fbpx
วิกิพีเดีย

การยึดครองพม่าของญี่ปุ่น

สำหรับรัฐหุ่นเชิดของญี่ปุ่น ดูที่ รัฐพม่า

การยึดครองพม่าของญี่ปุ่น (พม่า: မြန်မာနိုင်ငံဂျပန်သိမ်းပိုက်မှုကာလ อังกฤษ: Japanese occupation of Burma ญี่ปุ่น: 日本占領時期のビルマ; โรมาจิ: Nihon senryō jiki no Biruma)) เป็นช่วงเวลาระหว่าง พ.ศ. 2485 – 2488 ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อพม่าเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิญี่ปุ่น ญี่ปุ่นให้ความช่วยเหลือในการจัดตั้งกองทัพพม่าอิสระและฝึกอบรมกลุ่มทะขิ่น 30 คนซึ่งเป็นผู้ก่อตั้งกองทัพพม่าสมัยใหม่ พม่าหวังว่าจะได้รับความช่วยเหลือจากญี่ปุ่นให้ได้รับเอกราชจากอังกฤษ ใน พ.ศ. 2485 ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 ญี่ปุ่นรุกรานเข้าสู่พม่าและประกาศเอกราชของพม่าในนามรัฐพม่าเมื่อ 1 เมษายน พ.ศ. 2486 และ ดร.บามอว์ขึ้นเป็นหัวหน้ารัฐบาล อย่างไรก็ตาม พม่ารู้สึกว่าญี่ปุ่นไม่ได้จริงใจต่อพม่า อองซานจึงได้ประกาศตั้งสันนิบาตเสรีชนต่อต้านฟาสซิสต์ และไปเป็นพันธมิตรกับอังกฤษเพื่อต่อต้านญี่ปุ่น จนกระทั่งฝ่ายสัมพันธมิตรขับไล่ญี่ปุ่นออกไปได้เมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2488 หลังจากนั้นมีการเจรจาระหว่างพม่าและอังกฤษเกี่ยวกับเอกราชของพม่า การยึดครองพม่าของญี่ปุ่นนี้ เป็นที่โต้เถียงกันว่าอาจเป็นสาเหตุของทุพภิกขภัยในเบงกอล พ.ศ. 2486 เพราะเป็นการตัดแหล่งอาหารของบริเวณนั้น

ทหารญี่ปุ่นในพม่า ณ วัดพระนอนชเวตาลยอง

ภูมิหลัง

บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของ
ชุดบทความประวัติศาสตร์พม่า
 
ประวัติศาสตร์พม่ายุคต้น
นครรัฐปยู
(ประมาณ พ.ศ. 443 – ประมาณ พ.ศ. 1383)
อาณาจักรมอญ
(พศว. 14 – 16, พศว. 18 – 21, พศว. 23)
อาณาจักรพุกาม
(พ.ศ. 1392 – 1830, อาณาจักรยุคที่ 1)
อาณาจักรอังวะ (พ.ศ. 1907 – 2098)
อาณาจักรมเยาะอู (พ.ศ. 1977 – 2327)
ราชวงศ์ตองอู
(พ.ศ. 2029 – 2295, อาณาจักรยุคที่ 2)
ราชวงศ์คองบอง
(พ.ศ. 2295 – 2428, อาณาจักรยุคที่ 3)
สงครามพม่า-อังกฤษครั้งที่หนึ่ง (พ.ศ. 2367 – 2369)
สงครามพม่า-อังกฤษครั้งที่สอง ( พ.ศ. 2395)
สงครามพม่า-อังกฤษครั้งที่สาม (พ.ศ. 2428)
พม่าของอังกฤษ
(พ.ศ. 2367 – พ.ศ. 2485, พ.ศ. 2485 – 2491)
อาระกันของอังกฤษ (พ.ศ. 2367 – 2395)
ตะนาวศรีของอังกฤษ (พ.ศ. 2367 – 2395)
พม่าตอนล่างของอังกฤษ (พ.ศ. 2395 – 2429)
พม่าตอนบนของอังกฤษ (พ.ศ. 2428 – 2429)
การยึดครองพม่าของญี่ปุ่น (พ.ศ. 2485 – 2488)
ขบวนการชาตินิยมในพม่า (หลัง พ.ศ. 2429)
บามอว์
ออง ซาน
ยุคประชาธิปไตย (พ.ศ. 2491 - 2505)
อู นุ และอู ถั่น
รัฐบาลทหารครั้งที่ 1 (พ.ศ. 2505 – 2532)
เน วิน
การก่อการปฎิวัติ 8888 (พ.ศ. 2531)
ออง ซาน ซูจี
รัฐบาลทหารครั้งที่ 2 (พ.ศ. 2532 – 2554)
การปฏิวัติผ้ากาสาวพัสตร์ (พ.ศ. 2550)
พายุหมุนนาร์กิส (พ.ศ. 2551)
ความขัดแย้งภายในพม่า
เหตุจลาจลในรัฐยะไข่ พ.ศ. 2555
รัฐประหารในประเทศพม่า พ.ศ. 2564
[แก้ไขแม่แบบนี้]

นักชาตินิยมพม่าเห็นว่าการเกิดขึ้นของสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นโอกาสของขบวนการต่อต้านอังกฤษ เช่น ชบวนการทะขิ่น อองซานร่วมมือกับทะขิ่นอื่นๆก่อตั้งพรรคคอมมิวนิสต์พม่าในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2482 และอองซานยังได้ร่วมก่อตั้งพรรคประชาชนปฏิวัติที่เปลี่ยนชื่อเป็นพรรคสังคมนิยมหลังสงครามโลกครั้งที่สอง หลังจากสมาคมเราชาวพม่าได้เรียกร้องให้มีการลุกฮือขึ้นทั่วประเทศ ทำให้มีการจับกุมแกนนำ ทำให้แกนนำต้องหนีออกนอกประเทศรวมทั้งอองซาน ที่หนีไปจีน แต่ถูกญี่ปุ่นจับตัวได้ อองซานตกลงร่วมมือกับญี่ปุ่น เขาได้ลอบเข้ามาในพม่า และชักชวนคนหนุ่มอีก 29 คนไปฝึกทหารที่เกาะไหหลำ ประเทศจีน เมื่อญี่ปุ่นบุกเข้ากรุงเทพฯในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2484 อองซานได้ประกาศจัดตั้งกองทัพพม่าอิสระเพ่อร่วมมือกับญี่ปุ่นในการเข้ายึดครองพม่าใน พ.ศ. 2485

การยึดครอง

 
ธงชาติของรัฐพม่า พ.ศ. 2486 - 2488

กองทัพพม่าอิสระได้จัดตั้งรัฐบาลเฉพาะกาลในบางพื้นที่ของประเทศใน พ.ศ. 2485 แต่นโยบายของญี่ปุ่นต่อพม่ามีความแตกต่างกัน นายพลซูซูกิ ผู้บัญชาการทหารญี่ปุ่นสนับสนุนการจัดตั้งรัฐบาลเฉพาะกาล แต่ผู้นำระดับสูงของกองทัพญี่ปุ่นไม่เห็นด้วยและสนับสนุนการจัดตั้งรัฐบาลของ ดร.บามอว์ ระหว่างสงครามใน พ.ศ. 2485 กองทัพพม่าอิสระได้เติบโตขึ้นโดยไม่มีการควบคุม ต่อมา ญี่ปุ่นได้ให้กองทัพนี้จัดตั้งเป็นองค์กรใหม่ในชื่อกองทัพป้องกันพม่าโดยมีอองซานเป็นผู้นำ กองทัพใหม่นี้ได้รับการฝึกฝนจากญี่ปุ่น เมื่อ ดร.บามอว์ประกาศตั้งรัฐบาลอองซานได้เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสงคราม หลังจากประกาศเอกราชในนามรัฐพม่า กองทัพป้องกันพม่าได้เปลี่ยนชื่อเป็นกองทพแห่งชาติพม่า

ในช่วงที่กระแสของสงครามเริ่มเปลี่ยนแปลง ญี่ปุ่นเป็นฝ่ายพ่ายแพ้มากขึ้น อองซานได้หารือกับผู้นำพรรคคอมมิวนิสต์ ทะขิ่นทันตุนและทะขิ่นโส และกลุ่มผู้นำพรรคสังคมนิยมคือบะส่วยและจอเย่งในการจัดตั้งองค์กรต่อต้านฟาสซิสต์ เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2487 ในการประชุมลับระว่างผู้นำพรรคคอมมิวนิสต์พม่า พรรคประชาชนปฏิวัติและกองทัพแห่งชาติพม่าที่พะโค ต่อมาองค์กรนี้เปลี่ยนชื่อเป็นสันนิบาตเสรีชนต่อต้านฟาสซิสต์เพื่อต่อต้านญี่ปุ่น

การสังหารหมู่ระหว่างการยึดครอง

ทหารญี่ปุ่นได้เข้าสู่หมู่บ้านกาลากงและพื้นที่โดยรอบและได้สังหารชาวพม่าไปราว 600 คน เหตุการณ์นี้เป็นที่รู้จักในชื่อการสังหารหมู่ที่กาลากง

สิ้นสุดการยึดครอง

มีการติอต่อกันอย่างไม่เป็นทางการระหว่างสันนิบาตเสรีชนกับฝ่ายสัมพันธมิตรระหว่าง พ.ศ. 2487 – 2488 ผ่านกองทหารอังกฤษ 136 ในวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2488 กองทัพแห่งชาติพม่าได้สนับสนุนการก่อกบฏต่อต้านญี่ปุ่นทั่วประเทศ ทำให้วันที่ 27 มีนาคมกลายเป็นวันต่อต้านก่อนจะกลายเป็นวันกองทัพในเวลาต่อมา อองซานได้ไปเจรจากับนายพลเมาท์แบตแทนเพื่อเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตร ญี่ปุ่นได้ถอนกำลังออกจากพม่าส่วนใหญ่ไปเมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2485

อ้างอิง

  1. Martin Smith (1991). Burma - Insurgency and the Politics of Ethnicity. London and New Jersey: Zed Books. pp. 49, 91, 50, 53, 54, 56, 57, 58–59, 60, 61, 60, 66, 65, 68, 69, 77, 78, 64, 70, 103, 92, 120, 176, 168–169, 177, 178, 180, 186, 195–197, 193, , 202, 204, 199, 200, 270, 269, 275–276, 292–3, 318–320, 25, 24, 1, 4–16, 365, 375–377, 414.
  2. Robert H. Taylor (1987). The state in Burma. C. Hurst & Co. Publishers. p. 284.

ดูเพิ่ม

  • Newell, Clayton R. Burma, 1942. World War II Campaign Brochures. Washington D.C.: United States Army Center of Military History. CMH Pub 72-21.
  • Hogan, David W. India-Burma. World War II Campaign Brochures. Washington D.C.: United States Army Center of Military History. CMH Pub 72-5.
  • MacGarrigle, George L. Central Burma. World War II Campaign Brochures. Washington D.C.: United States Army Center of Military History. CMH Pub 72-37.

การย, ดครองพม, าของญ, สำหร, บร, ฐห, นเช, ดของญ, ฐพม, พม, ပန, งกฤษ, japanese, occupation, burma, 日本占領時期のビルマ, โรมาจ, nihon, senryō, jiki, biruma, เป, นช, วงเวลาระหว, าง, 2485, 2488, ระหว, างสงครามโลกคร, งท, เม, อพม, าเป, นส, วนหน, งของจ, กรวรรด, นให, ความช, วยเห. sahrbrthhunechidkhxngyipun duthi rthphma karyudkhrxngphmakhxngyipun phma မ န မ န င င ဂ ပန သ မ ပ က မ က လ xngkvs Japanese occupation of Burma yipun 日本占領時期のビルマ ormaci Nihon senryō jiki no Biruma epnchwngewlarahwang ph s 2485 2488 rahwangsngkhramolkkhrngthi 2 emuxphmaepnswnhnungkhxngckrwrrdiyipun yipunihkhwamchwyehluxinkarcdtngkxngthphphmaxisraaelafukxbrmklumthakhin 30 khnsungepnphukxtngkxngthphphmasmyihm phmahwngwacaidrbkhwamchwyehluxcakyipunihidrbexkrachcakxngkvs in ph s 2485 rahwangsngkhramolkkhrngthi 2 yipunrukranekhasuphmaaelaprakasexkrachkhxngphmainnamrthphmaemux 1 emsayn ph s 2486 aela dr bamxwkhunepnhwhnarthbal xyangirktam phmarusukwayipunimidcringictxphma xxngsancungidprakastngsnnibatesrichntxtanfassist aelaipepnphnthmitrkbxngkvsephuxtxtanyipun cnkrathngfaysmphnthmitrkhbilyipunxxkipidemuxeduxnemsayn ph s 2488 hlngcaknnmikarecrcarahwangphmaaelaxngkvsekiywkbexkrachkhxngphma karyudkhrxngphmakhxngyipunni epnthiotethiyngknwaxacepnsaehtukhxngthuphphikkhphyinebngkxl ph s 2486 ephraaepnkartdaehlngxaharkhxngbriewnnnthharyipuninphma n wdphranxnchewtalyxng enuxha 1 phumihlng 2 karyudkhrxng 3 karsngharhmurahwangkaryudkhrxng 4 sinsudkaryudkhrxng 5 xangxing 6 duephimphumihlng aekikhbthkhwamniepnswnhnungkhxngchudbthkhwamprawtisastrphma prawtisastrphmayukhtnnkhrrthpyu praman ph s 443 praman ph s 1383 xanackrmxy phsw 14 16 phsw 18 21 phsw 23 xanackrphukam ph s 1392 1830 xanackryukhthi 1 xanackrxngwa ph s 1907 2098 xanackrmeyaaxu ph s 1977 2327 rachwngstxngxu ph s 2029 2295 xanackryukhthi 2 rachwngskhxngbxng ph s 2295 2428 xanackryukhthi 3 sngkhramphma xngkvskhrngthihnung ph s 2367 2369 sngkhramphma xngkvskhrngthisxng ph s 2395 sngkhramphma xngkvskhrngthisam ph s 2428 phmakhxngxngkvs ph s 2367 ph s 2485 ph s 2485 2491 xaraknkhxngxngkvs ph s 2367 2395 tanawsrikhxngxngkvs ph s 2367 2395 phmatxnlangkhxngxngkvs ph s 2395 2429 phmatxnbnkhxngxngkvs ph s 2428 2429 karyudkhrxngphmakhxngyipun ph s 2485 2488 khbwnkarchatiniyminphma hlng ph s 2429 bamxwxxng sanyukhprachathipity ph s 2491 2505 xu nu aelaxu thnrthbalthharkhrngthi 1 ph s 2505 2532 en winkarkxkarpdiwti 8888 ph s 2531 xxng san sucirthbalthharkhrngthi 2 ph s 2532 2554 karptiwtiphakasawphstr ph s 2550 phayuhmunnarkis ph s 2551 khwamkhdaeyngphayinphmaehtuclaclinrthyaikh ph s 2555rthpraharinpraethsphma ph s 2564 aekikhaemaebbni nkchatiniymphmaehnwakarekidkhunkhxngsngkhramolkkhrngthi 2 epnoxkaskhxngkhbwnkartxtanxngkvs echn chbwnkarthakhin xxngsanrwmmuxkbthakhinxunkxtngphrrkhkhxmmiwnistphmaineduxnsinghakhm ph s 2482 1 aelaxxngsanyngidrwmkxtngphrrkhprachachnptiwtithiepliynchuxepnphrrkhsngkhmniymhlngsngkhramolkkhrngthisxng hlngcaksmakhmerachawphmaideriykrxngihmikarlukhuxkhunthwpraeths thaihmikarcbkumaeknna thaihaeknnatxnghnixxknxkpraethsrwmthngxxngsan thihniipcin aetthukyipuncbtwid xxngsantklngrwmmuxkbyipun ekhaidlxbekhamainphma aelachkchwnkhnhnumxik 29 khnipfukthharthiekaaihhla praethscin emuxyipunbukekhakrungethphineduxnthnwakhm ph s 2484 xxngsanidprakascdtngkxngthphphmaxisraephxrwmmuxkbyipuninkarekhayudkhrxngphmain ph s 2485karyudkhrxng aekikh thngchatikhxngrthphma ph s 2486 2488 kxngthphphmaxisraidcdtngrthbalechphaakalinbangphunthikhxngpraethsin ph s 2485 aetnoybaykhxngyipuntxphmamikhwamaetktangkn nayphlsusuki phubychakarthharyipunsnbsnunkarcdtngrthbalechphaakal aetphunaradbsungkhxngkxngthphyipunimehndwyaelasnbsnunkarcdtngrthbalkhxng dr bamxw rahwangsngkhramin ph s 2485 kxngthphphmaxisraidetibotkhunodyimmikarkhwbkhum txma yipunidihkxngthphnicdtngepnxngkhkrihminchuxkxngthphpxngknphmaodymixxngsanepnphuna kxngthphihmniidrbkarfukfncakyipun emux dr bamxwprakastngrthbalxxngsanidepnrthmntriwakarkrathrwngsngkhram hlngcakprakasexkrachinnamrthphma kxngthphpxngknphmaidepliynchuxepnkxngthphaehngchatiphma 1 inchwngthikraaeskhxngsngkhramerimepliynaeplng yipunepnfayphayaephmakkhun xxngsanidharuxkbphunaphrrkhkhxmmiwnist thakhinthntunaelathakhinos aelaklumphunaphrrkhsngkhmniymkhuxbaswyaelacxeynginkarcdtngxngkhkrtxtanfassist emuxeduxnsinghakhm ph s 2487 inkarprachumlbrawangphunaphrrkhkhxmmiwnistphma phrrkhprachachnptiwtiaelakxngthphaehngchatiphmathiphaokh txmaxngkhkrniepliynchuxepnsnnibatesrichntxtanfassistephuxtxtanyipun 2 karsngharhmurahwangkaryudkhrxng aekikhthharyipunidekhasuhmubankalakngaelaphunthiodyrxbaelaidsngharchawphmaipraw 600 khn ehtukarnniepnthiruckinchuxkarsngharhmuthikalakngsinsudkaryudkhrxng aekikhmikartixtxknxyangimepnthangkarrahwangsnnibatesrichnkbfaysmphnthmitrrahwang ph s 2487 2488 phankxngthharxngkvs 136 inwnthi 27 minakhm ph s 2488 kxngthphaehngchatiphmaidsnbsnunkarkxkbttxtanyipunthwpraeths thaihwnthi 27 minakhmklayepnwntxtankxncaklayepnwnkxngthphinewlatxma xxngsanidipecrcakbnayphlemathaebtaethnephuxekharwmkbfaysmphnthmitr yipunidthxnkalngxxkcakphmaswnihyipemuxeduxnphvsphakhm ph s 2485xangxing aekikh 1 0 1 1 Martin Smith 1991 Burma Insurgency and the Politics of Ethnicity London and New Jersey Zed Books pp 49 91 50 53 54 56 57 58 59 60 61 60 66 65 68 69 77 78 64 70 103 92 120 176 168 169 177 178 180 186 195 197 193 202 204 199 200 270 269 275 276 292 3 318 320 25 24 1 4 16 365 375 377 414 Robert H Taylor 1987 The state in Burma C Hurst amp Co Publishers p 284 duephim aekikhNewell Clayton R Burma 1942 World War II Campaign Brochures Washington D C United States Army Center of Military History CMH Pub 72 21 Hogan David W India Burma World War II Campaign Brochures Washington D C United States Army Center of Military History CMH Pub 72 5 MacGarrigle George L Central Burma World War II Campaign Brochures Washington D C United States Army Center of Military History CMH Pub 72 37 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title karyudkhrxngphmakhxngyipun amp oldid 9496761, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม