fbpx
วิกิพีเดีย

วิธีตรวจจับดาวเคราะห์นอกระบบ

เนื่องจากดาวเคราะห์นอกระบบจะมีการส่องสว่างในตัวเองน้อยมาก ๆ เมื่อเทียบกับดาวฤกษ์แม่ของมัน การตรวจจับจึงเป็นไปได้ยาก ทั้งแสงสว่างจากดาวฤกษ์ยังอาจบดบังและกลบการมองเห็นดาวเคราะห์ไปเสีย ด้วยเหตุนี้ การตรวจจับดาวเคราะห์นอกระบบจึงมักไม่สามารถดำเนินการได้จากการเฝ้าสังเกตโดยตรง

นักดาราศาสตร์ได้พัฒนากระบวนวิธีตรวจจับทางอ้อมหลายวิธีเพื่อตรวจหาดาวเคราะห์นอกระบบ ในปัจจุบันมีกระบวนวิธีทางอ้อมหลายวิธีที่สามารถใช้ตรวจจับดาวเคราะห์นอกระบบอย่างได้ผล iOS 9.3.5(13G36) wckadse

วิธีตรวจจับในปัจจุบัน

มาตรดาราศาสตร์

 
แผนภาพแสดงการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ (วัตถุทีเล็กกว่า) โคจรรอบดาวฤกษ์ซึ่งเคลื่อนที่ไปด้วยเช่นกันเป็นวงกลมน้อย ๆ จุดศูนย์กลางมวลของระบบคือตำแหน่งกากบาทแดง (ในกรณีเช่นนี้ จุดศูนย์กลางมวลของระบบมักอยู่ภายในดาวฤกษ์เสมอ)

กระบวนวิธีนี้ทำโดยการตรวจวัดตำแหน่งที่แม่นยำของดาวฤกษ์บนท้องฟ้า และสังเกตการเปลี่ยนแปลงของตำแหน่งนั้นเมื่อเวลาผ่านไป แต่เดิมกระบวนวิธีเช่นนี้เคยทำด้วยการสังเกตและบันทึกด้วยมือ เมื่อถึงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 จึงเริ่มมีการใช้แผ่นจานรับแสง ซึ่งช่วยให้การวัดมีความแม่นยำมากยิ่งขึ้น หากดาวฤกษ์ที่เฝ้าสังเกตมีดาวเคราะห์เป็นบริวาร แรงโน้มถ่วงของดาวเคราะห์จะส่งอิทธิพลต่อดาวฤกษ์ทำให้มีการเคลื่อนที่เป็นวงกลมหรือวงรีน้อย ๆ ดาวฤกษ์กับดาวเคราะห์ต่างก็จะโคจรรอบจุดศูนย์กลางมวลร่วมของระบบ ซึ่งสามารถอธิบายได้ด้วยทฤษฎีคณิตศาสตร์คือ ปัญหาหลายวัตถุ เนื่องจากดาวฤกษ์มีมวลมากกว่า ดังนั้นมันจึงโคจรเป็นวงกลมที่เล็กกว่า

วิธีตรวจจับด้วยมาตรดาราศาสตร์เป็นกระบวนวิธีที่เก่าแก่ที่สุดในการค้นหาดาวเคราะห์นอกระบบ และเป็นที่นิยมอย่างมากเนื่องจากสามารถใช้อธิบายคุณลักษณะของระบบดาวคู่อย่างได้ผล หากสืบย้อนไปจะปรากฏกระบวนวิธีนี้อยู่ในเอกสารของวิลเลียม เฮอร์เชลในตอนปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 เขาอ้างว่าดาวฤกษ์ 70 คนแบกงู มีดาวคู่ที่มองไม่เห็นซึ่งส่งผลกระทบต่อการเคลื่อนที่ การคำนวณผลกระทบทางมาตรดาราศาสตร์ต่อดาวเคราะห์นอกระบบเป็นครั้งแรกเกิดขึ้นโดย ดับเบิลยู. เอส. จาค็อบ ในปี ค.ศ. 1855 โดยคำนวณจากดาวดวงนี้ หลังจากนั้นตลอดช่วงครึ่งศตวรรษถัดมาก็มีการคำนวณในลักษณะคล้ายคลึงกันนี้เกิดขึ้นอีกหลายครั้ง จนกระทั่งมีการพิสูจน์แย้งขึ้นในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20

การเปลี่ยนแปลงของตำแหน่งของดาวฤกษ์นั้นน้อยมาก และยังมีการรบกวนอันเกิดจากชั้นบรรยากาศและอื่น ๆ ค่อนข้างมาก ทำให้กล้องโทรทรรศน์บนพื้นโลกที่แม้จะดีเพียงใดก็ยังไม่สามารถตรวจวัดระยะได้แม่นยำเพียงพอ ดังนั้นการอ้างถึงการค้นพบ "ดาวคู่" หรือดาวเคราะห์บริวารใด ๆ ที่มีขนาดน้อยกว่า 0.1 เท่าของมวลดวงอาทิตย์ที่เกิดขึ้นก่อน ค.ศ. 1996 จึงเป็นการค้นพบปลอม ๆ ทั้งสิ้น อย่างไรก็ดีในปี ค.ศ. 2002 กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลประสบความสำเร็จในการตรวจจับดาวเคราะห์จากผลการค้นพบก่อนหน้านี้ คือดาวเคราะห์ที่โคจรรอบดาว กลีส 876

กล้องโทรทรรศน์อวกาศในอนาคตซึ่งจะติดตั้งอยู่ในเขตอวกาศ เช่น โครงการ Space Interferometry Mission ขององค์การนาซ่า อาจประสบความสำเร็จในการค้นพบดาวเคราะห์นอกระบบใหม่ ๆ ได้อีกเป็นจำนวนมากด้วยวิธีนี้ แต่ในปัจจุบันวิธีนี้เป็นวิธีที่ใช้ในการตรวจจับดาวเคราะห์ได้น้อยที่สุด

ความเร็วแนวเล็ง

ด้วยหลักการคล้ายคลึงกับวิธีมาตรดาราศาสตร์ การตรวจจับความเร็วแนวเล็งอาศัยข้อเท็จจริงที่ว่า ดาวฤกษ์ซึ่งมีดาวเคราะห์บริวารจะเคลื่อนที่เป็นวงกลมน้อย ๆ จากผลของแรงโน้มถ่วงของดาวเคราะห์ แต่ในที่นี้การตรวจวัดจะมุ่งไปที่การเปลี่ยนแปลงของความเร็วของดาวฤกษ์ที่เคลื่อนที่เข้าหาหรือมุ่งออกห่างจากโลก กล่าวคือ การเปลี่ยนแปลงของความเร็วเชิงรัศมีของดาวฤกษ์นั้น ๆ เมื่อเปรียบเทียบกับโลก โดยสามารถคำนวณได้จากการเปลี่ยนแปลงของเส้นสเปกตรัมของดาวฤกษ์แม่อันเป็นผลจากปรากฏการณ์ดอพเพลอร์

ความเร็วของดาวฤกษ์ในการโคจรรอบจุดศูนย์กลางมวลจะต่ำกว่าของดาวเคราะห์มาก เพราะรัศมีในการโคจรรอบจุดศูนย์กลางมวลน้อยมาก ความเร็วอาจต่ำถึง 1 เมตร/วินาที หากตรวจวัดด้วยสเปกโตรมิเตอร์ที่ทันสมัย เช่น HARPS ในกล้องโทรทรรศน์ขนาด 3.6 เมตรอของหอดูดาวท้องฟ้าซีกใต้แห่งยุโรปที่ลาซีญา ประเทศชิลี หรือ HIRES ของกล้องโทรทรรศน์เค็ก

การตรวจวัดด้วยความเร็วแนวเล็งจัดว่าเป็นเทคนิคที่ได้ผลมากที่สุดในการตรวจหาดาวเคราะห์นอกระบบ บางครั้งเรียกชื่อกระบวนวิธีนี้ว่า Doppler spectroscopy ความสำเร็จของการตรวจวัดขึ้นกับระยะทางเป็นสำคัญ โดยจำเป็นต้องอาศัย signal-to-noise ratio ที่มีค่าสูงเพื่อให้ได้ผลตรวจวัดที่แม่นยำยิ่งขึ้น ดังนั้นจึงมักใช้ในการตรวจสอบกับดาวฤกษ์ที่อยู่ห่างจากโลกราว 160 ปีแสง การตรวจจับจะสามารถหาดาวเคราะห์ที่มีมวลขนาดใหญ่และอยู่ใกล้ดาวเคราะห์ได้ง่ายกว่า แต่การวัดรอบการโคจรที่ระยะห่างมาก ๆ นั้นจะต้องใช้เวลาเฝ้าสังเกตการณ์นานหลายปี สำหรับข้อเสียของวิธีความเร็วแนวเล็งคือ มันสามารถประเมินได้เพียงมวลขนาดต่ำที่สุดของดาวเคราะห์เท่านั้น โดยปกติมวลที่แท้จริงของดาวเคราะห์จะมีค่าแปรผันประมาณ 20% ของค่าต่ำสุดนี้ แต่ถ้าวงโคจรของดาวเคราะห์เกือบจะเป็นแนวตั้งฉากกับแนวการมองเห็น ค่ามวลที่แท้จริงก็อาจจะสูงขึ้นอีกมาก

วิธีความเร็วแนวเล็งสามารถใช้ในการยืนยันผลการสังเกตที่ได้จากการสังเกตการเคลื่อนผ่าน เมื่อใช้ทั้งสองวิธีนี้ร่วมกัน จะสามารถประเมินขนาดมวลที่แท้จริงของดาวเคราะห์ได้

การจับเวลาพัลซาร์

พัลซาร์ คือดาวนิวตรอนชนิดหนึ่ง เป็นซากดาวขนาดเล็กและหนาแน่นสูงมากที่ระเบิดออกเป็นซูเปอร์โนวา พัลซาร์จะแผ่คลื่นวิทยุความเข้มสูงออกมาในขณะที่มันหมุนรอบตัวเอง การหมุนรอบตัวเองนี้เป็นแบบแผน ดังนั้นช่วงเวลาที่สังเกตพบคลื่นวิทยุจึงสามารถใช้วัดการเคลื่อนตัวของพัลซาร์ได้ พัลซาร์มีการเคลื่อนที่เช่นเดียวกันกับดาวฤกษ์ทั่วไป คือถ้าหากมีดาวเคราะห์บริวารอยู่ ก็จะโคจรเป็นวงกลมน้อย ๆ การสังเกตการณ์ระยะเวลาของพัลซาร์จึงสามารถบ่งบอกถึงลักษณะการโคจรแบบนี้ได้

กระบวนวิธีนี้เดิมมิได้ออกแบบมาเพื่อใช้ในการตรวจหาดาวเคราะห์ แต่ก็มีความแม่นยำสูงมากขนาดที่สามารถตรวจจับดาวเคราะห์ขนาดเล็กยิ่งกว่าที่กระบวนวิธีอื่นจะสามารถทำได้ คือดาวเคราะห์ที่เล็กขนาด 1 ใน 10 เท่าของมวลโลก นอกจากนี้ยังสามารถตรวจจับผลของแรงโน้มถ่วงในระบบดาวเคราะห์ที่มีสมาชิกหลายดวงได้ด้วย

ข้อด้อยของกระบวนวิธีนี้คือ พัลซาร์นั้นมีอยู่เป็นจำนวนน้อย การค้นพบดาวเคราะห์นอกระบบด้วยวิธีนี้จึงมีจำนวนน้อยไปด้วย นอกจากนี้ "ชีวิต" อย่างที่เรารู้จักย่อมไม่สามารถดำรงอยู่บนดาวเคราะห์ที่โคจรอยู่รอบพัลซาร์ เพราะรังสีพลังงานสูงที่แผ่ออกมาจากดาวแม่จะเข้มมาก

ปี ค.ศ. 1992 อเล็กซานเดอร์ โวลส์ชาน และ เดล เฟรล ใช้กระบวนวิธีนี้ค้นพบดาวเคราะห์โคจรอยู่รอบพัลซาร์ PSR 1257+12 การค้นพบนี้ได้รับการยืนยันอย่างรวดเร็ว และถือเป็นการค้นพบดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะที่ได้รับการยืนยันเป็นครั้งแรก

การเคลื่อนผ่าน

 
การตรวจจับการเคลื่อนผ่านเพื่อค้นหาดาวเคราะห์นอกระบบ เส้นกราฟด้านล่างของภาพแสดงถึงระดับของแสงจากดาวฤกษ์ที่โลกได้รับ ณ เวลาต่างๆ

กระบวนวิธีดังกล่าวข้างต้นทำให้เราได้ข้อมูลเกี่ยวกับมวลของดาวเคราะห์ ส่วนกระบวนวิธีเกี่ยวกับการตรวจจับทางแสงจะทำให้เราทราบขนาดรัศมีของดาวเคราะห์ ถ้าดาวเคราะห์เคลื่อนผ่านหน้าดาวฤกษ์แม่ของมัน ความสว่างของดาวฤกษ์ที่เรามองเห็นจะลดลงเป็นจำนวนขนาดหนึ่ง ขนาดความสว่างที่ลดลงนี้มีความสัมพันธ์กับขนาดเปรียบเทียบระหว่างดาวฤกษ์กับดาวเคราะห์ที่เคลื่อนผ่าน ตัวอย่างเช่น ในกรณีของดาว HD 209458 ความสว่างของดาวฤกษ์ลดลง 1.7%

ไมโครเลนส์โน้มถ่วง

ดูบทความหลักที่: ไมโครเลนส์โน้มถ่วง

ไมโครเลนส์โน้มถ่วงเกิดขึ้นเนื่องจากปรากฏการณ์ที่สนามโน้มถ่วงของดาวประพฤติตัวเหมือนเลนส์ ที่ทำหน้าที่รวมแสงของดาวพื้นหลังที่อยู่ในระยะไกล โดยปรากฏการณ์นี้เกิดขึ้นเมื่อดาวสองดวงวางตัวอยู่ในทิศทางตามแนวเล็งเดียวกัน ปรากฏการณ์เลนส์นั้นจะใช้ระยะเวลาในการเกิดขึ้นในระยะเวลาเป็นสัปดาห์หรือวัน ตามการเคลื่อนที่แบบสัมพัทธ์ของดาวทั้งสองดวงและโลก ซึ่งเหตุการณ์ดังกล่าวจะเกิดขึ้นมากกว่าหนึ่งพันครั้งจากการสังเกตการณ์ในรอบสิบปี

ถ้าดาวพื้นหลังของดาวที่มีหน้าที่รวมแสงมีดาวเคราะห์บริวาร ซึ่งดาวเคราะห์ดังกล่าวจะมีสนามโน้มถ่วงของดาวเอง โดยสนามโน้มถ่วงดังกล่าวสามารถตรวจวัดได้จากปรากฏการณ์เลนส์ เนื่องด้วยการศึกษาดังกล่าวต้องอาศัยการเรียงตัวที่ดีมาก ทำให้การศึกษาต้องมีการตรวจวัดดาวระยะไกลจำนวนมากอย่างต่อเนื่อง เพื่อตรวจวัดดาวเคราะห์นอกระบบ ซึ่งวิธีการดังกล่าวเป็นวิธีการที่น่าเชื่อถือสำหรับดาวเคราห์นอกระบบที่อยู่ระหว่างโลกกับจุดศูนย์กลางของกาแล็กซี่ เนื่องจากบริเวณใจกลางกาแล็กซี่มีดาวพื้นหลังจำนวนมาก

จานฝุ่นละออง

การถ่ายภาพโดยตรง

วิธีตรวจจับในอนาคต

จับภาพจากอวกาศ

เวลาอุปราคาดาวคู่ต่ำสุด

การผันผวนของแสงสะท้อนในวงโคจร

การวัดการโพลาไรซ์

อ้างอิง

  1. Alexander, Amir. "Space Topics: Extrasolar Planets Astrometry: The Past and Future of Planet Hunting". The Planetary Society. สืบค้นเมื่อ 2006-09-10.
  2. See, Thomas Jefferson Jackson (1896). "Researches on the Orbit of F.70 Ophiuchi, and on a Periodic Perturbation in the Motion of the System Arising from the Action of an Unseen Body". The Astronomical Journal. 16: 17. doi:10.1086/102368.
  3. Sherrill, Thomas J. (1999). "A Career of controversy: the anomaly OF T. J. J. See" (PDF). Journal for the history of astronomy. 30. สืบค้นเมื่อ 2007-08-27. Check date values in: |date= (help)
  4. Heintz, W.D. (1988). "The Binary Star 70 Ophiuchi Revisited". Journal of the Royal Astronomical Society of Canada. 82 (3). สืบค้นเมื่อ 2007-08-27. Unknown parameter |month= ignored (help)
  5. Benedict; และคณะ (2002). "A Mass for the Extrasolar Planet Gliese 876b Determined from Hubble Space Telescope Fine Guidance Sensor 3 Astrometry and High-Precision Radial Velocities". The Astrophysical Journal Letters. 581 (2): L115–L118. doi:10.1086/346073. Explicit use of et al. in: |author= (help)
  6. Townsend, Rich (27 January, 2003). . Department of Physics & Astronomy, Astrophysics Group, University College, London. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2005-09-15. สืบค้นเมื่อ 2006-09-10. Cite journal requires |journal= (help); Check date values in: |date= (help)
  7. A. Wolszczan and D. A. Frail (9 January, 1992). "A planetary system around the millisecond pulsar PSR1257+12". Nature 355 p. 145-147. สืบค้นเมื่อ 2007-04-30. Cite journal requires |journal= (help); Check date values in: |date= (help)

ตรวจจ, บดาวเคราะห, นอกระบบ, เน, องจากดาวเคราะห, นอกระบบจะม, การส, องสว, างในต, วเองน, อยมาก, เม, อเท, ยบก, บดาวฤกษ, แม, ของม, การตรวจจ, บจ, งเป, นไปได, ยาก, งแสงสว, างจากดาวฤกษ, งอาจบดบ, งและกลบการมองเห, นดาวเคราะห, ไปเส, วยเหต, การตรวจจ, บดาวเคราะห, นอกระบบจ,. enuxngcakdawekhraahnxkrabbcamikarsxngswangintwexngnxymak emuxethiybkbdawvksaemkhxngmn kartrwccbcungepnipidyak thngaesngswangcakdawvksyngxacbdbngaelaklbkarmxngehndawekhraahipesiy dwyehtuni kartrwccbdawekhraahnxkrabbcungmkimsamarthdaeninkaridcakkarefasngektodytrngnkdarasastridphthnakrabwnwithitrwccbthangxxmhlaywithiephuxtrwchadawekhraahnxkrabb inpccubnmikrabwnwithithangxxmhlaywithithisamarthichtrwccbdawekhraahnxkrabbxyangidphl iOS 9 3 5 13G36 wckadse enuxha 1 withitrwccbinpccubn 1 1 matrdarasastr 1 2 khwamerwaenwelng 1 3 karcbewlaphlsar 1 4 karekhluxnphan 1 5 imokhrelnsonmthwng 1 6 canfunlaxxng 1 7 karthayphaphodytrng 2 withitrwccbinxnakht 2 1 cbphaphcakxwkas 2 2 ewlaxuprakhadawkhutasud 2 3 karphnphwnkhxngaesngsathxninwngokhcr 2 4 karwdkarophlairs 3 xangxingwithitrwccbinpccubn aekikhswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidmatrdarasastr aekikh aephnphaphaesdngkarekhluxnthikhxngdawekhraah wtthuthielkkwa okhcrrxbdawvkssungekhluxnthiipdwyechnknepnwngklmnxy cudsunyklangmwlkhxngrabbkhuxtaaehnngkakbathaedng inkrniechnni cudsunyklangmwlkhxngrabbmkxyuphayindawvksesmx krabwnwithinithaodykartrwcwdtaaehnngthiaemnyakhxngdawvksbnthxngfa aelasngektkarepliynaeplngkhxngtaaehnngnnemuxewlaphanip aetedimkrabwnwithiechnniekhythadwykarsngektaelabnthukdwymux emuxthungplaykhriststwrrsthi 19 cungerimmikarichaephncanrbaesng sungchwyihkarwdmikhwamaemnyamakyingkhun hakdawvksthiefasngektmidawekhraahepnbriwar aerngonmthwngkhxngdawekhraahcasngxiththiphltxdawvksthaihmikarekhluxnthiepnwngklmhruxwngrinxy dawvkskbdawekhraahtangkcaokhcrrxbcudsunyklangmwlrwmkhxngrabb sungsamarthxthibayiddwythvsdikhnitsastrkhux pyhahlaywtthu enuxngcakdawvksmimwlmakkwa dngnnmncungokhcrepnwngklmthielkkwa 1 withitrwccbdwymatrdarasastrepnkrabwnwithithiekaaekthisudinkarkhnhadawekhraahnxkrabb aelaepnthiniymxyangmakenuxngcaksamarthichxthibaykhunlksnakhxngrabbdawkhuxyangidphl haksubyxnipcapraktkrabwnwithinixyuinexksarkhxngwileliym ehxrechlintxnplaykhriststwrrsthi 18 ekhaxangwadawvks 70 khnaebkngu midawkhuthimxngimehnsungsngphlkrathbtxkarekhluxnthi karkhanwnphlkrathbthangmatrdarasastrtxdawekhraahnxkrabbepnkhrngaerkekidkhunody dbebilyu exs cakhxb inpi kh s 1855 odykhanwncakdawdwngni hlngcaknntlxdchwngkhrungstwrrsthdmakmikarkhanwninlksnakhlaykhlungknniekidkhunxikhlaykhrng 2 cnkrathngmikarphisucnaeyngkhuninchwngtnkhriststwrrsthi 20 3 4 karepliynaeplngkhxngtaaehnngkhxngdawvksnnnxymak aelayngmikarrbkwnxnekidcakchnbrryakasaelaxun khxnkhangmak thaihklxngothrthrrsnbnphunolkthiaemcadiephiyngidkyngimsamarthtrwcwdrayaidaemnyaephiyngphx dngnnkarxangthungkarkhnphb dawkhu hruxdawekhraahbriwarid thimikhnadnxykwa 0 1 ethakhxngmwldwngxathitythiekidkhunkxn kh s 1996 cungepnkarkhnphbplxm thngsin xyangirkdiinpi kh s 2002 klxngothrthrrsnxwkashbebilprasbkhwamsaercinkartrwccbdawekhraahcakphlkarkhnphbkxnhnani khuxdawekhraahthiokhcrrxbdaw klis 876 5 klxngothrthrrsnxwkasinxnakhtsungcatidtngxyuinekhtxwkas echn okhrngkar Space Interferometry Mission khxngxngkhkarnasa xacprasbkhwamsaercinkarkhnphbdawekhraahnxkrabbihm idxikepncanwnmakdwywithini aetinpccubnwithiniepnwithithiichinkartrwccbdawekhraahidnxythisud khwamerwaenwelng aekikh dwyhlkkarkhlaykhlungkbwithimatrdarasastr kartrwccbkhwamerwaenwelngxasykhxethccringthiwa dawvkssungmidawekhraahbriwarcaekhluxnthiepnwngklmnxy cakphlkhxngaerngonmthwngkhxngdawekhraah aetinthinikartrwcwdcamungipthikarepliynaeplngkhxngkhwamerwkhxngdawvksthiekhluxnthiekhahahruxmungxxkhangcakolk klawkhux karepliynaeplngkhxngkhwamerwechingrsmikhxngdawvksnn emuxepriybethiybkbolk odysamarthkhanwnidcakkarepliynaeplngkhxngesnsepktrmkhxngdawvksaemxnepnphlcakpraktkarndxphephlxrkhwamerwkhxngdawvksinkarokhcrrxbcudsunyklangmwlcatakwakhxngdawekhraahmak ephraarsmiinkarokhcrrxbcudsunyklangmwlnxymak khwamerwxactathung 1 emtr winathi haktrwcwddwysepkotrmietxrthithnsmy echn HARPS inklxngothrthrrsnkhnad 3 6 emtrxkhxnghxdudawthxngfasikitaehngyuorpthilasiya praethschili hrux HIRES khxngklxngothrthrrsnekhkkartrwcwddwykhwamerwaenwelngcdwaepnethkhnikhthiidphlmakthisudinkartrwchadawekhraahnxkrabb bangkhrngeriykchuxkrabwnwithiniwa Doppler spectroscopy khwamsaerckhxngkartrwcwdkhunkbrayathangepnsakhy odycaepntxngxasy signal to noise ratio thimikhasungephuxihidphltrwcwdthiaemnyayingkhun dngnncungmkichinkartrwcsxbkbdawvksthixyuhangcakolkraw 160 piaesng kartrwccbcasamarthhadawekhraahthimimwlkhnadihyaelaxyuikldawekhraahidngaykwa aetkarwdrxbkarokhcrthirayahangmak nncatxngichewlaefasngektkarnnanhlaypi sahrbkhxesiykhxngwithikhwamerwaenwelngkhux mnsamarthpraeminidephiyngmwlkhnadtathisudkhxngdawekhraahethann odypktimwlthiaethcringkhxngdawekhraahcamikhaaeprphnpraman 20 khxngkhatasudni aetthawngokhcrkhxngdawekhraahekuxbcaepnaenwtngchakkbaenwkarmxngehn khamwlthiaethcringkxaccasungkhunxikmakwithikhwamerwaenwelngsamarthichinkaryunynphlkarsngektthiidcakkarsngektkarekhluxnphan emuxichthngsxngwithinirwmkn casamarthpraeminkhnadmwlthiaethcringkhxngdawekhraahid karcbewlaphlsar aekikh phlsar khuxdawniwtrxnchnidhnung epnsakdawkhnadelkaelahnaaennsungmakthiraebidxxkepnsuepxronwa phlsarcaaephkhlunwithyukhwamekhmsungxxkmainkhnathimnhmunrxbtwexng karhmunrxbtwexngniepnaebbaephn dngnnchwngewlathisngektphbkhlunwithyucungsamarthichwdkarekhluxntwkhxngphlsarid phlsarmikarekhluxnthiechnediywknkbdawvksthwip khuxthahakmidawekhraahbriwarxyu kcaokhcrepnwngklmnxy karsngektkarnrayaewlakhxngphlsarcungsamarthbngbxkthunglksnakarokhcraebbniid 6 krabwnwithiniedimmiidxxkaebbmaephuxichinkartrwchadawekhraah aetkmikhwamaemnyasungmakkhnadthisamarthtrwccbdawekhraahkhnadelkyingkwathikrabwnwithixuncasamarththaid khuxdawekhraahthielkkhnad 1 in 10 ethakhxngmwlolk nxkcakniyngsamarthtrwccbphlkhxngaerngonmthwnginrabbdawekhraahthimismachikhlaydwngiddwykhxdxykhxngkrabwnwithinikhux phlsarnnmixyuepncanwnnxy karkhnphbdawekhraahnxkrabbdwywithinicungmicanwnnxyipdwy nxkcakni chiwit xyangthieraruckyxmimsamarthdarngxyubndawekhraahthiokhcrxyurxbphlsar ephraarngsiphlngngansungthiaephxxkmacakdawaemcaekhmmakpi kh s 1992 xelksanedxr owlschan aela edl efrl ichkrabwnwithinikhnphbdawekhraahokhcrxyurxbphlsar PSR 1257 12 7 karkhnphbniidrbkaryunynxyangrwderw aelathuxepnkarkhnphbdawekhraahnxkrabbsuriyathiidrbkaryunynepnkhrngaerk karekhluxnphan aekikh kartrwccbkarekhluxnphanephuxkhnhadawekhraahnxkrabb esnkrafdanlangkhxngphaphaesdngthungradbkhxngaesngcakdawvksthiolkidrb n ewlatang krabwnwithidngklawkhangtnthaiheraidkhxmulekiywkbmwlkhxngdawekhraah swnkrabwnwithiekiywkbkartrwccbthangaesngcathaiherathrabkhnadrsmikhxngdawekhraah thadawekhraahekhluxnphanhnadawvksaemkhxngmn khwamswangkhxngdawvksthieramxngehncaldlngepncanwnkhnadhnung khnadkhwamswangthildlngnimikhwamsmphnthkbkhnadepriybethiybrahwangdawvkskbdawekhraahthiekhluxnphan twxyangechn inkrnikhxngdaw HD 209458 khwamswangkhxngdawvksldlng 1 7 imokhrelnsonmthwng aekikh dubthkhwamhlkthi imokhrelnsonmthwng imokhrelnsonmthwngekidkhunenuxngcakpraktkarnthisnamonmthwngkhxngdawpraphvtitwehmuxnelns thithahnathirwmaesngkhxngdawphunhlngthixyuinrayaikl odypraktkarnniekidkhunemuxdawsxngdwngwangtwxyuinthisthangtamaenwelngediywkn praktkarnelnsnncaichrayaewlainkarekidkhuninrayaewlaepnspdahhruxwn tamkarekhluxnthiaebbsmphththkhxngdawthngsxngdwngaelaolk sungehtukarndngklawcaekidkhunmakkwahnungphnkhrngcakkarsngektkarninrxbsibpithadawphunhlngkhxngdawthimihnathirwmaesngmidawekhraahbriwar sungdawekhraahdngklawcamisnamonmthwngkhxngdawexng odysnamonmthwngdngklawsamarthtrwcwdidcakpraktkarnelns enuxngdwykarsuksadngklawtxngxasykareriyngtwthidimak thaihkarsuksatxngmikartrwcwddawrayaiklcanwnmakxyangtxenuxng ephuxtrwcwddawekhraahnxkrabb sungwithikardngklawepnwithikarthinaechuxthuxsahrbdawekhrahnxkrabbthixyurahwangolkkbcudsunyklangkhxngkaaelksi enuxngcakbriewnicklangkaaelksimidawphunhlngcanwnmak canfunlaxxng aekikh karthayphaphodytrng aekikhwithitrwccbinxnakht aekikhswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidcbphaphcakxwkas aekikh ewlaxuprakhadawkhutasud aekikh karphnphwnkhxngaesngsathxninwngokhcr aekikh karwdkarophlairs aekikhxangxing aekikh Alexander Amir Space Topics Extrasolar Planets Astrometry The Past and Future of Planet Hunting The Planetary Society subkhnemux 2006 09 10 See Thomas Jefferson Jackson 1896 Researches on the Orbit of F 70 Ophiuchi and on a Periodic Perturbation in the Motion of the System Arising from the Action of an Unseen Body The Astronomical Journal 16 17 doi 10 1086 102368 Sherrill Thomas J 1999 A Career of controversy the anomaly OF T J J See PDF Journal for the history of astronomy 30 subkhnemux 2007 08 27 Check date values in date help Heintz W D 1988 The Binary Star 70 Ophiuchi Revisited Journal of the Royal Astronomical Society of Canada 82 3 subkhnemux 2007 08 27 Unknown parameter month ignored help Benedict aelakhna 2002 A Mass for the Extrasolar Planet Gliese 876b Determined from Hubble Space Telescope Fine Guidance Sensor 3 Astrometry and High Precision Radial Velocities The Astrophysical Journal Letters 581 2 L115 L118 doi 10 1086 346073 Explicit use of et al in author help Townsend Rich 27 January 2003 The Search for Extrasolar Planets Lecture Department of Physics amp Astronomy Astrophysics Group University College London khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2005 09 15 subkhnemux 2006 09 10 Cite journal requires journal help Check date values in date help A Wolszczan and D A Frail 9 January 1992 A planetary system around the millisecond pulsar PSR1257 12 Nature 355 p 145 147 subkhnemux 2007 04 30 Cite journal requires journal help Check date values in date help bthkhwamekiywkbdarasastrhruxckrwalwithyaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy darasastrekhathungcak https th wikipedia org w index php title withitrwccbdawekhraahnxkrabb amp oldid 9594695, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม