phakhxisaneriykwa hmakym phakhiteriykwa ym epnimyuntn khnadelkthungkhnadklang sungpraman 3 10 emtr latntngtrng epluxktnkhrukhrasiethapnnatal aetkkingthiplayyxd kingkancaepraaaelaaetkngay ibprakxb miibyxyxxkeriyngaebbslbknepn 2 aethw aetlakanmiibyxy 20 30 khu ibrupkhxbkhnanklmhruxkhxnkhangepnsiehliymkhnmepiykpunplayibaehlm thanibklmhruxmn khxbiberiyb dxk xxkepnchxtamking dxkyxysiehluxngxmnatalerux tidphlepnphwng phlmisamphuchdecn emuxxxnsiekhiyw emuxaekepliynepnsiehluxnghruxkhawaekmehluxng enuxchana emldruprangklm aekhng sinatalxxn 1 emld mithngphnthuepriywaelaphnthuhwan sungmirshwanxmfad 1 phlcaxxnnumemuxsuk cungekbekiywkxnphlcahlncaktn thinkaenidxyuthiexechiyitaelaxemriknekhtrxn 2 enuxha 1 cudkaenidaelakaraephrkracay 2 karichpraoychn 3 rwmphaph 4 xangxingcudkaenidaelakaraephrkracay aekikhphuchchnidniphbidthwexechiy aelaphbpluktambaninaekhribebiyn xemrikaklang aelaxemrikait 3 kracayphnthukhammhasmuthrxinediyipcnthungmxriechiys aelakhammhasmuthraepsifikipcnthunghaway 4 5 aephrkracayipcnthungphumiphakhthaelaekhribebiynemux ph s 2336 odywileliymiblknamaymcaktimxripyngcaemka 5 phuchchnidniphbidthwipinkwm xinodniesiy ewiydnamit law txnehnuxkhxngkhabsmuthrmlayu aelaxinediy 4 3 yngkhngphbphuchchnidniinfilippins ithy kmphucha aelahaway 4 phbehnidinepxrotriok exkwadxr exlslwadxr emksiok okhlxmebiy ewensuexla surinaem epru aelabrasilkarichpraoychn aekikh phl maymichrbprathanepnphlimsdaelaaeprrup echn aechxim dxng namaym aeym hruxkwn ichthasmta yxdxxnrbprathanepnphksd kinkbnaphrik lab smta khnmcin inxinediyaelaxinodniesiy naibipprungxahar 5 phlichprungrsxaharinxinodniesiy 5 3 infilippinsichthanasmsaychu hruxkindibhruxdxnginekluxaelanasmsaychu inmaelesiyniymnaipechuxm inxinediyaelaxinodniesiyniymnaibmaymipprakxbxahar 5 enuximaekhngaerng thnthan aettnimihymak 3 inxinediy epluxkimichepnaehlangkhxngaethnninphlmaymmivththikdesmhaaelaepnyarabay ibepnswnprakxbkhxngyaekhiyw 1 taraithyich rakaekikh rksaorkhphiwhnng naehluxngesiy phunkhn ib tmnaxabaekkhn aekikh ehuxd hid xisukxiis inphlmiaethnnin edksothrs elwuols suokhrs witaminsi inrakmi beta amyrin phyllanthol aethnnin saopnin krdaekllik naechuxmichrksaorkhkraephaaxahar inxinediyphlichepntwkratuneluxdsahrbtb 3 maymmi 4 hydroxybenzoic acid krdkhaefxik 6 adenosine kaempferol aelakrdihopaekllik 7 sarskdcakmaymthiskddwyexthanxlmiprasiththiphaphdiinkarybyngkarecriykhxng E coli O157 H7 aela Propionibacterium acnes 8 rwmphaph aekikh ibmaym tnmaymxangxing aekikh 1 0 1 1 nidda hngswiwthn aelathwithxng hngswiwthn maym in phlim 111 chnid khunkhaxaharaelakarkin kthm aesngaedd 2550 hna 179 Morton Julia 16 June 1963 A Fast Growing Vine The Miami News khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2015 10 14 subkhnemux 30 October 2011 3 0 3 1 3 2 3 3 3 4 Janick Jules Robert E Paull 12 April 2008 The Encyclopedia of Fruit amp Nuts CABI p 373 ISBN 978 0 85199 638 7 subkhnemux 30 October 2011 4 0 4 1 4 2 Center for New Crops amp Plants Products Otaheite Gooseberry Purdue University subkhnemux 2011 10 30 5 0 5 1 5 2 5 3 5 4 National Geographic 18 November 2008 Edible an Illustrated Guide to the World s Food Plants National Geographic Books p 110 ISBN 978 1 4262 0372 5 subkhnemux 30 October 2011 Leeya Yuttapong Mulvany Michael J Queiroz Emerson F Marston Andrew Hostettmann Kurt Jansakul Chaweewan 2010 Hypotensive activity of an n butanol extract and their purified compounds from leaves of Phyllanthus acidus L Skeels in rats European Journal of Pharmacology 649 1 3 301 13 doi 10 1016 j ejphar 2010 09 038 PMID 20868659 Sousa M Ousingsawat J Seitz R Puntheeranurak S Regalado A Schmidt A Grego T Jansakul C aelakhna 2006 An Extract from the Medicinal Plant Phyllanthus acidus and Its Isolated Compounds Induce Airway Chloride Secretion A Potential Treatment for Cystic Fibrosis Molecular Pharmacology 71 1 366 76 doi 10 1124 mol 106 025262 PMID 17065237 xthyaphr chychmphu aelanvml thxngiw 2554 karybyngkarecriykhxngaebkhthieriykxorkhbangchnidodyichsarskdsmuniphrphunban karprachumwichakarkhrngthi 8 mhawithyalyekstrsastr kaaephngaesn http www rspg or th plants data herbs herbs 02 9 htm ekhathungcak https th wikipedia org w index php title maym amp oldid 9754755, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม