fbpx
วิกิพีเดีย

ยานอวกาศ

ระวังสับสนกับ ยานสำรวจอวกาศ

ยานอวกาศ (อังกฤษ: spacecraft) คือยานพาหนะ ยานหรือเครื่องยนต์ที่ออกแบบมาเพื่อบินไปในอวกาศ ยานอวกาศถูกนำมาใช้สำหรับวัตถุประสงค์ที่หลากหลาย รวมถึงการสื่อสารโทรคมนาคม การสังเกตโลก การอุตุนิยมวิทยา การนำทาง การสำรวจดาวเคราะห์และการขนส่งมนุษย์และสินค้า

ยานอวกาศโซยุซมากกว่า 100 ลำ ได้บินตั้งแต่ปี 1967 และปัจจุบันกำลังรองรับสถานีอวกาศนานาชาติ
ยานกระสวยอวกาศของสหรัฐได้บินมาแล้ว 135 ครั้งตั้งแต่ปี 1981 ถึง 2011 เพื่อสนับสนุนโครงการห้องปฏิบัติการอวกาศ (อังกฤษ: Spacelab), สถานีอวกาศเมียร์และสถานีอวกาศนานาชาติ (ภาพแสดงการยิงขึ้นสู่อวกาศครั้งแรกของยาน"โคลัมเบีย")

ในการบินในอวกาศแบบวงโคจรย่อย ยานอวกาศเข้าสู่อวกาศด้านนอก จากนั้นก็กลับมายังพื้นผิวโลกโดยไม่ได้ขึ้นไปสู่วงโคจรหลัก. แต่สำหรับการบินในอวกาศแบบวงโคจรหลัก (อังกฤษ: orbital spaceflight) ยานอวกาศเข้าสู่วงโคจรปิดรอบโลกหรือรอบวัตถุนอกโลกหรือดวงดาวอื่นๆ ยานอวกาศที่ใช้สำหรับการบินของมนุษย์จะบรรทุกลูกเรือหรือผู้โดยสารบนยานจากจุดเริ่มต้นหรือสถานีอวกาศในวงโคจรเท่านั้น ในขณะที่ ยานที่ใช้สำหรับภารกิจหุ่นยนต์อวกาศจะทำงานด้วยตนเองหรือจากระยะไกลอย่างใดอย่างหนึ่ง ยานอวกาศหุ่นยนต์ที่ใช้เพื่อสนับสนุนการวิจัยทางวิทยาศาสตร์เป็นยานสำรวจอวกาศ ยานอวกาศหุ่นยนต์ที่ยังคงอยู่ในวงโคจรรอบโลกเป็นดาวเทียม มีเพียงยานสำรวจระหว่างดวงดาวไม่กี่ลำเช่นไพโอเนียร์ 10 และ 11, Voyager 1 และ 2, และ New Horizons ที่ปัจจุบันยังอยู่ในวงโคจรที่หลุดออกจากระบบสุริยะของเรา

ยานอวกาศที่อยู่ในวงโคจรอาจจะสามารถกู้คืนได้แต่บางทีก็ไม่ได้. โดยวิธีการย้อนกลับไปยังโลก พวกมันอาจจะถูกแบ่งออกเป็นแคปซูลที่ไม่มีปีกหรือเครี่องบินอวกาศที่มีปีก

ปัจจุบันมนุษย์ได้ประสบความสำเร็จในการบินในอวกาศ แต่มีเพียงยี่สิบสี่ประเทศเท่านั้นที่มีเทคโนโลยีอวกาศเช่น รัสเซีย (Roscosmos, กองกำลังอวกาศรัสเซีย), สหรัฐอเมริกา (นาซ่า, กองทัพอากาศสหรัฐและอีกหลายบริษัทการบินอวกาศเชิงพาณิชย์), รัฐสมาชิกขององค์การอวกาศยุโรป, สาธารณรัฐประชาชนจีน (องค์การบริหารอทวกาศแห่งชาติจีน), ญี่ปุ่น (สำนักงานสำรวจอวกาศญี่ปุ่น) และอินเดีย (องค์การวิจัยอวกาศอินเดีย)

ประวัติ

 
ยานอวกาศเครื่องแรก, Sputnik

สปุตนิกเป็นดาวเทียมดวงแรก มันถูกส่งขึ้นวงโคจรต่ำรูปไข่โดยสหภาพโซเวียตหรือตอนนี้คือรัสเซียเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 1957 การเปิดตัวครั้งนั้นนำไปสู่การพัฒนาใหม่ทางการเมือง, การทหาร, เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ ในขณะที่การเปิดตัวของสปุตนิกเป็นเหตุการณ์เดียวแต่ก็เป็นจุดเริ่มต้นของยุคอวกาศ นอกเหนือจากมูลค่าของมันในฐานะที่เป็นเทคโนโลยีแรก สปุตนิก ยังช่วยในการระบุความหนาแน่นของชั้นบรรยากาศด้านบน (อังกฤษ: upper atmospheric layers' density) ผ่านการวัดการเปลี่ยนแปลงของวงโคจรของดาวเทียม นอกจากนี้ยังให้ข้อมูลเกี่ยวกับการกระจายสัญญาณวิทยุในไอโอโนสเฟียส์ ไนโตรเจนแรงดันสูงในตัวยานของดาวเทียมที่ผิดพลาดได้ให้โอกาสแรกสำหรับการตรวจสอบสะเก็ดดาว ถ้าสะเก็ดดาวทะลุเปลือกนอกของดาวเทียมก็จะถูกตรวจพบโดยข้อมูลอุณหภูมิจะถูกส่งกลับไปยังโลก[ต้องการอ้างอิง] สปุตนิก 1 ถูกเปิดตัวในช่วงปีฟิสิกส์สากลจาก สถานีเลขที่ 1/5 ที่ Tyuratam range ที่ 5 ใน Kazakh SSR (ตอนนี้เป็น Baikonur คอสโมโดรม) ดาวเทียมได้เดินทางที่ 29,000 กิโลเมตร (18,000 ไมล์) ต่อชั่วโมง ใช้เวลา 96.2 นาทีเพื่อให้ครบรอบวงโคจรและปล่อยสัญญาณวิทยุที่ 20.005 และ 40.002 MHz

ในขณะที่สปุตนิก 1 เป็นยานอวกาศที่มีมนุษย์ลำแรกที่โคจรรอบโลก, วัตถุที่มนุษย์สร้างขึ้นอื่นๆก่อนหน้านี้ได้ขึ้นมาถึงที่ระดับความสูง 100 กิโลเมตรซึ่งเป็นความสูงที่กำหนดโดยองค์การระหว่างประเทศคือ Fédération Aéronautique Internationale เพื่อนับว่าเป็นการบินในอวกาศ ระดับความสูงนี้เรียกว่า Kármán line โดยเฉพาะในปี 1940s มีการเปิดตัวเพื่อการทดสอบหลายครั้งของจรวด V-2 บางเครื่องในจำนวนนั้นขึ้นสู่ระดับความสูงกว่า 100 กม

ยานอวกาศในอดีตและปัจจุบัน

ยานอวกาศที่มีมนุษย์

ดูเพิ่มเติม: รายชื่อของยานอวกาศที่มีมนุษย์และการบินในอวกาศของมนุษย์

 
ยานอวกาศลำแรก, Vostok 1

ณ ปี 2011, มีเพียงสามประเทศเท่านั้นที่ทำการบินด้วยยานอวกาศที่มีมนุษย์ ได้แก่ USSR/รัสเซีย, สหรัฐอเมริกาและจีน. อินเดีย, ญี่ปุ่น, ยุโรป/อีเอสเอ, อิหร่าน, เกาหลีใต้, เกาหลีเหนือ, เดนมาร์กและโรมาเนียมีแค่แผนสำหรับยานอวกาศที่มีมนุษย์ (จรวด suborbital ที่มีมนุษย์)

ยานอวกาศที่มีมนุษย์ลำแรกคือ Vostok 1 ซึ่งบรรทุกนักบินอวกาศโซเวียต ยูริ กาการิน ขึ้นสู่อวกาศในปี 1961 และบินรอบโลกสำเร็จ ยังมีภารกิจอื่นอีกห้าครั้งที่ใช้ในยานอวกาศ Vostok ได้ ยานอวกาศลำที่สองชื่อ Freedom 7 ซึ่งสามารถเดินทางในวงโคจรย่อยในปี 1961 เช่นกันโดยบรรทุกนักบินอวกาศชาวอเมริกัน อลัน เชพเพิร์ทขึ้นสู่ความสูงกว่า 187 กิโลเมตร (116 ไมล์) มีภารกิจอื่นอีกห้าครั้งที่ใช้ยานอวกาศ Mercury

ยกเว้นกระสวยอวกาศ, ส่วนของยานอวกาศที่มีมนุษย์ที่สามารถกู้คืนได้เป็นแคปซูลอวกาศ

สถานีอวกาศนานาชาติมีมนุษย์ประจการำตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนปี 2000 เป็นการร่วมการงานระหว่างรัสเซีย, สหรัฐอเมริกา, แคนาดาและประเทศอื่นๆอีกหลายประเทศ

 
ยานอวกาศที่มีคนขับ Crew Dragon ของ SpaceX ที่ปัจจุบันใช้งานอย่างเป็นทางการเมื่อปี 2020

Crew Dragon ของ SpaceX – หลังจากการทดสอบ Crew Demo 2 สำเร็จ SpaceX เองก็เป็นบริษัทเอกชนเจ้าแรกของสหรัฐอเมริกา ที่สามารถนำนักบินอวกาศกลับขึ้นสู่สถานีอวกาศนานาชาติได้ หลังจากที่นาซ่าจ้างทาง ROSCOSMOS (รัฐวิสาหกิจรอสคอสมอส) เพราะนาซ่าเองก็ปลดประจำการกระสวยอวกาศในปี 2011 เป็นเวลากว่า 9 ปี SpaceX เองจัดเป็นบริษัทที่สามารถส่งมนุษย์ขึ้นไปบนสถานีอวกาศนานาชาติได้ไม่พอ ยังเป็นบริษัทแรกที่นำแคปซูลมาใช้ซ้ำ นั่นคือ Crew Dragon Endeavour ในภารกิจ Crew Dragon Demo 2 และ Crew 2

เครื่องบินอวกาศ

บทความหลัก: spaceplane

 
ยานอวกาศโคลัมเบีย (อังกฤษ: Columbia orbiter) กำลังลงจอด

ยานที่มีมนุษย์บางลำได้รับการออกแบบมาเฉพาะให้สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ และยานเหล่านี้มักจะเรียกว่า spaceplanes ตัวอย่างแรกของยานดังกล่าวคือ North X-15 ซึ่งทำการบินที่มีมนุษย์สองเที่ยวบินที่ความสูงกว่า 100 กิโลเมตรในปี 1960 ยานอวกาศที่นำมาใช้ใหม่ได้เป็นครั้งแรก, X-15, ถูกปล่อยบนอากาศในวิถีโค้งแบบ suborbital เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม 1963

ยานอวกาศโคจรที่นำกลับมาใช้ใหม่ได้เป็นบางส่วนลำแรกเป็นแบบไม่ใช่แคปซูลและมีปีก, กระสวยอวกาศ, ถูกส่งขึ้นโดยสหรัฐอเมริกาในวันครบรอบปีที่ 20 ของการบินของ ยูริ กาการิน ในวันที่ 12 เมษายน 1981 ระหว่างยุคกระสวย, ยานแบบ orbiters 6 ลำถูกสร้างขึ้น, ทุกลำทำการบินในชั้นบรรยากาศและห้าลำในจำนวนนั้นทำการบินในอวกาศ. ยาน Enterprise ถูกใช้เฉพาะการทดสอบการบินเข้าหาและการลงจอด, การปล่อยตัวจากทางด้านหลังของโบอิ้ง 747 SCA และการร่อนไปหลุมจอดที่เอ็ดเวิร์ด AFB แคลิฟอร์เนีย. กระสวยอวกาศลำแรกที่ได้บินไปในอวกาศคือยานโคลัมเบียตามด้วยชาเลนเจอร์, Discovery, Atlantis และ Endeavour. Endeavour ถูกสร้างขึ้นเพื่อแทนที่ชาเลนเจอร์เมื่อมันหายไปในเดือนมกราคมปี 1986 โคลัมเบียระเบิดขึ้นในระหว่างการบินกลับในเดือนกุมภาพันธ์ 2003

ยานอวกาศที่นำกลับมาใช้ใหม่ได้บางส่วนโดยอัตโนมัติเป็นลำแรกคือ Buran (พายุหิมะ) ถูกส่งขึ้นไปโดยสหภาพโซเวียตเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 1988 แม้ว่ามันจะทำการบินเพียงครั้งเดียว spaceplane แบบนี้ถูกออกแบบมาสำหรับลูกเรือหนึ่งคนและคล้ายกันมากกับกระสวยอวกาศของสหรัฐ ถึงแม้ว่าเครื่องเพิ่มกำลังช่วง Drop-off จะใช้ตัวขับเคลื่อนเป็นของเหลวและเครื่องยนต์หลักของมันติดตั้งอยู่ที่ฐานของบริเวณที่น่าจะเป็นถังเชื้อเพลิงภายนอกในกระสวยของอเมริกา การขาดเงินทุน, ความยุ่งยากจากการสลายตัวของสหภาพโซเวียตที่ขัดขวางมันไม่ให้ทำการบินอีกต่อไป กระสวยอวกาศได้รับการแก้ไขเรื่อยมาเพื่อให้ตัวมันเองสามารถกลับเข้าประจำการในกรณีที่มีความจำเป็น

ต่อวิสัยทัศน์สำหรับการสำรวจอวกาศ กระสวยอวกาศได้เกษียณอายุในปี 2011 สาเหตุหลักมาจากอายุมากและค่าใช้จ่ายของโครงการที่สูงถึงกว่าพันล้านดอลลาร์ต่อเที่ยวบิน. บทบาทการขนส่งมนุษย์ของกระสวยจะถูกแทนที่โดยยานสำรวจลูกเรือ (อังกฤษ: Crew Exploration Vehicle (CEV)) ที่นำกลับมาใช้ใหม่บางส่วนไม่เกินปี 2014. บทบาทของการขนส่งสินค้าหนักของกระสวยจะถูกแทนที่ด้วยจรวดใช้แล้วทิ้งเช่น Evolved Expendable Launch Vehicle (EELV) หรือ Shuttle Derived Launch Vehicle

ยาน 'SpaceShipOne' ของบริษัท Scaled Composites เป็น spaceplane แบบ suborbital ที่นำกลับมาใช้ใหม่ได้ที่บรรทุกนักบิน ไมค์ Melvill และไบรอัน Binnie ในเที่ยวบินต่อเนื่องในปี 2004 เพื่อชนะรางวัล Ansari X Prize. บริษัทยานอวกาศจะสร้างทายาทของมันคือ สเปซชิปทู (SpaceShipTwo) ขบวนของยาน สเปซชิปทู ที่ดำเนินการโดย Virgin Galactic ควรเริ่มต้นยานอวกาศเอกชนที่นำกลับมาใช้ใหม่ได้เพื่อขนส่งผู้โดยสารจ่ายเงินในปี 2014

บริษัท XCOR Aerospace ยังวางแผนที่จะเริ่มต้นการบริการยานอวกาศเชิงพาณิชย์แบบ suborbital ด้วยยานชื่อ Lynx Rocketplane ผ่านการเป็นหุ้นส่วนกับบริษัท RocketShip Tours การทดสอบเที่ยวบินแรกมีการวางแผนในปี 2014

ยานอวกาศไร้มนุษย์

 
กล้องส่องทางไกล Hubble Space
 
ยานขนถ่ายอัตโนมัติ Jules Verne (อังกฤษ: Jules Verne Automated Transfer Vehicle (ATV)) บินเข้าหาสถานีอวกาศนานาชาติในวันจันทร์ที่ 31 มีนาคม 2008
ถูกออกแบบเป็นแบบมีมนุษย์แต่นำไปใช้บินอย่างยานอวกาศที่ไร้มนุษย์เท่านั้น
  • Zond/L1 – แคปซูลบินผ่านดวงจันทร์
  • L3 – แคปซูลและยานลงดวงจันทร์
  • TKS – แคปซูล
  • Buran -- กระสวยของโซเวียต
กึ่งมีมนุษย์ – มีมนุษย์อย่างสถานีอวกาศหรือส่วนของสถานีอวกาศ
  • Progress – ยานอวกาศบรรทุกสินค้าของ USSR/Russia แบบไร้มนุษย์
  • TKS – ยานอวกาศบรรทุกสินค้าและโมดูลสถานีอวกาศของ USSR/Russia แบบไร้มนุษย์
  • Automated Transfer Vehicle (ATV) – ยานอวกาศบรรทุกสินค้าแบบไร้มนุษย์ของยุโรป
  • H-II Transfer Vehicle (HTV) – ยานอวกาศบรรทุกสินค้าแบบไร้มนุษย์ของญี่ปุ่น
  • Dragon (ยานอวกาศ) - ยานอวกาศแบบไร้มนุษย์ส่วนบุคคล (SpaceX)
  • Tianzhou 1 - ยานอวกาศแบบไร้มนุษย์ของจีน
ดาวเทียมวงโคจรโลก
  • Explorer 1 – ดาวเทียมดวงแรกของสหรัฐ
  • Project SCORE – ดาวเทียมสื่อสารดวงแรก
  • Solar and Heliospheric Observatory (SOHO) - โคจรรอบดวงอาทิตย์ใกล้ L1
  • Sputnik 1 – ดาวเทียมดวงแรกของโลก
  • Sputnik 2 – สัตว์ตัวแรกในวงโคจร (ไลก้า)
  • Sputnik 5 – แคปซูลตัวแรกที่กู้ได้จากวงโคจร (ตัวที่มาก่อน Vostok ) – สัตว์รอดชีวิต
  • Syncom – ดาวเทียมสื่อสารแบบ geosynchronous ดวงแรก
  • Hubble Space Telescope – การสำรวจวงโคจรที่ใหญ่ที่สุด
  • Boeing X-37]] – spaceplane

ณ เดือนมิถุนายน 2011, มียานอวกาศมากกว่า 2,000 ลำในวงโคจร[ต้องการอ้างอิง]

สำรวจดวงจันทร์
  • Clementine probe – ปฏิบัติการของนาวีสหรัฐ, วงโคจรดวงจันทร์, ไฮโดรเจนถูกตรวจพบที่ขั้ว
  • Kaguya (SELENE) (orbiter) JPN – วงโคจรดวงจันทร์
  • Luna 1 – บินผ่านดวงจันทร์ครั้งแรก
  • Luna 2 – กระทบดวงจันทร์ครั้งแรก
  • Luna 3 – ภาพแรกของดวงจันทร์ด้านไกล
  • Luna 9 – ลงจอดนุ่มบนดวงจันทร์ครั้งแรก
  • Luna 10 Orbiter – วงโคจรดวงจันทร์ลำแรก
  • Luna 16 – ยานกู้คืนตัวอย่างจากดวงจันทร์แบบไร้มนุษย์
  • Lunar (orbiter) – ชุดของความสำเร็จอย่างมากของยานอวกาศที่ทำแผนที่ดวงจันทร์
  • Lunar Prospector – การตรวจพบไฮโดรเจนที่ขั้วของดวงจันทร์ได้รับการยืนยัน
  • Lunar Reconnaissance Orbiter – บ่งชี้สถานที่ลงจอดที่ปลอดภัยและตำแหน่งของทรัพยากรบนดวงจันทร์
  • Lunokhod - ยานตระเวนของโซเวียต
  • SMART-1 ESA – กระทบดวงจันทร์
  • Surveyor – ยานลงจอดนุ่มลำแรกของสหรัฐ
  • Chandrayaan 1 – ปฏิบัติการดวงจันทร์ครั้งแรกของอินเดีย
 
มโนภาพของ Cassini–Huygens เมื่อมันเข้าสู่วงโคจรของดาวเสาร์
 
มโนภาพของ Phoenix spacecraft เมื่อมันลงจอดบนดาวอังคาร
สำรวจดาวเคราะห์
  • Akatsuki (orbiter) JPN – สำรวจดาวศุกร์
  • Cassini–Huygens (orbiter) – สำรวจดาวเสาร์ลำแรก + ลงจอดบน Titan (บริวารดาวเสาร์)
  • Curiosity rover - ยานตระเวนส่งไปดาวอังคารโดยนาซาในปี 2012
  • Galileo (orbiter) – ยานสำรวจดาวพฤหัสบดีลำแรก+ทดสอบการร่อนลง
  • IKAROS JPN – ยานอวกาศที่ใช้พลังงานจากดวงอาทิตย์ลำแรก
  • Mariner 4 – บินผ่านดาวอังคารลำแรก, ภาพใกล้และคมชัดสูงของดาวอังคาร
  • Mariner 9 (orbiter) – ยานสำรวจดาวอังคารดวงแรก
  • Mariner 10 – บินผ่านดาวพุธลำแรก, ภาพใกล้ชิดภาพแรก
  • Mars Exploration Rover – ตระเวนดาวอังคาร
  • Mars Express (orbiter) – สำรวจดาวอังคาร
  • Mars Global Surveyor (orbiter) – สำรวจดาวอังคาร
  • Mars Reconnaissance Orbiter – เป็น orbiter สำรวจดาวอังคารที่ให้ข้อมูลภูมิอากาศ, ภาพถ่าย, ข้อมูลเรดาร์พื้นผิวล่างและการสื่อสารที่ก้าวหน้า
  • MESSENGER – ยานแบบ orbiter ที่สำรวจดาวพุธลำแรก(ไปถึงปี 2011)
  • Mars Pathfinder – ยานลงจอดดาวอังคาร + ยานตระเวน
  • New Horizons – บินผ่านดาวพลูโตลำแรก (ไปถึงปี 2015)
  • Pioneer 10 – บินผ่านดาวพฤห้สบดีลำแรก, ภาพใกล้ชิดครั้งแรก
  • Pioneer 11 – บินผ่านดาวพฤห้สบดีลำที่สอง + บินผ่านดาวเสาร์ครั้งแรก (ภาพใกล้ชิดดาวเสาร์ครั้งแรก)
  • Pioneer Venus – ยานแบบ orbiter สำรวจดาวศุกร์ลำแรก+ยานลงจอด
  • Vega 1 – บอลลูนปล่อยเข้าสู่บรรยากาศของดาวศุกร์และยานลงพื้น (ปฏิบัติการร่วมกับ Vega 2), ยานแม่บินต่อไปยังดาวหางฮัลเลย์[ต้องการอ้างอิง]
  • Venera 4 – ลงพื้นนุ่มนวลครั้งแรกบนดาวเคราะห์อื่น (ดาวศุกร์)
  • Viking 1 – ลงพื้นนุ่มนวลครั้งแรกบนดาวอังคาร
  • Voyager 2 – บินผ่านดาวพฤหัส + บินผ่านดาวเสาร์ + บินผ่าน/ภาพของดาวเนปจูนและดาวยูเรนัสครั้งแรก
อื่นๆ – อวกาศลึก
  • Cluster
  • Deep Space 1
  • Deep Impact (spacecraft)
  • Genesis (spacecraft)
  • Hayabusa (spacecraft)
  • Near Earth Asteroid Rendezvous
  • Stardust (spacecraft)
  • STEREO – การตรวจรับแบบ Heliospheric และดวงอาทิตย์ (อังกฤษ: Heliospheric and solar sensing); ภาพแรกของดวงอาทิตย์ทั้งดวง
  • WMAP
ยานอวกาศที่เร็วที่สุด
  • Helios I & II Solar Probes (252,792 กม/ชม หรือ 157,078 ไมล์/ชม)
ยานอวกาศที่ไปไกลที่สุดนับจากดวงอาทิตย์
  • Pioneer 10 ที่ 89.7 Astronomical unit (AU) เมื่อปี 2005, เดินทางออกข้างนอกที่ประมาณ 2.6 AU/ปี
  • Pioneer 11
  • Voyager 1 ที่ 106.3 (AU) เมื่อเดือนกรกฎาคม 2008, เดินทางออกข้างนอกที่ประมาณ 3.6 AU/ปี
  • Voyager 2 ที่ 85.49 (AU) เมื่อเดือนกรกฎาคม 2008, เดินทางออกข้างนอกที่ประมาณ 3.3 AU/ปี

โครงการที่ไม่มีเงินอุดหนุนหรือถูกยกเลิก

 
การทดสอบการบินครั้งแรกของ Delta Clipper-Experimental Advanced (DC-XA), ระบบต้นแบบการส่งขึ้น
อากาศยานที่มีมนุษย์
  • Shuguang – แค็ปซูลของจีน
  • Soyuz Kontakt – แค็ปซูลของโซเวียต
  • Almaz – สถานีอวกาศของโซเวียต
  • Manned Orbiting Laboratory – สถานีอวกาศของสหรัฐ
  • Altair (spacecraft) – ยานลงพื้นของยาน Orion ของสหรัฐ
spaceplanes หลายขั้นตอน
  • X-20 – กระสวยของสหรัฐ
  • Mikoyan-Gurevich MiG-105 (กระสวยเกลียว) ของโซเวียต
  • กระสวย Buran ของโซเวียต
  • กระสวย Hermes ของ ESA
  • Kliper กึ่งกระสวย/กึ่งแค็ปซูลของรัสเซีย
  • กระสวย HOPE-X ของญี่ปุ่น
  • กระสวย Shuguang Project 921-3 ของจีน
SSTO spaceplanes
  • RR/HOTOL ขององค์การบริหารอวกาศของอังกฤษ
  • Hopper Orbiter ของ ESA
  • DC-X (Delta Clipper) ของ McDonnell Douglas
  • Rotary Rocket - Roton แบบ Rotored-Hybrid
  • VentureStar ของ Lockheed-Martin

ยานอวกาศระหว่างการพัฒนา

 
Orion spacecraft

มีมนุษย์

  • Starship (Big Falcon Rocket) ของ SpaceX - ยานอวกาศขนาดใหญ่ที่สามารถดัดแปลงใช้ได้หลายวัตถุประสงค์
  • Orion ยานลูกเรือหลายวัตถุประสงค์ของนาซา – แค็ปซูล
  • CST-100 ของ Boeing – แค็ปซูล
  • Dream Chaser (spacecraft) ของ Sierra Nevada Corporation – orbital spaceplane
  • Spaceship Two (spacecraft) ของ The Spaceship Company – suborbital spaceplane
  • New Shepard ของ Blue Origin – VTVL แค็ปซูล
  • Lynx rocketplane ของ XCOR – suborbital spaceplane
  • Prospective Piloted Transport System (PPTS) ของ RKA – แค็ปซูล
  • Shenzhou (spacecraft) ของ CNSA – แค็ปซูล
  • Advanced Crew Transportation System ของ ESA – แค็ปซูล
  • Orbital Vehicle ของ Iranian Space Agency – แค็ปซูล
  • Orbital Vehicle ของ ISRO – แค็ปซูล

ไร้มนุษย์

  • SpaceX Dragon – ขนส่งสินค้าไป ISS
  • Orbital Sciences Cygnus – ขนส่งสินค้าไป ISS
  • CNES - Netlander ดาวอังคาร
  • James Webb Space Telescope (ล่าช้า)
  • Darwin14 ยานทดสอบของ ESA
  • Mars Science Laboratory ตระเวน
  • Shenzhou spacecraft สินค้า
  • Terrestrial Planet Finder ยกเลิก ทดสอบ
  • System F6; Fractionated Spacecraft เครื่องสาธิตของ DARPA
  • Skylon (spacecraft) ของ Reaction Engines Limited

ระบบย่อย

ระบบการทำงานของยานอวกาศประกอบไปด้วยระบบย่อยต่างๆมากมาย ขึ้นอยู่กับลักษณะการปฏิบัติการ ระบบย่อยประกอบด้วย "bus" ของยานอวกาศและอาจรวมทั้ง: ระบบกำหนดการวางตัวและการควบคุม (อังกฤษ: Attitude Determination and Control (ADAC หรือ ADC หรือ ACS)), ระบบนำทางนำร่องและควบคุม ({{lang-en|Guidance,Navigation and Control (GNC หรือ GN&C), ระบบการสื่อสาร (Comms), ระบบคำสั่งและจัดการข้อมูล (อังกฤษ: Command and Data Handling (CDH หรือ C&DH)), ระบบพลังงาน (EPS), ระบบควบคุมอุณหภูมิ (TCS), ระบบการขับเคลื่อน (อังกฤษ: Propulsion), และโครงสร้าง ส่วนที่ต่ออยู่กับบัสคือสัมภาระ (อังกฤษ: Payload)

การช่วยชีวิต
ยานอวกาศที่มีไว้สำหรับการบินในอวกาศของมนุษย์ยังต้องมีระบบช่วยชีวิตของลูกเรือ
 
ตัวขับดันระบบควบคุมปฏิกิริยา (อังกฤษ: Reaction control system thrusters) ที่ด้านหน้าของกระสวยอวกาศสหรัฐ
การควบคุมการวางตัว
ยานอวกาศต้องการระบบย่อยเพื่อควบคุมการวางตัวให้ถูกต้องในอวกาศและตอบสนองกับแรงบิดและแรงอื่นๆภายนอกอย่างเหมาะสม ระบบนี้ประกอบด้วย เซ็นเซอร์และตัวบังคับ (อังกฤษ: actuator)ซึ่งทำงานร่วมกับลำดับขั้นตอนที่แน่นอนซึ่งใช้ในการควบคุม ระบบจะช่วยหันไปที่จุดที่เหมาะสมสำหรับวัตถุประสงค์ทางวิทยาศาสตร์, หันไปที่ดวงอาทิตย์เพื่อให้แสงอาทิตย์ตกกระทบกับชุดของเซลล์แสงอาทิตย์เต็มที่หรือหันไปทางโลกเพื่อการสื่อสาร
การนำทางนำร่องและควบคุม
การนำทางหมายถึงการคำนวณของคำสั่ง (มักจะทำโดยระบบย่อย CDH) ที่จำเป็นสำหรับคัดท้ายยานอวกาศไปในทิศทางที่ต้องการ การนำร่องหมายถึงการกำหนดองค์ประกอบของวงโคจรหรือตำแหน่งของยานอวกาศ การควบคุมหมายถึงการปรับเปลี่ยนเส้นทางของยานอวกาศเพื่อที่จะตอบสนองความต้องการของภารกิจ. ในภารกิจบางอย่าง GNC และ ADC จะรวมกันเป็นหนึ่งระบบย่อยของยานอวกาศ[ต้องการอ้างอิง]
คำสั่งและการจัดการข้อมูล
ระบบย่อย CDH รับคำสั่งจากระบบย่อยการสื่อสาร, ดำเนินการตรวจสอบและการถอดรหัสของคำสั่ง, และการกระจายคำสั่งไปยังระบบย่อยที่เหมาะสมและส่วนประกอบอื่นของยานอวกาศ. CDH ยังได้รับข้อมูลภายในและข้อมูลวิทยาศาสตร์จากระบบย่อยยานอวกาศและส่วนประกอบอื่น และเก็บข้อมูลในรูปแพคเกจบนเครื่องบันทึกข้อมูลหรือการส่งไปยังพื้นดินผ่านทางระบบย่อยการสื่อสาร ฟังก์ชันอื่นๆของ CDH รวมถึงการบำรุงรักษานาฬิกาและการตรวจสอบสถานะภาพของสุขภาพของยานอวกาศ
พลังงาน
ยานอวกาศต้องผลิตพลังงานไฟฟ้าและระบบย่อยเพื่อกระจายไฟฟ้าเพื่อเปิดระบบย่อยต่างๆ. สำหรับยานอวกาศที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์ แผงเซลล์แสงอาทิตย์มักถูกนำมาใช้ในการผลิตพลังงานไฟฟ้า. ยานอวกาศที่ออกแบบมาเพื่อทำงานในสถานที่ห่างไกลมากขึ้นเช่นดาวพฤหัสบดี อาจใช้เครื่องกำเนิดไฟฟ้าแบบ Radioisotope Thermoelectric (RTG). พลังงานไฟฟ้าจะถูกส่งผ่านเครื่องปรับสภาพไฟฟ้าก่อนที่จะผ่านหน่วยกระจายกำลังไปตามบัสไฟฟ้าไปยังชิ้นส่วนยานอวกาศอื่นๆ โดยทั่วไปแบตเตอรี่จะมีการเชื่อมต่อไปที่บัสผ่านทางตัวควบคุมการชาร์จแบตเตอรี่, และแบตเตอรี่จะถูกใช้ในการให้พลังงานไฟฟ้าในช่วงเวลาเมื่อพลังงานหลักไม่สามารถใช้ได้เช่นเมื่อยานอวกาศอยู่ในวงโคจรต่ำของโลก (LEO) และถูกโลกบดบัง
ควบคุมความร้อน
ยานอวกาศจะต้องได้รับการออกแบบมาเพื่อทนต่อการขนส่งผ่านชั้นบรรยากาศของโลกและสภาพแวดล้อมในอวกาศ พวกมันจะต้องทำงานในสูญญากาศที่มีอุณหภูมิที่อาจเกิดขึ้นตั้งแต่ในหลายร้อยองศาเซลเซียสเช่นเดียวกับที่ (ถ้าต้องบินกลับ) ในพลาสมา. วัสดุดังกล่าวจึงจำเป็นต้องมีคุณสมบัติอย่างใดอย่างหนึ่งคือมีจุดหลอมละลายที่อุณหภูมิสูงเช่นวัสดุที่มีความหนาแน่นต่ำอย่าง beryllium และแรงเสริมคาร์บอน-คาร์บอน(อังกฤษ: reinforced carbon-carbon), หรือ (อาจจะเป็นเพราะความต้องการความหนาที่ลดลงแม้จะมีความหนาแน่นของมันจะมีสูง) ทังสเตนหรือสารระเหยคาร์บอน/คาร์บอนถูกนำมาใช้. ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับรายละเอียดภารกิจ, ยานอวกาศอาจจำเป็นต้องทำงานบนพื้นผิวของดาวเคราะห์อื่น. ระบบย่อยการควบคุมความร้อนสามารถเป็นแบบพาสซีฟ, ขึ้นอยู่กับการเลือกใช้วัสดุที่มีคุณสมบัติการแผ่รังสีเฉพาะ. การควบคุมความร้อนที่จริงจังจะใช้ประโยชน์จากเครื่องทำความร้อนไฟฟ้าและตัวกระตุ้น(อังกฤษ: actuators) บางอย่างเช่นบานเกล็ดในการควบคุมอุณหภูมิของอุปกรณ์ให้อยู่ในช่วงใดช่วงหนึ่ง
การขับเคลื่อน
ยานอวกาศอาจมีหรืออาจไม่มีระบบย่อยการขับเคลื่อน, ขึ้นอยู่กับว่ารายละเอียดภารกิจจำเป็นต้องมีการขับเคลื่อนหรือไม่. ยานอวกาศ Swift เป็นตัวอย่างหนึ่งของยานอวกาศที่ไม่มีระบบย่อยการขับเคลื่อน. โดยปกติแม้ว่า ยานอวกาศแบบวงโคจรต่ำ (LEO) จะมีระบบย่อยการขับเคลื่อนสำหรับการปรับระดับความสูง (การปรับตำแหน่งโดยแรงต้าน (อังกฤษ: drag make-up maneuvers)) และการปรับตำแหน่งโดยการเอียง (อังกฤษ: inclination adjustment maneuvers) ระบบขับเคลื่อนยังเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับยานอวกาศที่ดำเนินการปรับตำแหน่งการจัดการโมเมนตัม (อังกฤษ: momentum management maneuvers) องค์ประกอบของระบบย่อยการขับเคลื่อนทั่วไปจะรวมถึงเชื้อเพลิง, ถังเก็บ, วาล์ว, ท่อ, และตัวขับดันหรือเครื่องยนต์จรวด. ระบบการควบคุมความร้อนจะมีการเชื่อมต่อกับระบบย่อยการขับเคลื่อนโดยการตรวจสอบอุณหภูมิของส่วนประกอบเหล่านั้น, และโดยการให้ความร้อนล่วงหน้ากับถังและตัวขับดันเพื่อเตรียมการสำหรับการปรับตำแหน่งยานอวกาศ
โครงสร้าง
ยานอวกาศที่จะต้องได้รับการออกแบบมาเพื่ออดทนต่อโหลดช่วงยกตัวที่แยกกันไม่ได้กับยานยกตัว, และต้องมีหนึ่งจุดของสิ่งที่แนบสำหรับทุกระบบย่อยอื่นๆ. ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับรายละเอียดภารกิจ, ระบบย่อยของโครงสร้างอาจต้องทนต่อโหลดที่แยกไม่ออกตอนเข้าสู่บรรยากาศของดาวเคราะห์อื่นและลงจอดบนพื้นผิวของดาวเคราะห์อื่น
น้ำหนักบรรทุก
ขึ้นอยู่กับภารกิจของยานอวกาศและได้รับพิจารณาว่าเป็นส่วนหนึ่งของยานอวกาศ "ที่ต้องจ่าย". payloads ทั่วไปอาจรวมถึงเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ (เช่น กล้อง, กล้องโทรทรรศน์หรือเครื่องตรวจจับอนุภาค), สินค้า,หรือลูกเรือมนุษย์
ภาคพื้นดิน
แม้ว่าจะไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งในทางเทคนิคของยานอวกาศ, มันมีความสำคัญต่อการทำงานของยานอวกาศ องค์ประกอบทั่วไปของภาคพื้นดินที่ใช้ในระหว่างการดำเนินงานปกติจะรวมถึงสิ่งอำนวยความสะดวกในการดำเนินภารกิจที่ทีมงานในเที่ยวบินนั้นทำการ operate ยานอวกาศ, การประมวลผลและจัดเก็บข้อมูล, สถานีภาคพื้นดินจะส่งสัญญาณและรับสัญญาณจากยานอวกาศและเสียงและเครือข่ายสื่อสารข้อมูลเพื่อเชื่อมต่อกับทุกองค์ประกอบในภารกิจ
ยานพาหนะในการส่งขึ้น
ยานพาหนะในการส่งขึ้นจะขับเคลื่อนยานอวกาศจากพื้นผิวโลกผ่านบรรยากาศและเข้าสู่วงโคจร, วงโคจรที่แน่นอนขึ้นอยู่กับการกำหนดค่าการปฏิบัติภารกิจ ยานพาหนะการส่งขึ้นอาจจะใช้แล้วทิ้งหรือนำมาใช้ใหม่ได้
 
จรวด Proton Rocket นี้ถูกปล่อยเพื่อนำยานอวกาศหรือดาวเทียมขึ้นสู่วงโคจรของโลก

อ้างอิง

  1. Walter A. McDougall "Shooting the duck," American Heritage, Winter 2010.
  2. ". . .On October 4, 1957 Sputnik I shot into orbit and forcibly opened the Space Age." Swenson, L, Jr, Grimwood, J. M. Alexander, C.C. ¶¶¶ 66-62424
  3. "The Rosetta ground segment". ESA.int. 2004-02-17. สืบค้นเมื่อ 2008-02-11.
  • ยานอวกาศ จากไทยกู๊ดวิว


ยานอวกาศ, บทความน, งต, องการเพ, มแหล, งอ, างอ, งเพ, อพ, จน, ความถ, กต, อง, ณสามารถพ, ฒนาบทความน, ได, โดยเพ, มแหล, งอ, างอ, งตามสมควร, เน, อหาท, ขาดแหล, งอ, างอ, งอาจถ, กลบออกเน, อหาในบทความน, าสม, โปรดปร, บปร, งข, อม, ลให, เป, นไปตามเหต, การณ, จจ, นหร, อล, าส,. bthkhwamniyngtxngkarephimaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxng khunsamarthphthnabthkhwamniidodyephimaehlngxangxingtamsmkhwr enuxhathikhadaehlngxangxingxacthuklbxxkenuxhainbthkhwamnilasmy oprdprbprungkhxmulihepniptamehtukarnpccubnhruxlasud duhnaxphiprayprakxbrawngsbsnkb yansarwcxwkas yanxwkas xngkvs spacecraft khuxyanphahna yanhruxekhruxngyntthixxkaebbmaephuxbinipinxwkas yanxwkasthuknamaichsahrbwtthuprasngkhthihlakhlay rwmthungkarsuxsarothrkhmnakhm karsngektolk karxutuniymwithya karnathang karsarwcdawekhraahaelakarkhnsngmnusyaelasinkhayanxwkasosyusmakkwa 100 la idbintngaetpi 1967 aelapccubnkalngrxngrbsthanixwkasnanachati yankraswyxwkaskhxngshrthidbinmaaelw 135 khrngtngaetpi 1981 thung 2011 ephuxsnbsnunokhrngkarhxngptibtikarxwkas xngkvs Spacelab sthanixwkasemiyraelasthanixwkasnanachati phaphaesdngkaryingkhunsuxwkaskhrngaerkkhxngyan okhlmebiy inkarbininxwkasaebbwngokhcryxy yanxwkasekhasuxwkasdannxk caknnkklbmayngphunphiwolkodyimidkhunipsuwngokhcrhlk aetsahrbkarbininxwkasaebbwngokhcrhlk xngkvs orbital spaceflight yanxwkasekhasuwngokhcrpidrxbolkhruxrxbwtthunxkolkhruxdwngdawxun yanxwkasthiichsahrbkarbinkhxngmnusycabrrthuklukeruxhruxphuodysarbnyancakcuderimtnhruxsthanixwkasinwngokhcrethann inkhnathi yanthiichsahrbpharkichunyntxwkascathangandwytnexnghruxcakrayaiklxyangidxyanghnung yanxwkashunyntthiichephuxsnbsnunkarwicythangwithyasastrepnyansarwcxwkas yanxwkashunyntthiyngkhngxyuinwngokhcrrxbolkepndawethiym miephiyngyansarwcrahwangdwngdawimkilaechniphoxeniyr 10 aela 11 Voyager 1 aela 2 aela New Horizons thipccubnyngxyuinwngokhcrthihludxxkcakrabbsuriyakhxngerayanxwkasthixyuinwngokhcrxaccasamarthkukhunidaetbangthikimid odywithikaryxnklbipyngolk phwkmnxaccathukaebngxxkepnaekhpsulthiimmipikhruxekhrixngbinxwkasthimipikpccubnmnusyidprasbkhwamsaercinkarbininxwkas aetmiephiyngyisibsipraethsethannthimiethkhonolyixwkasechn rsesiy Roscosmos kxngkalngxwkasrsesiy shrthxemrika nasa kxngthphxakasshrthaelaxikhlaybristhkarbinxwkasechingphanichy rthsmachikkhxngxngkhkarxwkasyuorp satharnrthprachachncin xngkhkarbriharxthwkasaehngchaticin yipun sankngansarwcxwkasyipun aelaxinediy xngkhkarwicyxwkasxinediy enuxha 1 prawti 2 yanxwkasinxditaelapccubn 2 1 yanxwkasthimimnusy 2 1 1 ekhruxngbinxwkas 2 2 yanxwkasirmnusy 2 3 okhrngkarthiimmienginxudhnunhruxthukykelik 3 yanxwkasrahwangkarphthna 3 1 mimnusy 3 2 irmnusy 4 rabbyxy 5 xangxingprawti aekikh yanxwkasekhruxngaerk Sputnik sputnikepndawethiymdwngaerk mnthuksngkhunwngokhcrtarupikhodyshphaphosewiythruxtxnnikhuxrsesiyemuxwnthi 4 tulakhm 1957 karepidtwkhrngnnnaipsukarphthnaihmthangkaremuxng karthhar ethkhonolyiaelawithyasastr inkhnathikarepidtwkhxngsputnikepnehtukarnediywaetkepncuderimtnkhxngyukhxwkas 1 2 nxkehnuxcakmulkhakhxngmninthanathiepnethkhonolyiaerk sputnik yngchwyinkarrabukhwamhnaaennkhxngchnbrryakasdanbn xngkvs upper atmospheric layers density phankarwdkarepliynaeplngkhxngwngokhcrkhxngdawethiym nxkcakniyngihkhxmulekiywkbkarkracaysyyanwithyuinixoxonsefiys inotrecnaerngdnsungintwyankhxngdawethiymthiphidphladidihoxkasaerksahrbkartrwcsxbsaekddaw thasaekddawthaluepluxknxkkhxngdawethiymkcathuktrwcphbodykhxmulxunhphumicathuksngklbipyngolk txngkarxangxing sputnik 1 thukepidtwinchwngpifisikssaklcak sthanielkhthi 1 5 thi Tyuratam range thi 5 in Kazakh SSR txnniepn Baikonur khxsomodrm dawethiymidedinthangthi 29 000 kiolemtr 18 000 iml txchwomng ichewla 96 2 nathiephuxihkhrbrxbwngokhcraelaplxysyyanwithyuthi 20 005 aela 40 002 MHzinkhnathisputnik 1 epnyanxwkasthimimnusylaaerkthiokhcrrxbolk wtthuthimnusysrangkhunxunkxnhnaniidkhunmathungthiradbkhwamsung 100 kiolemtrsungepnkhwamsungthikahndodyxngkhkarrahwangpraethskhux Federation Aeronautique Internationale ephuxnbwaepnkarbininxwkas radbkhwamsungnieriykwa Karman line odyechphaainpi 1940s mikarepidtwephuxkarthdsxbhlaykhrngkhxngcrwd V 2 bangekhruxngincanwnnnkhunsuradbkhwamsungkwa 100 kmyanxwkasinxditaelapccubn aekikhyanxwkasthimimnusy aekikh duephimetim raychuxkhxngyanxwkasthimimnusyaelakarbininxwkaskhxngmnusy yanxwkaslaaerk Vostok 1 n pi 2011 miephiyngsampraethsethannthithakarbindwyyanxwkasthimimnusy idaek USSR rsesiy shrthxemrikaaelacin xinediy yipun yuorp xiexsex xihran ekahliit ekahliehnux ednmarkaelaormaeniymiaekhaephnsahrbyanxwkasthimimnusy crwd suborbital thimimnusy yanxwkasthimimnusylaaerkkhux Vostok 1 sungbrrthuknkbinxwkasosewiyt yuri kakarin khunsuxwkasinpi 1961 aelabinrxbolksaerc yngmipharkicxunxikhakhrngthiichinyanxwkas Vostok id yanxwkaslathisxngchux Freedom 7 sungsamarthedinthanginwngokhcryxyinpi 1961 echnknodybrrthuknkbinxwkaschawxemrikn xln echphephirthkhunsukhwamsungkwa 187 kiolemtr 116 iml mipharkicxunxikhakhrngthiichyanxwkas Mercuryykewnkraswyxwkas swnkhxngyanxwkasthimimnusythisamarthkukhunidepnaekhpsulxwkassthanixwkasnanachatimimnusyprackaratngaeteduxnphvscikaynpi 2000 epnkarrwmkarnganrahwangrsesiy shrthxemrika aekhnadaaelapraethsxunxikhlaypraeths yanxwkasthimikhnkhb Crew Dragon khxng SpaceX thipccubnichnganxyangepnthangkaremuxpi 2020 Crew Dragon khxng SpaceX hlngcakkarthdsxb Crew Demo 2 saerc SpaceX exngkepnbristhexkchnecaaerkkhxngshrthxemrika thisamarthnankbinxwkasklbkhunsusthanixwkasnanachatiid hlngcakthinasacangthang ROSCOSMOS rthwisahkicrxskhxsmxs ephraanasaexngkpldpracakarkraswyxwkasinpi 2011 epnewlakwa 9 pi SpaceX exngcdepnbrisththisamarthsngmnusykhunipbnsthanixwkasnanachatiidimphx yngepnbristhaerkthinaaekhpsulmaichsa nnkhux Crew Dragon Endeavour inpharkic Crew Dragon Demo 2 aela Crew 2 ekhruxngbinxwkas aekikh bthkhwamhlk spaceplane yanxwkasokhlmebiy xngkvs Columbia orbiter kalnglngcxd yanthimimnusybanglaidrbkarxxkaebbmaechphaaihsamarthnaklbmaichihmid aelayanehlanimkcaeriykwa spaceplanes twxyangaerkkhxngyandngklawkhux North X 15 sungthakarbinthimimnusysxngethiywbinthikhwamsungkwa 100 kiolemtrinpi 1960 yanxwkasthinamaichihmidepnkhrngaerk X 15 thukplxybnxakasinwithiokhngaebb suborbital emuxwnthi 19 krkdakhm 1963yanxwkasokhcrthinaklbmaichihmidepnbangswnlaaerkepnaebbimichaekhpsulaelamipik kraswyxwkas thuksngkhunodyshrthxemrikainwnkhrbrxbpithi 20 khxngkarbinkhxng yuri kakarin inwnthi 12 emsayn 1981 rahwangyukhkraswy yanaebb orbiters 6 lathuksrangkhun thuklathakarbininchnbrryakasaelahalaincanwnnnthakarbininxwkas yan Enterprise thukichechphaakarthdsxbkarbinekhahaaelakarlngcxd karplxytwcakthangdanhlngkhxngobxing 747 SCA aelakarrxniphlumcxdthiexdewird AFB aekhlifxreniy kraswyxwkaslaaerkthiidbinipinxwkaskhuxyanokhlmebiytamdwychaelnecxr Discovery Atlantis aela Endeavour Endeavour thuksrangkhunephuxaethnthichaelnecxremuxmnhayipineduxnmkrakhmpi 1986 okhlmebiyraebidkhuninrahwangkarbinklbineduxnkumphaphnth 2003yanxwkasthinaklbmaichihmidbangswnodyxtonmtiepnlaaerkkhux Buran phayuhima thuksngkhunipodyshphaphosewiytemuxwnthi 15 phvscikayn 1988 aemwamncathakarbinephiyngkhrngediyw spaceplane aebbnithukxxkaebbmasahrblukeruxhnungkhnaelakhlayknmakkbkraswyxwkaskhxngshrth thungaemwaekhruxngephimkalngchwng Drop off caichtwkhbekhluxnepnkhxngehlwaelaekhruxngynthlkkhxngmntidtngxyuthithankhxngbriewnthinacaepnthngechuxephlingphaynxkinkraswykhxngxemrika karkhadenginthun khwamyungyakcakkarslaytwkhxngshphaphosewiytthikhdkhwangmnimihthakarbinxiktxip kraswyxwkasidrbkaraekikheruxymaephuxihtwmnexngsamarthklbekhapracakarinkrnithimikhwamcaepntxwisythsnsahrbkarsarwcxwkas kraswyxwkasideksiynxayuinpi 2011 saehtuhlkmacakxayumakaelakhaichcaykhxngokhrngkarthisungthungkwaphnlandxllartxethiywbin bthbathkarkhnsngmnusykhxngkraswycathukaethnthiodyyansarwclukerux xngkvs Crew Exploration Vehicle CEV thinaklbmaichihmbangswnimekinpi 2014 bthbathkhxngkarkhnsngsinkhahnkkhxngkraswycathukaethnthidwycrwdichaelwthingechn Evolved Expendable Launch Vehicle EELV hrux Shuttle Derived Launch Vehicleyan SpaceShipOne khxngbristh Scaled Composites epn spaceplane aebb suborbital thinaklbmaichihmidthibrrthuknkbin imkh Melvill aelaibrxn Binnie inethiywbintxenuxnginpi 2004 ephuxchnarangwl Ansari X Prize bristhyanxwkascasrangthayathkhxngmnkhux sepschipthu SpaceShipTwo khbwnkhxngyan sepschipthu thidaeninkarody Virgin Galactic khwrerimtnyanxwkasexkchnthinaklbmaichihmidephuxkhnsngphuodysarcayengininpi 2014bristh XCOR Aerospace yngwangaephnthicaerimtnkarbrikaryanxwkasechingphanichyaebb suborbital dwyyanchux Lynx Rocketplane phankarepnhunswnkbbristh RocketShip Tours karthdsxbethiywbinaerkmikarwangaephninpi 2014 yanxwkasirmnusy aekikh klxngsxngthangikl Hubble Space yankhnthayxtonmti Jules Verne xngkvs Jules Verne Automated Transfer Vehicle ATV binekhahasthanixwkasnanachatiinwncnthrthi 31 minakhm 2008 thukxxkaebbepnaebbmimnusyaetnaipichbinxyangyanxwkasthiirmnusyethannZond L1 aekhpsulbinphandwngcnthr L3 aekhpsulaelayanlngdwngcnthr TKS aekhpsul Buran kraswykhxngosewiytkungmimnusy mimnusyxyangsthanixwkashruxswnkhxngsthanixwkasProgress yanxwkasbrrthuksinkhakhxng USSR Russia aebbirmnusy TKS yanxwkasbrrthuksinkhaaelaomdulsthanixwkaskhxng USSR Russia aebbirmnusy Automated Transfer Vehicle ATV yanxwkasbrrthuksinkhaaebbirmnusykhxngyuorp H II Transfer Vehicle HTV yanxwkasbrrthuksinkhaaebbirmnusykhxngyipun Dragon yanxwkas yanxwkasaebbirmnusyswnbukhkhl SpaceX Tianzhou 1 yanxwkasaebbirmnusykhxngcindawethiymwngokhcrolkExplorer 1 dawethiymdwngaerkkhxngshrth Project SCORE dawethiymsuxsardwngaerk Solar and Heliospheric Observatory SOHO okhcrrxbdwngxathityikl L1 Sputnik 1 dawethiymdwngaerkkhxngolk Sputnik 2 stwtwaerkinwngokhcr ilka Sputnik 5 aekhpsultwaerkthikuidcakwngokhcr twthimakxn Vostok stwrxdchiwit Syncom dawethiymsuxsaraebb geosynchronous dwngaerk Hubble Space Telescope karsarwcwngokhcrthiihythisud Boeing X 37 spaceplanen eduxnmithunayn 2011 miyanxwkasmakkwa 2 000 lainwngokhcr txngkarxangxing sarwcdwngcnthrClementine probe ptibtikarkhxngnawishrth wngokhcrdwngcnthr ihodrecnthuktrwcphbthikhw Kaguya SELENE orbiter JPN wngokhcrdwngcnthr Luna 1 binphandwngcnthrkhrngaerk Luna 2 krathbdwngcnthrkhrngaerk Luna 3 phaphaerkkhxngdwngcnthrdanikl Luna 9 lngcxdnumbndwngcnthrkhrngaerk Luna 10 Orbiter wngokhcrdwngcnthrlaaerk Luna 16 yankukhuntwxyangcakdwngcnthraebbirmnusy Lunar orbiter chudkhxngkhwamsaercxyangmakkhxngyanxwkasthithaaephnthidwngcnthr Lunar Prospector kartrwcphbihodrecnthikhwkhxngdwngcnthridrbkaryunyn Lunar Reconnaissance Orbiter bngchisthanthilngcxdthiplxdphyaelataaehnngkhxngthrphyakrbndwngcnthr Lunokhod yantraewnkhxngosewiyt SMART 1 ESA krathbdwngcnthr Surveyor yanlngcxdnumlaaerkkhxngshrth Chandrayaan 1 ptibtikardwngcnthrkhrngaerkkhxngxinediy monphaphkhxng Cassini Huygens emuxmnekhasuwngokhcrkhxngdawesar monphaphkhxng Phoenix spacecraft emuxmnlngcxdbndawxngkhar sarwcdawekhraahAkatsuki orbiter JPN sarwcdawsukr Cassini Huygens orbiter sarwcdawesarlaaerk lngcxdbn Titan briwardawesar Curiosity rover yantraewnsngipdawxngkharodynasainpi 2012 Galileo orbiter yansarwcdawphvhsbdilaaerk thdsxbkarrxnlng IKAROS JPN yanxwkasthiichphlngngancakdwngxathitylaaerk Mariner 4 binphandawxngkharlaaerk phaphiklaelakhmchdsungkhxngdawxngkhar Mariner 9 orbiter yansarwcdawxngkhardwngaerk Mariner 10 binphandawphuthlaaerk phaphiklchidphaphaerk Mars Exploration Rover traewndawxngkhar Mars Express orbiter sarwcdawxngkhar Mars Global Surveyor orbiter sarwcdawxngkhar Mars Reconnaissance Orbiter epn orbiter sarwcdawxngkharthiihkhxmulphumixakas phaphthay khxmulerdarphunphiwlangaelakarsuxsarthikawhna MESSENGER yanaebb orbiter thisarwcdawphuthlaaerk ipthungpi 2011 Mars Pathfinder yanlngcxddawxngkhar yantraewn New Horizons binphandawphluotlaaerk ipthungpi 2015 Pioneer 10 binphandawphvhsbdilaaerk phaphiklchidkhrngaerk Pioneer 11 binphandawphvhsbdilathisxng binphandawesarkhrngaerk phaphiklchiddawesarkhrngaerk Pioneer Venus yanaebb orbiter sarwcdawsukrlaaerk yanlngcxd Vega 1 bxllunplxyekhasubrryakaskhxngdawsukraelayanlngphun ptibtikarrwmkb Vega 2 yanaembintxipyngdawhanghlely txngkarxangxing Venera 4 lngphunnumnwlkhrngaerkbndawekhraahxun dawsukr Viking 1 lngphunnumnwlkhrngaerkbndawxngkhar Voyager 2 binphandawphvhs binphandawesar binphan phaphkhxngdawenpcunaeladawyuernskhrngaerkxun xwkaslukCluster Deep Space 1 Deep Impact spacecraft Genesis spacecraft Hayabusa spacecraft Near Earth Asteroid Rendezvous Stardust spacecraft STEREO kartrwcrbaebb Heliospheric aeladwngxathity xngkvs Heliospheric and solar sensing phaphaerkkhxngdwngxathitythngdwng WMAPyanxwkasthierwthisudHelios I amp II Solar Probes 252 792 km chm hrux 157 078 iml chm yanxwkasthiipiklthisudnbcakdwngxathityPioneer 10 thi 89 7 Astronomical unit AU emuxpi 2005 edinthangxxkkhangnxkthipraman 2 6 AU pi Pioneer 11 Voyager 1 thi 106 3 AU emuxeduxnkrkdakhm 2008 edinthangxxkkhangnxkthipraman 3 6 AU pi Voyager 2 thi 85 49 AU emuxeduxnkrkdakhm 2008 edinthangxxkkhangnxkthipraman 3 3 AU piokhrngkarthiimmienginxudhnunhruxthukykelik aekikh karthdsxbkarbinkhrngaerkkhxng Delta Clipper Experimental Advanced DC XA rabbtnaebbkarsngkhun xakasyanthimimnusyShuguang aekhpsulkhxngcin Soyuz Kontakt aekhpsulkhxngosewiyt Almaz sthanixwkaskhxngosewiyt Manned Orbiting Laboratory sthanixwkaskhxngshrth Altair spacecraft yanlngphunkhxngyan Orion khxngshrthspaceplanes hlaykhntxnX 20 kraswykhxngshrth Mikoyan Gurevich MiG 105 kraswyekliyw khxngosewiyt kraswy Buran khxngosewiyt kraswy Hermes khxng ESA Kliper kungkraswy kungaekhpsulkhxngrsesiy kraswy HOPE X khxngyipun kraswy Shuguang Project 921 3 khxngcinSSTO spaceplanesRR HOTOL khxngxngkhkarbriharxwkaskhxngxngkvs Hopper Orbiter khxng ESA DC X Delta Clipper khxng McDonnell Douglas Rotary Rocket Roton aebb Rotored Hybrid VentureStar khxng Lockheed Martinyanxwkasrahwangkarphthna aekikh Orion spacecraft mimnusy aekikh Starship Big Falcon Rocket khxng SpaceX yanxwkaskhnadihythisamarthddaeplngichidhlaywtthuprasngkh Orion yanlukeruxhlaywtthuprasngkhkhxngnasa aekhpsul CST 100 khxng Boeing aekhpsul Dream Chaser spacecraft khxng Sierra Nevada Corporation orbital spaceplane Spaceship Two spacecraft khxng The Spaceship Company suborbital spaceplane New Shepard khxng Blue Origin VTVL aekhpsul Lynx rocketplane khxng XCOR suborbital spaceplane Prospective Piloted Transport System PPTS khxng RKA aekhpsul Shenzhou spacecraft khxng CNSA aekhpsul Advanced Crew Transportation System khxng ESA aekhpsul Orbital Vehicle khxng Iranian Space Agency aekhpsul Orbital Vehicle khxng ISRO aekhpsulirmnusy aekikh SpaceX Dragon khnsngsinkhaip ISS Orbital Sciences Cygnus khnsngsinkhaip ISS CNES Netlander dawxngkhar James Webb Space Telescope lacha Darwin14 yanthdsxbkhxng ESA Mars Science Laboratory traewn Shenzhou spacecraft sinkha Terrestrial Planet Finder ykelik thdsxb System F6 Fractionated Spacecraft ekhruxngsathitkhxng DARPA Skylon spacecraft khxng Reaction Engines Limitedrabbyxy aekikhrabbkarthangankhxngyanxwkasprakxbipdwyrabbyxytangmakmay khunxyukblksnakarptibtikar rabbyxyprakxbdwy bus khxngyanxwkasaelaxacrwmthng rabbkahndkarwangtwaelakarkhwbkhum xngkvs Attitude Determination and Control ADAC hrux ADC hrux ACS rabbnathangnarxngaelakhwbkhum lang en Guidance Navigation and Control GNC hrux GN amp C rabbkarsuxsar Comms rabbkhasngaelacdkarkhxmul xngkvs Command and Data Handling CDH hrux C amp DH rabbphlngngan EPS rabbkhwbkhumxunhphumi TCS rabbkarkhbekhluxn xngkvs Propulsion aelaokhrngsrang swnthitxxyukbbskhuxsmphara xngkvs Payload karchwychiwit yanxwkasthimiiwsahrbkarbininxwkaskhxngmnusyyngtxngmirabbchwychiwitkhxnglukerux twkhbdnrabbkhwbkhumptikiriya xngkvs Reaction control system thrusters thidanhnakhxngkraswyxwkasshrth karkhwbkhumkarwangtw yanxwkastxngkarrabbyxyephuxkhwbkhumkarwangtwihthuktxnginxwkasaelatxbsnxngkbaerngbidaelaaerngxunphaynxkxyangehmaasm rabbniprakxbdwy esnesxraelatwbngkhb xngkvs actuator sungthanganrwmkbladbkhntxnthiaennxnsungichinkarkhwbkhum rabbcachwyhnipthicudthiehmaasmsahrbwtthuprasngkhthangwithyasastr hnipthidwngxathityephuxihaesngxathitytkkrathbkbchudkhxngesllaesngxathityetmthihruxhnipthangolkephuxkarsuxsarkarnathangnarxngaelakhwbkhum karnathanghmaythungkarkhanwnkhxngkhasng mkcathaodyrabbyxy CDH thicaepnsahrbkhdthayyanxwkasipinthisthangthitxngkar karnarxnghmaythungkarkahndxngkhprakxbkhxngwngokhcrhruxtaaehnngkhxngyanxwkas karkhwbkhumhmaythungkarprbepliynesnthangkhxngyanxwkasephuxthicatxbsnxngkhwamtxngkarkhxngpharkic inpharkicbangxyang GNC aela ADC carwmknepnhnungrabbyxykhxngyanxwkas txngkarxangxing khasngaelakarcdkarkhxmul rabbyxy CDH rbkhasngcakrabbyxykarsuxsar daeninkartrwcsxbaelakarthxdrhskhxngkhasng aelakarkracaykhasngipyngrabbyxythiehmaasmaelaswnprakxbxunkhxngyanxwkas CDH yngidrbkhxmulphayinaelakhxmulwithyasastrcakrabbyxyyanxwkasaelaswnprakxbxun aelaekbkhxmulinrupaephkhekcbnekhruxngbnthukkhxmulhruxkarsngipyngphundinphanthangrabbyxykarsuxsar fngkchnxunkhxng CDH rwmthungkarbarungrksanalikaaelakartrwcsxbsthanaphaphkhxngsukhphaphkhxngyanxwkasphlngngan yanxwkastxngphlitphlngnganiffaaelarabbyxyephuxkracayiffaephuxepidrabbyxytang sahrbyanxwkasthixyuikldwngxathity aephngesllaesngxathitymkthuknamaichinkarphlitphlngnganiffa yanxwkasthixxkaebbmaephuxthanganinsthanthihangiklmakkhunechndawphvhsbdi xacichekhruxngkaenidiffaaebb Radioisotope Thermoelectric RTG phlngnganiffacathuksngphanekhruxngprbsphaphiffakxnthicaphanhnwykracaykalngiptambsiffaipyngchinswnyanxwkasxun odythwipaebtetxricamikarechuxmtxipthibsphanthangtwkhwbkhumkarcharcaebtetxri aelaaebtetxricathukichinkarihphlngnganiffainchwngewlaemuxphlngnganhlkimsamarthichidechnemuxyanxwkasxyuinwngokhcrtakhxngolk LEO aelathukolkbdbngkhwbkhumkhwamrxn yanxwkascatxngidrbkarxxkaebbmaephuxthntxkarkhnsngphanchnbrryakaskhxngolkaelasphaphaewdlxminxwkas phwkmncatxngthanganinsuyyakasthimixunhphumithixacekidkhuntngaetinhlayrxyxngsaeslesiysechnediywkbthi thatxngbinklb inphlasma wsdudngklawcungcaepntxngmikhunsmbtixyangidxyanghnungkhuxmicudhlxmlalaythixunhphumisungechnwsduthimikhwamhnaaenntaxyang beryllium aelaaerngesrimkharbxn kharbxn xngkvs reinforced carbon carbon hrux xaccaepnephraakhwamtxngkarkhwamhnathildlngaemcamikhwamhnaaennkhxngmncamisung thngsetnhruxsarraehykharbxn kharbxnthuknamaich thngnikhunxyukbraylaexiydpharkic yanxwkasxaccaepntxngthanganbnphunphiwkhxngdawekhraahxun rabbyxykarkhwbkhumkhwamrxnsamarthepnaebbphassif khunxyukbkareluxkichwsduthimikhunsmbtikaraephrngsiechphaa karkhwbkhumkhwamrxnthicringcngcaichpraoychncakekhruxngthakhwamrxniffaaelatwkratun xngkvs actuators bangxyangechnbanekldinkarkhwbkhumxunhphumikhxngxupkrnihxyuinchwngidchwnghnungkarkhbekhluxn yanxwkasxacmihruxxacimmirabbyxykarkhbekhluxn khunxyukbwaraylaexiydpharkiccaepntxngmikarkhbekhluxnhruxim yanxwkas Swift epntwxyanghnungkhxngyanxwkasthiimmirabbyxykarkhbekhluxn odypktiaemwa yanxwkasaebbwngokhcrta LEO camirabbyxykarkhbekhluxnsahrbkarprbradbkhwamsung karprbtaaehnngodyaerngtan xngkvs drag make up maneuvers aelakarprbtaaehnngodykarexiyng xngkvs inclination adjustment maneuvers rabbkhbekhluxnyngepnsingcaepnsahrbyanxwkasthidaeninkarprbtaaehnngkarcdkaromemntm xngkvs momentum management maneuvers xngkhprakxbkhxngrabbyxykarkhbekhluxnthwipcarwmthungechuxephling thngekb walw thx aelatwkhbdnhruxekhruxngyntcrwd rabbkarkhwbkhumkhwamrxncamikarechuxmtxkbrabbyxykarkhbekhluxnodykartrwcsxbxunhphumikhxngswnprakxbehlann aelaodykarihkhwamrxnlwnghnakbthngaelatwkhbdnephuxetriymkarsahrbkarprbtaaehnngyanxwkasokhrngsrang yanxwkasthicatxngidrbkarxxkaebbmaephuxxdthntxohldchwngyktwthiaeykknimidkbyanyktw aelatxngmihnungcudkhxngsingthiaenbsahrbthukrabbyxyxun thngnikhunxyukbraylaexiydpharkic rabbyxykhxngokhrngsrangxactxngthntxohldthiaeykimxxktxnekhasubrryakaskhxngdawekhraahxunaelalngcxdbnphunphiwkhxngdawekhraahxunnahnkbrrthuk khunxyukbpharkickhxngyanxwkasaelaidrbphicarnawaepnswnhnungkhxngyanxwkas thitxngcay payloads thwipxacrwmthungekhruxngmuxthangwithyasastr echn klxng klxngothrthrrsnhruxekhruxngtrwccbxnuphakh sinkha hruxlukeruxmnusyphakhphundin aemwacaimidepnswnhnunginthangethkhnikhkhxngyanxwkas mnmikhwamsakhytxkarthangankhxngyanxwkas xngkhprakxbthwipkhxngphakhphundinthiichinrahwangkardaeninnganpkticarwmthungsingxanwykhwamsadwkinkardaeninpharkicthithimnganinethiywbinnnthakar operate yanxwkas karpramwlphlaelacdekbkhxmul sthaniphakhphundincasngsyyanaelarbsyyancakyanxwkasaelaesiyngaelaekhruxkhaysuxsarkhxmulephuxechuxmtxkbthukxngkhprakxbinpharkic 3 yanphahnainkarsngkhun yanphahnainkarsngkhuncakhbekhluxnyanxwkascakphunphiwolkphanbrryakasaelaekhasuwngokhcr wngokhcrthiaennxnkhunxyukbkarkahndkhakarptibtipharkic yanphahnakarsngkhunxaccaichaelwthinghruxnamaichihmid crwd Proton Rocket nithukplxyephuxnayanxwkashruxdawethiymkhunsuwngokhcrkhxngolkxangxing aekikh Walter A McDougall Shooting the duck American Heritage Winter 2010 On October 4 1957 Sputnik I shot into orbit and forcibly opened the Space Age Swenson L Jr Grimwood J M Alexander C C 66 62424 The Rosetta ground segment ESA int 2004 02 17 subkhnemux 2008 02 11 yanxwkas cakithykudwiw bthkhwamekiywkbkaredinthang karkhmnakhm aelakarkhnsngniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmulekhathungcak https th wikipedia org w index php title yanxwkas amp oldid 9549431, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม