fbpx
วิกิพีเดีย

มาตราริกเตอร์

มาตราริกเตอร์ (อังกฤษ: Richter magnitude scale) หรือที่รู้จักกันว่า มาตราท้องถิ่น (อังกฤษ: local magnitude scale; ML) เป็นการกำหนดตัวเลขเพื่อบอกปริมาณของพลังงานแผ่นดินไหวที่ปลดปล่อยออกมาจากแผ่นดินไหวครั้งหนึ่ง มันเป็นมาตราส่วนเชิงลอการิทึมฐานสิบ ซึ่งสามารถคำนวณได้จากลอการิทึมของแอมพลิจูดการสั่นของการกระจัดที่มีค่ามากที่สุดจากศูนย์บนเครื่องตรวจวัดแผ่นดินไหวบางประเภท (Wood–Anderson torsion) ยกตัวอย่างเช่น แผ่นดินไหวที่สามารถวัดค่าได้ 5.0 ตามมาตราริกเตอร์จะมีแอพลิจูดการสั่นมากเป็น 10 เท่าของแผ่นดินไหวที่วัดค่าได้ 4.0 ตามมาตราริกเตอร์ ขีดจำกัดบนที่มีประสิทธิภาพของการวัดตามมาตราริกเตอร์นี้ควรต่ำกว่า 9 และต่ำกว่า 10 สำหรับมาตราโมเมนต์แมกนิจูด เมื่อตรวจวัดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่

ปัจจุบันมาตราริกเตอร์ถูกแทนที่ด้วยมาตราขนาดโมเมนต์ ซึ่งเป็นมาตรฐานที่จะให้ค่าที่โดยทั่วไปแล้วจะมีค่าใกล้เคียงกันสำหรับแผ่นดินไหวขนาดกลาง (3-7 แมกนิจูด) แต่ที่ไม่เหมือนกับมาตราริกเตอร์คือ มาตราโมเมนต์แมกนิจูดจะรายงานสมบัติพื้นฐานของแผ่นดินไหวจากข้อมูลเครื่องตรวจวัด แทนที่จะเป็นการรายงานข้อมูลเครื่องตรวจวัด ซึ่งไม่สามารถเปรียบเทียบกันได้ในแผ่นดินไหวทุกครั้ง และค่าที่ได้จะไม่สมบูรณ์ในแผ่นดินไหวความรุนแรงสูง เนื่องจากมาตราโมเมนต์แมกนิจูดมักจะให้ค่าที่ใกล้เคียงกันกับมาตราริกเตอร์ แมกนิจูดของแผ่นดินไหวที่ได้รับรายงานในสื่อมวลชนจึงมักจะรายงานโดยไม่ระบุว่าเป็นการวัดความรุนแรงตามมาตราใด

พลังงานที่ปลดปล่อยออกมาของแผ่นดินไหว ซึ่งสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับพลังทำลายล้างของมัน สามารถวัดได้จาก 3/2 เท่าของแอมพลิจูดการสั่น ดังนั้น แผ่นดินไหวที่มีความรุนแรงแตกต่างกัน 1 แมกนิจูดจึงมีค่าเท่ากับพหุคูณของ 31.6 (= (101.0)(3 / 2)) ในพลังงานที่ปลดปล่อยออกมา และที่แตกต่างกัน 2 แมกนิจูด จะมีค่าเท่ากับพหุคณของ 1000 (= (102.0)(3 / 2)) ในพลังงานที่ปลดปล่อยออกมา (ความจริงแล้ว แมนติจูด ใช้วัดปริมาณพลังงานของแผ่นดินไหวทีแท้จริง แต่คนไทยเรียกผิดเป็นริกเตอร์)

ประวัติ

มาตราริกเตอร์ได้รับการเสนอขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1935 โดยนักวิทยาแผ่นดินไหวสองคน คือ เบโน กูเทนเบิร์ก (Beno Gutenbreg) และ ชาลส์ ฟรานซิส ริกเตอร์ (Charles Francis Richter)

เดิมนั้นมีการกำหนดมาตรานี้เพื่อใช้วัดขนาดของแผ่นดินไหวในท้องถิ่นทางใต้ของแคลิฟอร์เนียในสหรัฐอเมริกา ที่บันทึกได้ด้วยอุปกรณ์ที่เรียกว่า เครื่องวัดความไหวสะเทือน (seismograph) แผ่นดินไหวที่มีขนาดน้อยที่สุดในเวลานั้นถือเป็นค่าใกล้เคียงศูนย์ มาตราดังกล่าวแบ่งเป็นระดับ โดย ทุกๆ 1 ริกเตอร์ที่เพิ่มขึ้น แสดงว่าแผ่นดินไหวแรงขึ้น 10 เท่า

มาตราริกเตอร์ไม่มีขีดจำกัดว่ามีค่าสูงสุดเท่าใด แต่โดยทั่วไปกำหนดไว้ในช่วง 0 - 9

ภายหลังเมื่อเครื่องวัดความไหวสะเทือนมีความละเอียดมากขึ้น สามารถวัดขนาดของแผ่นดินไหวได้ละเอียด ทั้งในระดับที่ต่ำกว่า 0 (สำหรับค่าที่ได้น้อยกว่า 0 ถือเป็นค่าติดลบ) และที่สูงกว่า 9

ริกเตอร์แมกนิจูต

ริกเตอร์แมกนิจูดของแผ่นดินไหวสามารถหาค่าได้จากลอการิทึมของแอมพลิจูดของคลื่นที่สามารถตรวจวัดได้โดยเครื่องวัดแผ่นดินไหว (ต่อมามีการแก้ไขรูปแบบการคำนวณ เพื่อชดเชยระยะห่างระหว่างเครื่องวัดแผ่นดินไหวจำนวนมากและศูนย์กลางแผ่นดินไหว) สูตรดั้งเดิมเป็นดังนี้

 

โดยที่ A เป็นการเบี่ยงเบนที่มีค่ามากที่สุดของเครื่องวัดแผ่นดินไหววูด-แอนเดอร์สัน ในเชิงประจักษ์แล้ว การทำงานของ A0 ขึ้นอยู่กับระยะทางจากจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวของสถานี (δ) ในทางปฏิบัติแล้ว การอ่านค่าจากสถานีสังเกตการณ์ทั้งหมดจะถูกนำมาเฉลี่ยหลังจากมีการปรับแก้โดยเฉพาะของแต่ละสถานีเพื่อให้ได้มาซึ่งค่ามาตราริกเตอร์

เนื่องจากพื้นฐานลอการิทึมของมาตราริกเตอร์ การเพิ่มขึ้นของตัวเลข 1 หน่วยหมายความว่า แอมพลิจูดที่สามารถวัดได้มีค่าเพิ่มขึ้นจากเดิม 10 เท่า ในแง่ของพลังงาน การที่แมกนิจูดเพิ่มขึ้น 1 หน่วย หมายความว่า มีพลังงานปลดปล่อยออกมามาขึ้น 31.6 เท่า และการเพิ่มขึ้น 0.2 แมกนิจูด หมายความว่าพลังงานจะปลดปล่อยออกมามากกว่าเดิมถึง 2 เท่า

ตารางแสดงมาตราริกเตอร์และผลกระทบ โดยสำนักงานสำรวจธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา
ตัวเลขริกเตอร์ จัดอยู่ในระดับ ผลกระทบ อัตราการเกิดทั่วโลก
1.9 ลงไป ไม่รู้สึก ไม่มี ไม่สามารถรู้สึกได้ 8,000 ครั้ง/วัน
2.0-2.9 เบามาก คนทั่วไปมักไม่รู้สึก แต่ก็สามารถรู้สึกได้บ้าง และตรวจจับได้ง่าย 1,000 ครั้ง/วัน
3.0-3.9 คนส่วนใหญ่รู้สึกได้ และบางครั้งสามารถสร้างความเสียหายได้บ้าง 49,000 ครั้ง/ปี
4.0-4.9 เบา ข้าวของในบ้านสั่นไหวชัดเจน สามารถสร้างความเสียหายได้ปานกลาง 6,200 ครั้ง/ปี
5.0-5.9 ปานกลาง สร้างความเสียหายยับเยินได้กับสิ่งก่อสร้างที่ไม่มั่นคง แต่กับสิ่งก่อสร้างที่มั่นคงนั้นไม่มีปัญหา 800 ครั้ง/ปี
6.0-6.9 แรง สร้างความเสียหายที่ค่อนข้างรุนแรงได้ในรัศมีประมาณ 80 กิโลเมตร 120 ครั้ง/ปี
7.0-7.9 รุนแรง สามารถสร้างความเสียหายรุนแรงในบริเวณกว้างกว่า 18 ครั้ง/ปี
8.0-8.9 รุนแรงมาก สร้างความเสียหายรุนแรงได้ในรัศมีเป็นร้อยกิโลเมตร 1 ครั้ง/ปี
9.0 ขึ้นไป 'ล้างผลาญ' ทุกสิ่งทุกอย่างในรัศมีเป็นพันกิโลเมตร 1 ครั้ง/20 ปี

แผ่นดินไหวครั้งรุนแรงที่สุดที่เคยเกิดขึ้น คือ แผ่นดินไหวในประเทศชิลี ที่เมืองวัลดิเวีย พ.ศ. 2503 ซึ่งสามารถวัดความรุนแรงได้ 9.5

อ้างอิง

  1. "Richter scale". Glossary. USGS. March 31, 2010.
  2. USGS: Measuring the Size of an Earthquake, Section 'Energy, E'
  3. Ellsworth, William L. (1991). "The Richter Scale ML, from The San Andreas Fault System, California (Professional Paper 1515)". USGS: c6, p177. สืบค้นเมื่อ 2008-09-14. More than one of |author= และ |last= specified (help); Cite journal requires |journal= (help)
  4. USGS: FAQ- Measuring Earthquakes
  5. เป็นสิ่งที่ริกเตอร์เคยคิดไว้ แต่หลักฐานปัจจุบันแสดงให้เห็นว่าแผ่นดินไหวที่มีแมกนิจูดติดลบ (อาจมีค่าเพียง -0.7) ยังสามารถรู้สึกได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อจุดเกิดแผ่นดินไหวอยู่ลึกลงไปไม่กี่ร้อยเมตร ดูที่ Thouvenot, F.; Bouchon, M. (2008) และ What is the lowest magnitude threshold at which an earthquake can be felt or heard, or objects thrown into the air?, in Fréchet, J., Meghraoui, M. & Stucchi, M. (eds), Modern Approaches in Solid Earth Sciences (vol. 2), Historical Seismology: Interdisciplinary Studies of Past and Recent Earthquakes, Springer, Dordrecht, 313–326.
  6. USGS: List of World's Largest Earthquakes

ดูเพิ่ม

มาตราร, กเตอร, งกฤษ, richter, magnitude, scale, หร, อท, กก, นว, มาตราท, องถ, งกฤษ, local, magnitude, scale, เป, นการกำหนดต, วเลขเพ, อบอกปร, มาณของพล, งงานแผ, นด, นไหวท, ปลดปล, อยออกมาจากแผ, นด, นไหวคร, งหน, นเป, นมาตราส, วนเช, งลอการ, มฐานส, งสามารถคำนวณได, จา. matrariketxr xngkvs Richter magnitude scale hruxthiruckknwa matrathxngthin xngkvs local magnitude scale ML epnkarkahndtwelkhephuxbxkprimankhxngphlngnganaephndinihwthipldplxyxxkmacakaephndinihwkhrnghnung mnepnmatraswnechinglxkarithumthansib sungsamarthkhanwnidcaklxkarithumkhxngaexmphlicudkarsnkhxngkarkracdthimikhamakthisudcaksunybnekhruxngtrwcwdaephndinihwbangpraephth Wood Anderson torsion yktwxyangechn aephndinihwthisamarthwdkhaid 5 0 tammatrariketxrcamiaexphlicudkarsnmakepn 10 ethakhxngaephndinihwthiwdkhaid 4 0 tammatrariketxr khidcakdbnthimiprasiththiphaphkhxngkarwdtammatrariketxrnikhwrtakwa 9 aelatakwa 10 sahrbmatraomemntaemknicud emuxtrwcwdaephndinihwkhnadihy 1 pccubnmatrariketxrthukaethnthidwymatrakhnadomemnt sungepnmatrthanthicaihkhathiodythwipaelwcamikhaiklekhiyngknsahrbaephndinihwkhnadklang 3 7 aemknicud aetthiimehmuxnkbmatrariketxrkhux matraomemntaemknicudcarayngansmbtiphunthankhxngaephndinihwcakkhxmulekhruxngtrwcwd aethnthicaepnkarrayngankhxmulekhruxngtrwcwd sungimsamarthepriybethiybknidinaephndinihwthukkhrng aelakhathiidcaimsmburninaephndinihwkhwamrunaerngsung enuxngcakmatraomemntaemknicudmkcaihkhathiiklekhiyngknkbmatrariketxr aemknicudkhxngaephndinihwthiidrbraynganinsuxmwlchncungmkcaraynganodyimrabuwaepnkarwdkhwamrunaerngtammatraidphlngnganthipldplxyxxkmakhxngaephndinihw sungsmphnthxyangiklchidkbphlngthalaylangkhxngmn samarthwdidcak 3 2 ethakhxngaexmphlicudkarsn dngnn aephndinihwthimikhwamrunaerngaetktangkn 1 aemknicudcungmikhaethakbphhukhunkhxng 31 6 101 0 3 2 inphlngnganthipldplxyxxkma aelathiaetktangkn 2 aemknicud camikhaethakbphhukhnkhxng 1000 102 0 3 2 inphlngnganthipldplxyxxkma 2 khwamcringaelw aemnticud ichwdprimanphlngngankhxngaephndinihwthiaethcring aetkhnithyeriykphidepnriketxr enuxha 1 prawti 2 riketxraemknicut 3 xangxing 4 duephimprawti aekikhmatrariketxridrbkaresnxkhunemux kh s 1935 odynkwithyaaephndinihwsxngkhn khux ebon kuethnebirk Beno Gutenbreg aela chals fransis riketxr Charles Francis Richter edimnnmikarkahndmatraniephuxichwdkhnadkhxngaephndinihwinthxngthinthangitkhxngaekhlifxreniyinshrthxemrika thibnthukiddwyxupkrnthieriykwa ekhruxngwdkhwamihwsaethuxn seismograph aephndinihwthimikhnadnxythisudinewlannthuxepnkhaiklekhiyngsuny matradngklawaebngepnradb ody thuk 1 riketxrthiephimkhun aesdngwaaephndinihwaerngkhun 10 ethamatrariketxrimmikhidcakdwamikhasungsudethaid aetodythwipkahndiwinchwng 0 9phayhlngemuxekhruxngwdkhwamihwsaethuxnmikhwamlaexiydmakkhun samarthwdkhnadkhxngaephndinihwidlaexiyd thnginradbthitakwa 0 sahrbkhathiidnxykwa 0 thuxepnkhatidlb aelathisungkwa 9riketxraemknicut aekikhriketxraemknicudkhxngaephndinihwsamarthhakhaidcaklxkarithumkhxngaexmphlicudkhxngkhlunthisamarthtrwcwdidodyekhruxngwdaephndinihw txmamikaraekikhrupaebbkarkhanwn ephuxchdechyrayahangrahwangekhruxngwdaephndinihwcanwnmakaelasunyklangaephndinihw sutrdngedimepndngni 3 M L log 10 A log 10 A 0 d displaystyle M mathrm L log 10 A log 10 A mathrm 0 delta odythi A epnkarebiyngebnthimikhamakthisudkhxngekhruxngwdaephndinihwwud aexnedxrsn inechingpracksaelw karthangankhxng A0 khunxyukbrayathangcakcudehnuxsunyekidaephndinihwkhxngsthani d inthangptibtiaelw karxankhacaksthanisngektkarnthnghmdcathuknamaechliyhlngcakmikarprbaekodyechphaakhxngaetlasthaniephuxihidmasungkhamatrariketxrenuxngcakphunthanlxkarithumkhxngmatrariketxr karephimkhunkhxngtwelkh 1 hnwyhmaykhwamwa aexmphlicudthisamarthwdidmikhaephimkhuncakedim 10 etha inaengkhxngphlngngan karthiaemknicudephimkhun 1 hnwy hmaykhwamwa miphlngnganpldplxyxxkmamakhun 31 6 etha aelakarephimkhun 0 2 aemknicud hmaykhwamwaphlngngancapldplxyxxkmamakkwaedimthung 2 etha tarangaesdngmatrariketxraelaphlkrathb odysankngansarwcthrniwithyashrthxemrika 4 twelkhriketxr cdxyuinradb phlkrathb xtrakarekidthwolk1 9 lngip imrusuk immi imsamarthrusukid 5 8 000 khrng wn2 0 2 9 ebamak khnthwipmkimrusuk aetksamarthrusukidbang aelatrwccbidngay 1 000 khrng wn3 0 3 9 khnswnihyrusukid aelabangkhrngsamarthsrangkhwamesiyhayidbang 49 000 khrng pi4 0 4 9 eba khawkhxnginbansnihwchdecn samarthsrangkhwamesiyhayidpanklang 6 200 khrng pi5 0 5 9 panklang srangkhwamesiyhayybeyinidkbsingkxsrangthiimmnkhng aetkbsingkxsrangthimnkhngnnimmipyha 800 khrng pi6 0 6 9 aerng srangkhwamesiyhaythikhxnkhangrunaerngidinrsmipraman 80 kiolemtr 120 khrng pi7 0 7 9 runaerng samarthsrangkhwamesiyhayrunaernginbriewnkwangkwa 18 khrng pi8 0 8 9 runaerngmak srangkhwamesiyhayrunaerngidinrsmiepnrxykiolemtr 1 khrng pi9 0 khunip langphlay thuksingthukxyanginrsmiepnphnkiolemtr 1 khrng 20 piaephndinihwkhrngrunaerngthisudthiekhyekidkhun khux aephndinihwinpraethschili thiemuxngwldiewiy ph s 2503 sungsamarthwdkhwamrunaerngid 9 5 6 xangxing aekikh Richter scale Glossary USGS March 31 2010 USGS Measuring the Size of an Earthquake Section Energy E Ellsworth William L 1991 The Richter Scale ML from The San Andreas Fault System California Professional Paper 1515 USGS c6 p177 subkhnemux 2008 09 14 More than one of author aela last specified help Cite journal requires journal help USGS FAQ Measuring Earthquakes epnsingthiriketxrekhykhidiw aethlkthanpccubnaesdngihehnwaaephndinihwthimiaemknicudtidlb xacmikhaephiyng 0 7 yngsamarthrusukid odyechphaaxyangyingemuxcudekidaephndinihwxyuluklngipimkirxyemtr duthi Thouvenot F Bouchon M 2008 aela What is the lowest magnitude threshold at which an earthquake can be felt or heard or objects thrown into the air in Frechet J Meghraoui M amp Stucchi M eds Modern Approaches in Solid Earth Sciences vol 2 Historical Seismology Interdisciplinary Studies of Past and Recent Earthquakes Springer Dordrecht 313 326 USGS List of World s Largest Earthquakesduephim aekikhmatraemrklliekhathungcak https th wikipedia org w index php title matrariketxr amp oldid 8594797, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม