fbpx
วิกิพีเดีย

รัฐประหารในประเทศพม่า พ.ศ. 2505

รัฐประหารในประเทศพม่า เมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2505 เป็นจุดเริ่มต้นของการปกครองแบบสังคมนิยมและการครอบงำการเมืองของกองทัพพม่า เป็นระยะเวลา 26 ปี ระบบการเมืองที่เป็นผลสืบเนื่องดำเนินมากระทั่งวันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2531 เมื่อกองทัพยึดอำนาจในฐานะสภาฟื้นฟูกฎหมายและระเบียบแห่งรัฐ (ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็น สภาสันติภาพและการพัฒนาแห่งรัฐ) หลังการก่อการกำเริบ 8888 ทั่วประเทศ รัฐประหาร พ.ศ. 2505 นำโดยพลเอก เนวี่น และสภาปฏิวัติสังคมนิยม ซึ่งมีสมาชิก 24 คน ในระยะเวลา 12 ปีถัดจากนี้ กระทั่ง พ.ศ. 2517 พม่าปกครองด้วยกฎอัยการศึก และมีการขยายบทบาทของทหารอย่างสำคัญในเศรษฐกิจ การเมืองและรัฐการพม่า นโยบายและอุดมการณ์ของรัฐบาลหลังรัฐประหารตั้งอยู่บนแนวคิดวิถีพม่าสู่สังคมนิยม (Burmese Way to Socialism) ซึ่งมีการประกาศต่อสาธารณะหนึ่งเดือนหลังรัฐประหารและเสริมด้วยการจัดตังพรรคโครงการสังคมนิยมพม่า

รัฐประหารในประเทศพม่า พ.ศ. 2505
เป็นส่วนหนึ่งของ ความขัดแย้งภายในพม่า
วันที่ 2 มีนาคม ค.ศ. 1962
สถานที่ ย่างกุ้ง, พม่า
ผลลัพธ์ สาธารณรัฐระบบรัฐสภาถูกล้มเลิก, ก่อตั้งระบอบสังคมนิยมทหาร
คู่ขัดแย้ง
กองทัพพม่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า
ผู้บัญชาการหรือผู้นำ
เนวี่น
(ประธานสภาปฏิวัติ)
วี่น-มอง (ประธานาธิบดีพม่า)
อู้นุ
(นายกรัฐมนตรีพม่า)
กองทัพ
กองกำลังทหารพม่า ตำรวจ. ที่เหลือเป็นกลาง
กำลังพลสูญเสีย
1 หรือ 2 คน
บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของ
ชุดบทความประวัติศาสตร์พม่า

ประวัติศาสตร์พม่ายุคต้น
นครรัฐปยู
(ประมาณ พ.ศ. 443 – ประมาณ พ.ศ. 1383)
อาณาจักรมอญ
(พศว. 14 – 16, พศว. 18 – 21, พศว. 23)
อาณาจักรพุกาม
(พ.ศ. 1392 – 1830, อาณาจักรยุคที่ 1)
อาณาจักรอังวะ (พ.ศ. 1907 – 2098)
อาณาจักรมเยาะอู (พ.ศ. 1977 – 2327)
ราชวงศ์ตองอู
(พ.ศ. 2029 – 2295, อาณาจักรยุคที่ 2)
ราชวงศ์คองบอง
(พ.ศ. 2295 – 2428, อาณาจักรยุคที่ 3)
สงครามพม่า-อังกฤษครั้งที่หนึ่ง (พ.ศ. 2367 – 2369)
สงครามพม่า-อังกฤษครั้งที่สอง ( พ.ศ. 2395)
สงครามพม่า-อังกฤษครั้งที่สาม (พ.ศ. 2428)
พม่าของอังกฤษ
(พ.ศ. 2367 – พ.ศ. 2485, พ.ศ. 2485 – 2491)
อาระกันของอังกฤษ (พ.ศ. 2367 – 2395)
ตะนาวศรีของอังกฤษ (พ.ศ. 2367 – 2395)
พม่าตอนล่างของอังกฤษ (พ.ศ. 2395 – 2429)
พม่าตอนบนของอังกฤษ (พ.ศ. 2428 – 2429)
การยึดครองพม่าของญี่ปุ่น (พ.ศ. 2485 – 2488)
ขบวนการชาตินิยมในพม่า (หลัง พ.ศ. 2429)
บามอว์
ออง ซาน
ยุคประชาธิปไตย (พ.ศ. 2491 - 2505)
อู นุ และอู ถั่น
รัฐบาลทหารครั้งที่ 1 (พ.ศ. 2505 – 2532)
เน วิน
การก่อการปฎิวัติ 8888 (พ.ศ. 2531)
ออง ซาน ซูจี
รัฐบาลทหารครั้งที่ 2 (พ.ศ. 2532 – 2554)
การปฏิวัติผ้ากาสาวพัสตร์ (พ.ศ. 2550)
พายุหมุนนาร์กิส (พ.ศ. 2551)
ความขัดแย้งภายในพม่า
เหตุจลาจลในรัฐยะไข่ พ.ศ. 2555
รัฐประหารในประเทศพม่า พ.ศ. 2564
[แก้ไขแม่แบบนี้]

ภูมิหลัง

 
พลเอก เนวี่น (ขวา) ผู้นำในการก่อรัฐประหาร

หลังจากพม่าได้รับเอกราช มีความตึงเครียดทางการทหารและการลุกฮือของชนกลุ่มน้อย ใน พ.ศ. 2491 เนวินขึ้นมามีอำนาจในกองทัพ ต่อมา ในวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2492 เนวินได้เป็นผู้บัญชาการทหารและเข้าควบคุมทหารทั้งหมดแทนนายพลสมิท ดุนที่เป็นชาวกะเหรี่ยง ทำให้เนวินได้จัดระเบียบกองทัพใหม่ ต่อมา อู้นุได้ร้องขอให้เนวินเป็นนายกรัฐมนตรีเฉพาะกาลเมื่อ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2501 หลังจากที่สันนิบาตเสรีชนต่อต้านฟาสซิสต์แตกออกเป็นสองส่วน และอู้นุเกือบไม่ได้รับการไว้วางใจจากรัฐสภา เนวินได้ฟื้นฟูกฎระเบียบใหม่ในระหว่างที่เขาเป็นนายกรัฐมนตรีเฉพาะกาล การเลือกตั้งใหม่ใน เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2503 นั้นอู้นุเป็นฝ่ายชนะ และได้จัดตั้งรัฐบาลเมื่อ 4 เมษายน พ.ศ. 2503

รัฐประหาร

ต่อมาเมื่อ 2 มีนาคม พ.ศ. 2505 เนวินขึ้นสู่อำนาจอีกครั้งโดยการก่อรัฐประหาร ตัวเขาเองมีสถานะเป็นประมุขรัฐ ในฐานะประธานสภาปฏิวัติสหภาพ และเป็นนายกรัฐมนตรีด้วย เขาได้จับกุมอู้นุ เจ้าส่วยแต้กและคนอื่นๆอีกหลายคน และประกาศจัดตั้งรัฐสังคมนิยม เซาเมียะ เทียก บุตรชายของเจ้าส่วยแต้กถูกยิงเสียชีวิตหลังการวิจารณ์รัฐประหาร เจ้าฟ้าจาแสงหายตัวไปอย่างลึกลับหลังจากหยุดที่จุดตรวจใกล้ตองจี

หลังจากมีการลุกฮือที่มหาวิทยาลัยย่างกุ้งในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2505 ได้มีการส่งทหารเข้าไปจัดระเบียบใหม่ มีการเผาผู้ประท้วงและทำลายอาคารสหภาพนักศึกษา หลังจากนั้น มหาวิทยาลัยทั่วประเทศถูกสั่งปิดเป็นเวลา 2 ปี จนถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2507 ใน พ.ศ. 2531 อีก 26 ปีต่อมา เนวินปฏิเสธความเกี่ยวข้องกับการทำลายอาคารสหภาพนักศึกษา โดยกล่าวว่าเป็นคำสั่งของอองจี้

หลังจากนั้นและผลกระทบ

รัฐประหารได้เปลี่ยนพม่าจากสหภาพที่มีหลายพรรคการเมืองไปเป็นรัฐที่มีพรรคการเมืองเดียวคือพรรคโครงการสังคมนิยมพม่า การลงทุนของเอกชนโดยเฉพาะที่ไม่ใช่ของพม่าถูกยึดเป็นของรัฐ บริษัทต่างชาติต่างถอนตัวออกไป และปกครองประเทศด้วยกฎอัยการศึกจนถึง พ.ศ. 2517 จึงได้ประกาศใช้รัฐธรรมนูญใหม่ ใช้ชื่อประเทศว่าสาธารณรัฐสังคมแห่งสหภาพพม่าได้ใช้ธงชาติที่มีสัญลักษณ์ของสังคมนิยม ผลของรัฐประหารทำให้การพัฒนาเศรษฐกิจของพม่าหยุดชะงักจนกลายเป็นประเทศด้อยพัฒนาใน พ.ศ. 2530

อ้างอิง

  1. Schock, Kurt (1999). "People Power and Political Opportunities: Social Movement Mobilization and Outcomes in the Philippines and Burma". Soc. Probs. 46: 358.
  2. Smith, Martin (1991). Burma — Insurgency and the Politics of Ethnicity. London and New Jersey: Zed Books.
  3. Boudreau, Vincent (2004) Resisting Dictatorship: Repression and Protest in Southeast Asia Cambridge University Press, Cambridge, U.K., pp. 37-39, 50-51, ISBN 0-521-83989-0

ฐประหารในประเทศพม, 2505, ฐประหารในประเทศพม, เม, อว, นท, นาคม, 2505, เป, นจ, ดเร, มต, นของการปกครองแบบส, งคมน, ยมและการครอบงำการเม, องของกองท, พพม, เป, นระยะเวลา, ระบบการเม, องท, เป, นผลส, บเน, องดำเน, นมากระท, งว, นท, นยายน, 2531, เม, อกองท, พย, ดอำนาจในฐานะสภ. rthpraharinpraethsphma emuxwnthi 2 minakhm ph s 2505 epncuderimtnkhxngkarpkkhrxngaebbsngkhmniymaelakarkhrxbngakaremuxngkhxngkxngthphphma epnrayaewla 26 pi rabbkaremuxngthiepnphlsubenuxngdaeninmakrathngwnthi 18 knyayn ph s 2531 emuxkxngthphyudxanacinthanasphafunfukdhmayaelaraebiybaehngrth phayhlngepliynchuxepn sphasntiphaphaelakarphthnaaehngrth hlngkarkxkarkaerib 8888 thwpraeths rthprahar ph s 2505 naodyphlexk enwin aelasphaptiwtisngkhmniym sungmismachik 24 khn inrayaewla 12 pithdcakni krathng ph s 2517 phmapkkhrxngdwykdxykarsuk aelamikarkhyaybthbathkhxngthharxyangsakhyinesrsthkic karemuxngaelarthkarphma 1 noybayaelaxudmkarnkhxngrthbalhlngrthprahartngxyubnaenwkhidwithiphmasusngkhmniym Burmese Way to Socialism sungmikarprakastxsatharnahnungeduxnhlngrthpraharaelaesrimdwykarcdtngphrrkhokhrngkarsngkhmniymphmarthpraharinpraethsphma ph s 2505epnswnhnungkhxng khwamkhdaeyngphayinphmawnthi 2 minakhm kh s 1962sthanthi yangkung phmaphllphth satharnrthrabbrthsphathuklmelik kxtngrabxbsngkhmniymthharkhukhdaeyngkxngthphphma satharnrthaehngshphaphphmaphubychakarhruxphunaenwin prathansphaptiwti win mxng prathanathibdiphma xunu naykrthmntriphma kxngthphkxngkalngthharphma tarwc thiehluxepnklangkalngphlsuyesiy1 hrux 2 khnbthkhwamniepnswnhnungkhxngchudbthkhwamprawtisastrphmaprawtisastrphmayukhtnnkhrrthpyu praman ph s 443 praman ph s 1383 xanackrmxy phsw 14 16 phsw 18 21 phsw 23 xanackrphukam ph s 1392 1830 xanackryukhthi 1 xanackrxngwa ph s 1907 2098 xanackrmeyaaxu ph s 1977 2327 rachwngstxngxu ph s 2029 2295 xanackryukhthi 2 rachwngskhxngbxng ph s 2295 2428 xanackryukhthi 3 sngkhramphma xngkvskhrngthihnung ph s 2367 2369 sngkhramphma xngkvskhrngthisxng ph s 2395 sngkhramphma xngkvskhrngthisam ph s 2428 phmakhxngxngkvs ph s 2367 ph s 2485 ph s 2485 2491 xaraknkhxngxngkvs ph s 2367 2395 tanawsrikhxngxngkvs ph s 2367 2395 phmatxnlangkhxngxngkvs ph s 2395 2429 phmatxnbnkhxngxngkvs ph s 2428 2429 karyudkhrxngphmakhxngyipun ph s 2485 2488 khbwnkarchatiniyminphma hlng ph s 2429 bamxwxxng sanyukhprachathipity ph s 2491 2505 xu nu aelaxu thnrthbalthharkhrngthi 1 ph s 2505 2532 en winkarkxkarpdiwti 8888 ph s 2531 xxng san sucirthbalthharkhrngthi 2 ph s 2532 2554 karptiwtiphakasawphstr ph s 2550 phayuhmunnarkis ph s 2551 khwamkhdaeyngphayinphmaehtuclaclinrthyaikh ph s 2555rthpraharinpraethsphma ph s 2564 aekikhaemaebbni enuxha 1 phumihlng 2 rthprahar 3 hlngcaknnaelaphlkrathb 4 xangxingphumihlng aekikh phlexk enwin khwa phunainkarkxrthprahar hlngcakphmaidrbexkrach mikhwamtungekhriydthangkarthharaelakarlukhuxkhxngchnklumnxy in ph s 2491 enwinkhunmamixanacinkxngthph txma inwnthi 31 mkrakhm ph s 2492 enwinidepnphubychakarthharaelaekhakhwbkhumthharthnghmdaethnnayphlsmith dunthiepnchawkaehriyng thaihenwinidcdraebiybkxngthphihm txma xunuidrxngkhxihenwinepnnaykrthmntriechphaakalemux 28 thnwakhm ph s 2501 hlngcakthisnnibatesrichntxtanfassistaetkxxkepnsxngswn aelaxunuekuxbimidrbkariwwangiccakrthspha enwinidfunfukdraebiybihminrahwangthiekhaepnnaykrthmntriechphaakal kareluxktngihmin eduxnkumphaphnth ph s 2503 nnxunuepnfaychna aelaidcdtngrthbalemux 4 emsayn ph s 2503rthprahar aekikhtxmaemux 2 minakhm ph s 2505 enwinkhunsuxanacxikkhrngodykarkxrthprahar twekhaexngmisthanaepnpramukhrth inthanaprathansphaptiwtishphaph aelaepnnaykrthmntridwy ekhaidcbkumxunu ecaswyaetkaelakhnxunxikhlaykhn aelaprakascdtngrthsngkhmniym esaemiya ethiyk butrchaykhxngecaswyaetkthukyingesiychiwithlngkarwicarnrthprahar ecafacaaesnghaytwipxyangluklbhlngcakhyudthicudtrwcikltxngci 2 hlngcakmikarlukhuxthimhawithyalyyangkungineduxnkrkdakhm ph s 2505 idmikarsngthharekhaipcdraebiybihm mikarephaphuprathwngaelathalayxakharshphaphnksuksa 3 hlngcaknn mhawithyalythwpraethsthuksngpidepnewla 2 pi cnthungeduxnknyayn ph s 2507 in ph s 2531 xik 26 pitxma enwinptiesthkhwamekiywkhxngkbkarthalayxakharshphaphnksuksa odyklawwaepnkhasngkhxngxxngcihlngcaknnaelaphlkrathb aekikhrthpraharidepliynphmacakshphaphthimihlayphrrkhkaremuxngipepnrththimiphrrkhkaremuxngediywkhuxphrrkhokhrngkarsngkhmniymphma karlngthunkhxngexkchnodyechphaathiimichkhxngphmathukyudepnkhxngrth bristhtangchatitangthxntwxxkip aelapkkhrxngpraethsdwykdxykarsukcnthung ph s 2517 cungidprakasichrththrrmnuyihm ichchuxpraethswasatharnrthsngkhmaehngshphaphphmaidichthngchatithimisylksnkhxngsngkhmniym phlkhxngrthpraharthaihkarphthnaesrsthkickhxngphmahyudchangkcnklayepnpraethsdxyphthnain ph s 2530xangxing aekikh Schock Kurt 1999 People Power and Political Opportunities Social Movement Mobilization and Outcomes in the Philippines and Burma Soc Probs 46 358 Smith Martin 1991 Burma Insurgency and the Politics of Ethnicity London and New Jersey Zed Books Boudreau Vincent 2004 Resisting Dictatorship Repression and Protest in Southeast Asia Cambridge University Press Cambridge U K pp 37 39 50 51 ISBN 0 521 83989 0ekhathungcak https th wikipedia org w index php title rthpraharinpraethsphma ph s 2505 amp oldid 9291308, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม