fbpx
วิกิพีเดีย

ยูเอชเอฟ

ยูเอชเอฟ (อังกฤษ: UHF) เป็นชื่อย่อของย่านความถี่สูงยิ่ง (อังกฤษ: Ultra-High Frequency) ซึ่งสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศกำหนดไว้สำหรับคลื่นวิทยุในช่วงระหว่าง 300 เมกะเฮิรตซ์ และ 3 กิกะเฮิรตซ์ หรือที่เรียกว่า ย่านเดซิเมตร (อังกฤษ: Decimetre band) เนื่องจากมีความยาวคลื่นตั้งแต่ 1 เมตร ถึง 0.1 เมตร (1 เดซิเมตร) ส่วนคลื่นวิทยุที่มีความถี่สูงกว่ายูเอชเอฟจะเป็นย่านความถี่สูงยิ่งยวด (อังกฤษ: Super-High Frequency; SHF) หรือไม่ก็ย่านความถี่สูงสุด (อังกฤษ: Extremedy High Frequency; EHF) หรือไม่ก็กลายเป็นคลื่นไมโครเวฟไป ส่วนคลื่นวิทยุที่มีความถี่ต่ำกว่ายูเอชเอฟจะเป็นย่านความถี่สูงมากหรือวีเอชเอฟ (อังกฤษ: Very-High Frequency; VHF) หรือไม่ก็ย่านความถี่ที่ต่ำกว่า ยูเอชเอฟมักส่งไปแบบคลื่นตรงเป็นหลัก ซึ่งมักจะโดนปิดกั้นด้วยเนินเขาและอาคารขนาดใหญ่แม้ว่าการส่งผ่านกำแพงอาคารจะมีความแข็งแรงเพียงพอสำหรับการรับสัญญาณในร่มก็ตาม ยูเอชเอฟใช้สำหรับการออกอากาศโทรทัศน์ โทรศัพท์เคลื่อนที่ การสื่อสารผ่านดาวเทียม ซึ่งรวมถึงจีพีเอส บริการวิทยุส่วนบุคคล รวมถึงไวไฟและบลูทูธ เครื่องส่งรับวิทยุ โทรศัพท์ไร้สาย และแอปพลิเคชันอื่น ๆ อีกมากมาย

สถาบันวิชาชีพวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (IEEE) กำหนดแถบเรดาร์ของยูเอชเอฟให้อยู่ในช่วงความถี่ระหว่าง 300 เมกะเฮิรตซ์ถึง 1 กิกะเฮิรตซ์ และมีแถบเรดาร์อีก 2 วงทับซ้อนกับแถบยูเอชเอฟที่กำหนดโดย ITU คือแถบ L ระหว่าง 1 - 2 กิกะเฮิรตซ์ และแถบ S ระหว่าง 2 - 3 กิกะเฮิรตซ์

ยูเอชเอฟในการสื่อสาร

ยูเอชเอฟในวิทยุโทรทัศน์

ยูเอชเอฟเริ่มนำมาใช้ในการส่งโทรทัศน์เป็นครั้งแรกที่สหรัฐในปี พ.ศ. 2491 เป็นคลื่นความถี่ที่ใช้คู่ขนานกับระบบวีเอชเอฟของเครื่องส่งและเสาส่งสำหรับโทรทัศน์ระบบแอนะล็อก และอาจจะเป็นคลื่นความถี่ที่ถูกบังคับสำหรับการส่งสัญญาณโทรทัศน์ภาคพื้นดินระบบดิจิทัล ซึ่งคาดว่าทั่วโลกจะต้องเปลี่ยนผ่านให้แล้วเสร็จภายในปี พ.ศ. 2558

ในการออกอากาศวิทยุโทรทัศน์ระบบยูเอชเอฟมีช่วงเลขประจำช่องระหว่างช่อง 14 - 83 (470-890 MHz)

ส่วนในประเทศไทย มีช่องสัญญาณอยู่ที่ช่อง 21 - 69 แต่ในกรณีช่อง 21 - 25 และ 61 - 69 กรมไปรษณีย์โทรเลข (ปัจจุบันถูกเปลี่ยนมาเป็นสำนักงาน กสทช.) ได้สงวนช่องสัญญาณไว้ดังกล่าว เพื่อใช้ในระบบการสื่อสารทางโทรศัพท์มือถือแบบรวงผึ้ง จึงทำให้ประเทศไทย สามารถใช้ช่องสัญญาณเพื่อออกอากาศทางโทรทัศน์ได้ตั้งแต่ช่องที่ 26 - 60 เท่านั้น จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2562 เป็นต้นมา สำนักงาน กสทช. ได้ปรับเปลี่ยนการใช้งานระบบยูเอชเอฟสำหรับออกอากาศโทรทัศน์ภาคพื้นดินระบบดิจิทัล โดยให้ดำเนินการออกอากาศโดยปรับลดไปยังช่องความถี่ที่ต่ำลงกว่าเดิม คือช่องที่ 21 - 48 ทั้งนี้ เนื่องจากจะต้องนำคลื่นความถี่ 700 เมกะเฮิรตซ์ขึ้นไป ไปจัดสรรและมอบให้แก่ผู้ประกอบกิจการโทรคมนาคมรายต่าง ๆ เพื่อให้นำไปใช้และให้บริการเครือข่ายการสื่อสารระบบ 5 จี ซึ่งจะเริ่มทดลองและให้บริการจริงตั้งแต่ปลายปี พ.ศ. 2563

ตัวอย่างการใช้ระบบยูเอชเอฟในประเทศไทย

สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี (สปน.) เริ่มดำเนินโครงการ สถานีโทรทัศน์ระบบยูเอชเอฟเมื่อปี พ.ศ. 2538 โดยมีการเปิดประมูลรับสัมปทาน เมื่อวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2538 โดย กลุ่มสยามทีวีแอนด์คอมมิวนิเคชั่น (แปรรูปเป็น บริษัท สยามอินโฟเทนเมนท์ จำกัด เมื่อได้รับอนุมัติสัมปทานแล้ว และเปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท ไอทีวี จำกัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2541) เป็นผู้ได้รับอนุมัติสัมปทานดังกล่าว โดยใช้ชื่อสถานีว่า สถานีโทรทัศน์ไอทีวี นับเป็นสถานีโทรทัศน์ระบบยูเอชเอฟแห่งแรกของประเทศไทย ออกอากาศทางช่อง 26 และเปลี่ยนมาเป็นช่อง 29 ในภายหลัง โดยเริ่มต้นออกอากาศอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2539 และได้เปลี่ยนชื่อเป็นสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี ในวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2550 และสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส ในวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2551

ราวปลายปี พ.ศ. 2546 คณะกรรมการกิจการวิทยุกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์แห่งชาติ (กกช.) ในขณะนั้น อนุมัติให้จัดสรรคลื่นความถี่ในระบบยูเอชเอฟแก่สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 เพื่อใช้ออกอากาศทดแทนคลื่นความถี่เดิม (วีเอชเอฟย่านความถี่ต่ำ ทางช่องสัญญาณที่ 3) เป็นจำนวน 5 ช่องสัญญาณ เพื่อแก้ปัญหาการส่งสัญญาณไม่ได้จากการถูกตึกสูงบดบัง โดยช่อง 3 ได้ทำการออกอากาศในระบบยูเอชเอฟทางช่อง 32 ตั้งแต่วันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2548 เวลา 09:39 น. โดยได้ยุติการออกอากาศในระบบวีเอชเอฟความถี่ต่ำเป็นการถาวรในวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 จากนั้นหลังจากสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสยุติการออกอากาศโทรทัศน์ระบบแอนะล็อกเมื่อเวลา 00:01 น. ของวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2561 ช่อง 3 ก็กลายเป็นสถานีโทรทัศน์ช่องเดียวที่ออกอากาศในระบบยูเอชเอฟจนกระทั่งยุติการออกอากาศในระบบแอนะล็อกเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2563 เวลา 00:01 น.

อ้างอิง

  1. "IEEE 521-2002 - IEEE Standard Letter Designations for Radar-Frequency Bands". Standards.ieee.org. สืบค้นเมื่อ 17 ธันวาคม 2017.

ดูเพิ่ม

เอชเอฟ, งกฤษ, เป, นช, อย, อของย, านความถ, งย, งกฤษ, ultra, high, frequency, งสหภาพโทรคมนาคมระหว, างประเทศกำหนดไว, สำหร, บคล, นว, ทย, ในช, วงระหว, าง, เมกะเฮ, รตซ, และ, กะเฮ, รตซ, หร, อท, เร, ยกว, านเดซ, เมตร, งกฤษ, decimetre, band, เน, องจากม, ความยาวคล, นต, ง. yuexchexf xngkvs UHF epnchuxyxkhxngyankhwamthisungying xngkvs Ultra High Frequency sungshphaphothrkhmnakhmrahwangpraethskahndiwsahrbkhlunwithyuinchwngrahwang 300 emkaehirts aela 3 kikaehirts hruxthieriykwa yanedsiemtr xngkvs Decimetre band enuxngcakmikhwamyawkhluntngaet 1 emtr thung 0 1 emtr 1 edsiemtr swnkhlunwithyuthimikhwamthisungkwayuexchexfcaepnyankhwamthisungyingywd xngkvs Super High Frequency SHF hruximkyankhwamthisungsud xngkvs Extremedy High Frequency EHF hruximkklayepnkhlunimokhrewfip swnkhlunwithyuthimikhwamthitakwayuexchexfcaepnyankhwamthisungmakhruxwiexchexf xngkvs Very High Frequency VHF hruximkyankhwamthithitakwa yuexchexfmksngipaebbkhluntrngepnhlk sungmkcaodnpidkndwyeninekhaaelaxakharkhnadihyaemwakarsngphankaaephngxakharcamikhwamaekhngaerngephiyngphxsahrbkarrbsyyaninrmktam yuexchexfichsahrbkarxxkxakasothrthsn othrsphthekhluxnthi karsuxsarphandawethiym sungrwmthungciphiexs brikarwithyuswnbukhkhl rwmthungiwifaelabluthuth ekhruxngsngrbwithyu othrsphthirsay aelaaexpphliekhchnxun xikmakmaysthabnwichachiphwiswkriffaaelaxielkthrxniks IEEE kahndaethberdarkhxngyuexchexfihxyuinchwngkhwamthirahwang 300 emkaehirtsthung 1 kikaehirts 1 aelamiaethberdarxik 2 wngthbsxnkbaethbyuexchexfthikahndody ITU khuxaethb L rahwang 1 2 kikaehirts aelaaethb S rahwang 2 3 kikaehirts enuxha 1 yuexchexfinkarsuxsar 2 yuexchexfinwithyuothrthsn 2 1 twxyangkarichrabbyuexchexfinpraethsithy 3 xangxing 4 duephimyuexchexfinkarsuxsar aekikhswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidyuexchexfinwithyuothrthsn aekikhdubthkhwamhlkthi karxxkxakasothrthsninrabbyuexchexf yuexchexferimnamaichinkarsngothrthsnepnkhrngaerkthishrthinpi ph s 2491 epnkhlunkhwamthithiichkhukhnankbrabbwiexchexfkhxngekhruxngsngaelaesasngsahrbothrthsnrabbaexnalxk aelaxaccaepnkhlunkhwamthithithukbngkhbsahrbkarsngsyyanothrthsnphakhphundinrabbdicithl sungkhadwathwolkcatxngepliynphanihaelwesrcphayinpi ph s 2558inkarxxkxakaswithyuothrthsnrabbyuexchexfmichwngelkhpracachxngrahwangchxng 14 83 470 890 MHz swninpraethsithy michxngsyyanxyuthichxng 21 69 aetinkrnichxng 21 25 aela 61 69 krmiprsniyothrelkh pccubnthukepliynmaepnsankngan ksthch idsngwnchxngsyyaniwdngklaw ephuxichinrabbkarsuxsarthangothrsphthmuxthuxaebbrwngphung cungthaihpraethsithy samarthichchxngsyyanephuxxxkxakasthangothrthsnidtngaetchxngthi 26 60 ethann cnkrathnginpi ph s 2562 epntnma sankngan ksthch idprbepliynkarichnganrabbyuexchexfsahrbxxkxakasothrthsnphakhphundinrabbdicithl odyihdaeninkarxxkxakasodyprbldipyngchxngkhwamthithitalngkwaedim khuxchxngthi 21 48 thngni enuxngcakcatxngnakhlunkhwamthi 700 emkaehirtskhunip ipcdsrraelamxbihaekphuprakxbkickarothrkhmnakhmraytang ephuxihnaipichaelaihbrikarekhruxkhaykarsuxsarrabb 5 ci sungcaerimthdlxngaelaihbrikarcringtngaetplaypi ph s 2563 twxyangkarichrabbyuexchexfinpraethsithy aekikh sanknganpldsanknaykrthmntri spn erimdaeninokhrngkar sthaniothrthsnrabbyuexchexfemuxpi ph s 2538 odymikarepidpramulrbsmpthan emuxwnthi 4 emsayn ph s 2538 ody klumsyamthiwiaexndkhxmmiwniekhchn aeprrupepn bristh syamxinofethnemnth cakd emuxidrbxnumtismpthanaelw aelaepliynchuxepn bristh ixthiwi cakd mhachn emuxwnthi 2 phvscikayn ph s 2541 epnphuidrbxnumtismpthandngklaw odyichchuxsthaniwa sthaniothrthsnixthiwi nbepnsthaniothrthsnrabbyuexchexfaehngaerkkhxngpraethsithy xxkxakasthangchxng 26 aelaepliynmaepnchxng 29 inphayhlng odyerimtnxxkxakasxyangepnthangkaremuxwnthi 1 krkdakhm ph s 2539 aelaidepliynchuxepnsthaniothrthsnthiixthiwi inwnthi 8 minakhm ph s 2550 aelasthaniothrthsnithyphibiexs inwnthi 15 mkrakhm ph s 2551rawplaypi ph s 2546 khnakrrmkarkickarwithyukracayesiyngaelakickarothrthsnaehngchati kkch inkhnann xnumtiihcdsrrkhlunkhwamthiinrabbyuexchexfaeksthaniwithyuothrthsnithythiwisichxng 3 ephuxichxxkxakasthdaethnkhlunkhwamthiedim wiexchexfyankhwamthita thangchxngsyyanthi 3 epncanwn 5 chxngsyyan ephuxaekpyhakarsngsyyanimidcakkarthuktuksungbdbng odychxng 3 idthakarxxkxakasinrabbyuexchexfthangchxng 32 tngaetwnthi 25 minakhm ph s 2548 ewla 09 39 n odyidyutikarxxkxakasinrabbwiexchexfkhwamthitaepnkarthawrinwnthi 1 krkdakhm ph s 2549 caknnhlngcaksthaniothrthsnithyphibiexsyutikarxxkxakasothrthsnrabbaexnalxkemuxewla 00 01 n khxngwnthi 16 mithunayn ph s 2561 chxng 3 kklayepnsthaniothrthsnchxngediywthixxkxakasinrabbyuexchexfcnkrathngyutikarxxkxakasinrabbaexnalxkemuxwnthi 26 minakhm ph s 2563 ewla 00 01 n xangxing aekikh IEEE 521 2002 IEEE Standard Letter Designations for Radar Frequency Bands Standards ieee org subkhnemux 17 thnwakhm 2017 duephim aekikhwiexchexf bthkhwamekiywkbsuxsarmwlchnniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy othrthsnekhathungcak https th wikipedia org w index php title yuexchexf amp oldid 9350358, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม