fbpx
วิกิพีเดีย

วิธีหารแบบยุคลิด

ในวิชาเลขคณิต วิธีหารแบบยุคลิด เป็นขั้นตอนการหารของจำนวนเต็มสองจำนวน ให้ผลลัพธ์เป็นผลหารและเศษ มีทฤษฎีบทกล่าวว่าผลหารและเศษมีอยู่หนึ่งเดียว และมีสมบัติบางประการ วิธีการหารจำนวนเต็มคำนวณตัวตั้งและตัวหารเป็นผลหารและเศษ วิธีที่รู้จักกันโดยทั่วไปคือการหารยาว การหารจำนวนเต็มเป็นส่วนประกอบสำคัญสำหรับขั้นตอนวิธีการอื่นๆ เช่นขั้นตอนวิธีแบบยุคลิดสำหรับหาตัวหารร่วมมากของสองจำนวน

17 ถูกแบ่งเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 5 โดยเหลือ 2 ในที่นี้ ตัวตั้งคือ 17 ตัวหารคือ 5 ผลหารคือ 3 และเศษคือ 2
17 = 5 × 3 + 2

ตัวอย่างโดยทั่วไป

 
พายแบ่งเป็น 9 ชิ้น มีคน 4 คน แต่ละคนได้พาย 2 ชิ้น เหลืออีก 1 ชิ้น

สมมุติว่าพายชิ้นหนึ่งแบ่งเป็น 9 ชิ้นเล็ก คน 4 คนแบ่งพายเท่าๆ กัน โดยวิธีหารแบบยุคลิด 9 หารด้วย 4 ได้ 2 เศษ 1 นั่นคือแต่ละคนได้พาย 2 ชิ้น เหลือ 1 ชิ้น

ประโยคข้างต้นสามารถยืนยันโดยการคูณ การดำเนินการผกผันของการหาร: ถ้าคนทั้ง 4 ได้พายคนละ 2 ชิ้น แล้วพายที่แจกคนเหล่านี้มีจำนวน 4 × 2 = 8 ชิ้น เมื่อรวมกับอีก 1 ชิ้นที่เหลืออยู่จะได้ 9 ชิ้น ดังนั้น 9 = 4 × 2 + 1

โดยทั่วไป ถ้าจำนวนของชิ้นพายแทนด้วย a และจำนวนของคนคือ b สามารถแบ่งพายให้ทุกคน คนละเท่าๆกัน โดยแต่ละคนได้พาย q ชิ้น (ผลหาร)และพายจำนวน r < b ชิ้นเหลืออยู่(เศษ) สมการ a = bq + r เป็นจริงทุกกรณี

ถ้าพาย 9 ชิ้นถูกแบ่งให้คน 3 คน แทนที่จะเป็น 4 คน แต่ละคนจะได้พาย 3 ชิ้นและไม่มีพายเหลืออยู่ ในกรณีนี้ เศษเป็นศูนย์ เพราะ 3 หาร ลงตัว

การหารแบบยุคลิดขยายกรณีเป็นจำนวนเต็มลบได้โดยใช้สูตรเดียวกัน เช่น −9 = 4 × (−3) + 3 ดังนั้น −9 หารด้วย 4 ได้ −3 เศษ 3 เศษเป็นจำนวนเดียวในสี่จำนวนเหล่านี้ไม่สามารถเป็นลบได้

ประพจน์แสดงทฤษฎีบท

กำหนดจำนวนเต็ม   และ   ซึ่งมีค่าไม่เป็นศูนย์ จะมีจำนวนเต็ม   และ   เพียงหนึ่งคู่เท่านั้นที่   และ   โดย   แทนค่าสัมบูรณ์ของ  

จำนวนทั้งสี่ที่ปรากฏในทฤษฎีบทนี้มีชื่อดังนี้   เรียกตัวตั้ง   เรียกตัวหาร   เรียกผลหาร และ   เรียกเศษ

การคำนวณผลหารและเศษจากตัวตั้งและตัวหารเรียกว่าการหารหรือการหารแบบยุคลิดเพื่อเลี่ยงความกำกวม ทฤษฎีบทนี้มักกล่าวถึงด้วยชื่อขั้นตอนการหาร แม้ว่าจะเป็นทฤษฎีและไม่ใช่ขั้นตอนวิธี เพราะการพิสูจน์ก็ให้ขั้นตอนวิธีหารอย่างง่ายสำหรับคำนวณ   และ  

การหารไม่นิยามถ้า   ดูหน้าการหารด้วยศูนย์

ตัวอย่าง

  • ถ้า a = 7 และ b = 3 แล้ว q = 2 และ r = 1 เพราะ 7 = 3 × 2 + 1
  • ถ้า a = 7 และ b = −3 แล้ว q = −2 และ r = 1 เพราะ 7 = −3 × (−2) + 1
  • ถ้า a = −7 และ b = 3 แล้ว q = −3 และ r = 2 เพราะ −7 = 3 × (−3) + 2
  • ถ้า a = −7 และ b = −3 แล้ว q = 3 และ r = 2 เพราะ −7 = −3 × 3 + 2

อ้างอิง

  1. Burton, David M. (2010). Elementary Number Theory. McGraw-Hill. pp. 17–19. ISBN 978-0-07-338314-9.

หารแบบย, คล, ในว, ชาเลขคณ, เป, นข, นตอนการหารของจำนวนเต, มสองจำนวน, ให, ผลล, พธ, เป, นผลหารและเศษ, ทฤษฎ, บทกล, าวว, าผลหารและเศษม, อย, หน, งเด, ยว, และม, สมบ, บางประการ, การหารจำนวนเต, มคำนวณต, วต, งและต, วหารเป, นผลหารและเศษ, กก, นโดยท, วไปค, อการหารยาว, การห. inwichaelkhkhnit withiharaebbyukhlid epnkhntxnkarharkhxngcanwnetmsxngcanwn ihphllphthepnphlharaelaess mithvsdibthklawwaphlharaelaessmixyuhnungediyw aelamismbtibangprakar withikarharcanwnetmkhanwntwtngaelatwharepnphlharaelaess withithiruckknodythwipkhuxkarharyaw karharcanwnetmepnswnprakxbsakhysahrbkhntxnwithikarxun echnkhntxnwithiaebbyukhlidsahrbhatwharrwmmakkhxngsxngcanwn17 thukaebngepn 3 klum klumla 5 odyehlux 2 inthini twtngkhux 17 twharkhux 5 phlharkhux 3 aelaesskhux 2 17 5 3 2 enuxha 1 twxyangodythwip 2 praphcnaesdngthvsdibth 3 twxyang 4 xangxingtwxyangodythwip aekikh phayaebngepn 9 chin mikhn 4 khn aetlakhnidphay 2 chin ehluxxik 1 chin smmutiwaphaychinhnungaebngepn 9 chinelk khn 4 khnaebngphayetha kn odywithiharaebbyukhlid 9 hardwy 4 id 2 ess 1 nnkhuxaetlakhnidphay 2 chin ehlux 1 chinpraoykhkhangtnsamarthyunynodykarkhun kardaeninkarphkphnkhxngkarhar thakhnthng 4 idphaykhnla 2 chin aelwphaythiaeckkhnehlanimicanwn 4 2 8 chin emuxrwmkbxik 1 chinthiehluxxyucaid 9 chin dngnn 9 4 2 1odythwip thacanwnkhxngchinphayaethndwy a aelacanwnkhxngkhnkhux b samarthaebngphayihthukkhn khnlaethakn odyaetlakhnidphay q chin phlhar aelaphaycanwn r lt b chinehluxxyu ess smkar a bq r epncringthukkrnithaphay 9 chinthukaebngihkhn 3 khn aethnthicaepn 4 khn aetlakhncaidphay 3 chinaelaimmiphayehluxxyu inkrnini essepnsuny ephraa 3 har lngtwkarharaebbyukhlidkhyaykrniepncanwnetmlbidodyichsutrediywkn echn 9 4 3 3 dngnn 9 hardwy 4 id 3 ess 3 essepncanwnediywinsicanwnehlaniimsamarthepnlbidpraphcnaesdngthvsdibth aekikhkahndcanwnetm a displaystyle a aela b displaystyle b sungmikhaimepnsuny camicanwnetm q displaystyle q aela r displaystyle r ephiynghnungkhuethannthi a b q r displaystyle a bq r aela 0 r lt b displaystyle 0 leq r lt b ody b displaystyle b aethnkhasmburnkhxng b displaystyle b 1 canwnthngsithipraktinthvsdibthnimichuxdngni a displaystyle a eriyktwtng b displaystyle b eriyktwhar q displaystyle q eriykphlhar aela r displaystyle r eriykesskarkhanwnphlharaelaesscaktwtngaelatwhareriykwakarharhruxkarharaebbyukhlidephuxeliyngkhwamkakwm thvsdibthnimkklawthungdwychuxkhntxnkarhar aemwacaepnthvsdiaelaimichkhntxnwithi ephraakarphisucnkihkhntxnwithiharxyangngaysahrbkhanwn q displaystyle q aela r displaystyle r karharimniyamtha b 0 displaystyle b 0 duhnakarhardwysunytwxyang aekikhtha a 7 aela b 3 aelw q 2 aela r 1 ephraa 7 3 2 1 tha a 7 aela b 3 aelw q 2 aela r 1 ephraa 7 3 2 1 tha a 7 aela b 3 aelw q 3 aela r 2 ephraa 7 3 3 2 tha a 7 aela b 3 aelw q 3 aela r 2 ephraa 7 3 3 2xangxing aekikh Burton David M 2010 Elementary Number Theory McGraw Hill pp 17 19 ISBN 978 0 07 338314 9 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title withiharaebbyukhlid amp oldid 5808881, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม