fbpx
วิกิพีเดีย

สงครามกรุงทรอย

สงครามกรุงทรอย (อังกฤษ: Trojan War) เป็นสงครามระหว่างชาวอะคีอันส์ ​(กรีกโบราณ: Ἀχαιοί) (ชาวกรีก) กับชาวกรุงทรอย หลังปารีสแห่งทรอยชิงพระนางเฮเลนมาจากพระสวามี คือพระเจ้าเมเนเลอัสแห่งสปาร์ตา สงครามดังกล่าวเป็นหนึ่งในเหตุการณ์สำคัญที่สุดในเทพปกรณัมกรีก และมีการบอกเล่าผ่านงานวรรณกรรมกรีกหลายชิ้น ที่โดดเด่นที่สุด คือ อีเลียดและโอดิสซีย์ของโฮเมอร์ มหากาพย์อีเลียดเล่าเรื่องการล้อมกรุงทรอยปีสุดท้าย ส่วนโอดิสซีย์อธิบายการเดินทางกลับบ้านของโอดิสเซียส ส่วนอื่นของสงครามมีการอธิบายในโคลงวัฏมหากาพย์ (Epic Cycle) ได้แก่ ไซเพรีย, เอธิออพิส, อีเลียดน้อย, อีลิอูเพอร์ซิส, นอสตอย, และ เทเลโกนี ซึ่งปัจจุบันเหลือรอดมาเพียงบางส่วน ฯ การศึกแห่งกรุงทรอยเป็นแหล่งวัตถุดิบสำคัญที่ กวีและนักประพันธ์โศกนาฏกรรมกรีก เช่น เอสคิลัส (Aeschylus) โซโฟคลีส (Sophocles) และ ยูริพิดีส (Euripides) นำมาใช้ประพันธ์บทละคร นอกจากนี้กวีชาวโรมัน โดยเฉพาะเวอร์จิลและโอวิด ก็ดึงเอาเหตุการณ์จากสงครามทรอยมาเป็นพื้นเรื่อง หรือเนื้อหาส่วนหนึ่งในงานประพันธ์ของตนเช่นกัน

"การเผากรุงทรอย" (1759/62) โดย Johann Georg Trautmann

สงครามกำเนิดจากการวิวาทระหว่างเทพีอะธีนา เฮราและแอโฟรไดที หลังอีริส เทพีแห่งการวิวาทและความบาดหมาง ให้ผลแอปเปิลสีทอง ซึ่งบางครั้งรู้จักกันในนาม "แอปเปิลแห่งความบาดหมาง" แก่ "ผู้ที่งามที่สุด" ซูสส่งเทพีทั้งสามไปหาปารีส ผู้ตัดสินว่าแอโฟรไดที "ผู้งามที่สุด" ควรได้รับแอปเปิลไป เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยน แอโฟรไดทีเสกให้เฮเลน หญิงงามที่สุดในโลกและมเหสีของพระเจ้าเมเนเลอัส ตกหลุมรักปารีส และปารีสได้นำพระนางไปยังกรุงทรอย อกาเมมนอน พระเจ้ากรุงไมซีนี และพระเชษฐาของพระเจ้าเมเนเลอัส พระสวามีของเฮเลน นำกองทัพชาวอะคีอันส์ไปยังกรุงทรอยและล้อมกรุงไว้สิบปี หลังสิ้นวีรบุรุษไปมากมาย รวมทั้งอคิลลีสและอาแจ็กซ์ของฝ่ายอะคีอันส์ และเฮกเตอร์และปารีสของฝ่ายทรอย กรุงทรอยก็เสียด้วยอุบายม้าโทรจัน ฝ่ายอะคีอันส์สังหารชาวกรุงทรอย (ยกเว้นหญิงและเด็กบางส่วนที่ไว้ชีวิตหรือขายเป็นทาส) และทำลายวิหาร ทำให้เทพเจ้าพิโรธ ชาวอะคีอันส์ส่วนน้อยที่กลับถึงบ้านอย่างปลอดภัยและหลายคนตั้งนิคมในชายฝั่งอันห่างไกล ภายหลังชาวโรมันสืบเชื้อสายของพวกตนไปถึงเอเนียส หนึ่งในชาวกรุงทรอย ผู้กล่าวกันว่านำชาวกรุงทรอยที่เหลือรอดไปยังประเทศอิตาลีในปัจจุบัน

ชาวกรีกโบราณคาดว่าสงครามกรุงทรอยเป็นเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ซึ่งเกิดขึ้นในศตวรรษที่ 13 หรือ 12 ก่อนคริสตกาล และเชื่อว่ากรุงทรอยตั้งอยู่ในประเทศตุรกีปัจจุบัน ใกล้กับช่องแคบดาร์ดาเนลส์ เมื่อล่วงมาถึงสมัยใหม่ คนส่วนใหญ่เชื่อว่าทั้งสงครามและกรุงทรอยเป็นนิทานปรำปราที่แต่งขึ้น อย่างไรก็ดี ในปี 1868 นักโบราณคดีชาวเยอรมัน ไฮน์ริช ชไลมันน์พบกับแฟรงก์ คัลเวิร์ท ผู้โน้มน้าวชไลมันน์ว่า กรุงทรอยเป็นสถานที่ที่มีอยู่จริง โดยตั้งอยู่ที่ฮิสซาร์ริคประเทศตุรกี และชไลมันน์เข้าควบคุมการขุดค้นของคัลเวิร์ทบนพื้นที่ซึ่งเป็นทรัพย์สินของคัลเวิร์ท คำถามที่ว่ามีความเป็นจริงทางประวัติศาสตร์ใดอยู่เบื้องหลังสงครามกรุงทรอยหรือไม่นั้นยังไม่มีคำตอบ นักวิชาการจำนวนมากเชื่อว่านิยายดังกล่าวมีแก่นความจริงทางประวัติศาสตร์ แม้อาจหมายความว่า เรื่องเล่าของโฮเมอร์เป็นการผสมนิทการล้อมและการออกเดินทางต่าง ๆ ของชาวกรีกไมซีเนียนระหว่างยุคสัมฤทธิ์ก็ตาม ผู้ที่เชื่อว่าเรื่องเล่าสงครามกรุงทรอยมาจากความขัดแย้งในประวัติศาสตร์อย่างเฉพาะมักระบุเวลาไว้ว่าอยู่ในศตวรรษที่ 12 หรือ 11 ก่อนคริสตกาล ซึ่งค่อนข้างสอดคล้องกับหลักฐานทางโบราณคดีของการเผาทำลายทรอย 7เอ

ต้นเหตุของสงคราม

พระประสงค์ของซุส

การตัดสินของปารีส

 
การตัดสินของปารีส (1904) โดย เอริเก้ ซิโมเน

มหาเทพซุสทรงทราบคำทำนายจากเทพีเธมิส (Themis) หรือ โพรมีเทียสซึ่งได้รับการปลดปล่อยจากการจองจำในเทือกเขาคอเคซัสโดยเฮราคลีส ว่าพระองค์จะถูกโค่นลงโดยโอรสของตนเอง เหมือนอย่างที่พระองค์เคยปราบโครนัสพระบิดาของตนมาแล้ว ยังมีอีกคำทำนายหนึ่งว่านางอัปสรทะเล เธทิส ซึ่งพระองค์ตกหลุมรักเข้า จะให้กำเนิดบุตรที่เก่งกล้ากว่าบิดา ด้วยเหตุนี้เธทิสจึงถูกส่งไปเป็นชายาของกษัตริย์มนุษย์ชื่อ เพเลอัส บุตรแห่งไออาคอสตามคำสั่งของมเหสีเฮราผู้เลี้ยงดูเธทิสมา

เทวดาทุกตนได้รับเชิญไปงานอภิเสกสมรสของ เพเลอัส กับ เธทิส และต่างก็นำของขวัญไปมากมาย เว้นก็แต่ เอริส เทพีแห่งความวิวาทขัดแย้ง ซึ่งไม่ได้ถูกรับเชิญและห้ามเข้ามาในงานตามคำสั่งของซุส เอริสโกรธและรู้สึกเสียหน้า จึงโยนแอปเปิ้ลทองคำ (το μήλον της έριδος) อันเป็นของขวัญที่ตนนำมาเข้าไปในงาน โดยสลักคำว่า καλλίστῃ หรือ "แด่ผู้ที่งามที่สุด" ไว้บนแอปเปิ้ล ฯ สามเทวีแห่งโอลิมปัส ได้แก่ เฮรา, อะธีนา, และ แอโฟรไดที ต่างอ้างกรรมสิทธิ์ในผลแอปเปิ้ล และโต้เถียงกันอย่างเผ็ดร้อน แต่ก็ไม่มีเทพเจ้าองค์ใดยอมออกความเห็นตัดสินว่าเทพีองค์ไหนมีความงามเหนือกว่าคู่แข่ง ในที่สุดมหาเทพซุสจึงมีบัญชาให้เทพเฮอร์มีสนำเทวีสวรรค์ทั้งสามไปหาปารีสเจ้าชายแห่งทรอย ปารีสนั้นไม่ทราบถึงชาติกำเนิดของตน เพราะถูกเลี้ยงมาอย่างเด็กเลี้ยงแกะบนภูเขาไอด้า เนื่องจากมีคำนายว่าเด็กคนนี้จะนำความล่มสลายมาสู่กรุงทรอย วันหนึ่งหลังจากปารีสชำระกายด้วยน้ำพุบนเขาไอด้าเสร็จ เทพธิดาทั้งสามก็ปรากฏตัวให้เขาเห็นด้วยสรีระอันเปลือยเปล่า ถึงกระนั้นปารีสก็ยังไม่สามารถตัดสินผู้ชนะได้ เหล่าเทวีจึงต้องใช้วิธีติดสินบน โดยอะธีนาเสนอจะทำให้ปารีสเป็นผู้มีปัญญาหยั่งรู้ และมีทักษะในการศึกสงครามเหนือกว่าวีรบุรุษนักรบคนใดๆ, เฮราเสนออำนาจทางการเมือง และสิทธิปกครองทั้งเอเชียให้, ส่วนเทพธิดาแอโฟรไดทีเสนอให้ความรักของสตรีที่งามที่สุดในโลก(ซึ่งหมายถึงเฮเลนแห่งสปาร์ตา)แก่ปารีส ปารีสตกลงมอบแอปเปิ้ลทองคำให้แก่แอโฟรไดที หลังจากนั้นปารีสก็ออกผจญภัยจนกลับมาสู่กรุงทรอย

 
เธทิสมอบอาวุธที่ตีขึ้นโดยเทพช่างเหล็กฮิฟีสตัสแก่อคิลลีสบุตรชายของตน (เครื่องดินเผารูปเขียนสีดำ ไฮเดรีย, 575–550 ก่อนคริสต์ศักราช)

เพเลอัสกับเธทิสให้กำเนิดบุตรชาย และตั้งชื่อให้ว่าอคิลลีส มีคำทำนายว่าหากอคิลลีสไม่ตายในวัยชราโดยไม่มีใครรู้จัก ก็จะตายแต่หนุ่มแน่นในสนามรบแต่กวีจะร้องขับขานวีรกรรมของเขาให้มีเกียรติก้องขจรไกลไปชั่วนิรันด์ ต่อมาเมื่ออคิลลีสอายุได้เก้าขวบ แคลคัสโหรเอกของอากาเมมนอน พยากรณ์ว่าจะตีเอากรุงทรอยได้จำเป็นต้องอาศัยกำลังของอะคิลีส มีตำนานจากหลายๆต้นเรื่องระบุว่า เธทิสผู้แม่พยายามทำให้อะคิลีสคงกระพันในขณะที่ยังเป็นทารก บางตำนานเล่าว่าหล่อนถือลูกชายไว้เหนือกองไฟทุกคืน เพื่อเผาส่วนที่เป็นมนุษย์ปุถุชนของเขาให้สิ้นไป และถูเขาด้วยอมฤตภาพ หรือภัตตาหารเทพแอมโบรเซีย (กรีก: ἀμβροσία) ในเวลากลางวัน การกระทำดังกล่าวเท่ากับเป็นการฆ่าลูกชายในเวลากลางคืน และชุบให้ฟื้นขึ้นในเวลากลางวัน เมื่อเพเลอัสพบเห็นเข้าจึงสั่งให้หยุดเสีย อีกตำนานหนึ่งกล่าวว่าเธทิสนำอคิลลีสไปอาบน้ำในแม่น้ำสติกซ์ที่ไหลผ่านปรโลก เพื่อให้อยู่ยงคงกระพัน แต่เพราะหล่อนจับข้อเท้าของบุตรไว้ร่างกายส่วนนี้จึงไม่ถูกน้ำ ไม่ได้รับอมตะภาพและไม่ทนต่อการโจมตี ซึ่งเป็นที่มาของคำว่า "ส้นเท้าของอคิลลีส" หมายถึงจุดอ่อน ฯ อคิลลีสเติบโตขึ้นมากลายเป็นนักรบผู้แกล้วกล้าที่สุดในหมู่มนุษย์ ธีทิสผู้แม่กลัวคำทำนายของแคลคัสจึงนำลูกชายไปซ่อนเสียที่เกาะสกีรอส (กรีก: Σκύρος) ณ ราชฐานของกษัตริย์ไลโคมีดีส (กรีก: Λυκομήδης) โดยให้แต่งตัวเหมือนเด็กผู้หญิง แต่โอดิสเซียสใช้ปัญญาล่อให้อคิลลีสเผยตัวออกมา

ปารีสและเฮเลนหนีตามกัน

การรวบรวมกำลังรบของชาวอะเคียน และการเดินทัพครั้งแรก

โอดิสเซียสกับอคิลลีส

การรวมพลที่เอาลิส

การรวมทัพครั้งที่ 2

สงครามเก้าปี

ฟิลัคตีตีส

ทัพกรีกเดินทางถึงทรอย

การทัพของอคิลลีส

อ้างอิง

  1. Bryce, Trevor (2005). The Trojans and their neighbours. Taylor & Francis. p. 37. ISBN 978-0-415-34959-8.
  2. Wood (1985: 116–118)
  3. Scholiast on Homer’s Iliad; Hyginus, Fabulae 54; Ovid, Metamorphoses 11.217.
  4. Hesiod, Catalogue of Women fr. 57; Cypria fr. 4.
  5. Photius, Myrobiblion 190.
  6. P.Oxy. 56, 3829 (L. Koppel, 1989)
  7. Apollodorus Epitome E.3.2
  8. Pausanias, 15.9.5.
  9. Euripides Andromache 298; Div. i. 21; Apollodorus, Library 3.12.5.
  10. Homer Iliad I.410
  11. Apollodorus, Library 3.13.8.
  12. Apollonius Rhodius 4.869–879; Apollodorus, Library 3.13.6.
  13. Hyginus, Fabulae 96.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Was There a Trojan War? From Archeology, a publication of the Archeological Institute of America. May/June 2004
  • The Trojan War at Greek Mythology Link

สงครามกร, งทรอย, งกฤษ, trojan, เป, นสงครามระหว, างชาวอะค, นส, กร, กโบราณ, Ἀχαιοί, ชาวกร, บชาวกร, งทรอย, หล, งปาร, สแห, งทรอยช, งพระนางเฮเลนมาจากพระสวาม, อพระเจ, าเมเนเลอ, สแห, งสปาร, ตา, สงครามด, งกล, าวเป, นหน, งในเหต, การณ, สำค, ญท, ดในเทพปกรณ, มกร, และม, กา. sngkhramkrungthrxy xngkvs Trojan War epnsngkhramrahwangchawxakhixns krikobran Ἀxaioi chawkrik kbchawkrungthrxy hlngparisaehngthrxychingphranangehelnmacakphraswami khuxphraecaemenelxsaehngsparta sngkhramdngklawepnhnunginehtukarnsakhythisudinethphpkrnmkrik aelamikarbxkelaphannganwrrnkrrmkrikhlaychin thioddednthisud khux xieliydaelaoxdissiykhxngohemxr mhakaphyxieliydelaeruxngkarlxmkrungthrxypisudthay swnoxdissiyxthibaykaredinthangklbbankhxngoxdisesiys swnxunkhxngsngkhrammikarxthibayinokhlngwtmhakaphy Epic Cycle idaek isephriy exthixxphis xieliydnxy xilixuephxrsis nxstxy aela ethelokni sungpccubnehluxrxdmaephiyngbangswn karsukaehngkrungthrxyepnaehlngwtthudibsakhythi kwiaelankpraphnthosknatkrrmkrik echn exskhils Aeschylus osofkhlis Sophocles aela yuriphidis Euripides namaichpraphnthbthlakhr nxkcaknikwichawormn odyechphaaewxrcilaelaoxwid kdungexaehtukarncaksngkhramthrxymaepnphuneruxng hruxenuxhaswnhnunginnganpraphnthkhxngtnechnkn karephakrungthrxy 1759 62 ody Johann Georg Trautmann sngkhramkaenidcakkarwiwathrahwangethphixathina ehraaelaaexofridthi hlngxiris ethphiaehngkarwiwathaelakhwambadhmang ihphlaexpepilsithxng sungbangkhrngruckkninnam aexpepilaehngkhwambadhmang aek phuthingamthisud sussngethphithngsamiphaparis phutdsinwaaexofridthi phungamthisud khwridrbaexpepilip ephuxepnkaraelkepliyn aexofridthieskiheheln hyingngamthisudinolkaelamehsikhxngphraecaemenelxs tkhlumrkparis aelaparisidnaphranangipyngkrungthrxy xkaemmnxn phraecakrungimsini aelaphraechsthakhxngphraecaemenelxs phraswamikhxngeheln nakxngthphchawxakhixnsipyngkrungthrxyaelalxmkrungiwsibpi hlngsinwirburusipmakmay rwmthngxkhillisaelaxaaeckskhxngfayxakhixns aelaehketxraelapariskhxngfaythrxy krungthrxykesiydwyxubaymaothrcn fayxakhixnssngharchawkrungthrxy ykewnhyingaelaedkbangswnthiiwchiwithruxkhayepnthas aelathalaywihar thaihethphecaphiorth chawxakhixnsswnnxythiklbthungbanxyangplxdphyaelahlaykhntngnikhminchayfngxnhangikl phayhlngchawormnsubechuxsaykhxngphwktnipthungexeniys hnunginchawkrungthrxy phuklawknwanachawkrungthrxythiehluxrxdipyngpraethsxitaliinpccubnchawkrikobrankhadwasngkhramkrungthrxyepnehtukarnprawtisastrsungekidkhuninstwrrsthi 13 hrux 12 kxnkhristkal aelaechuxwakrungthrxytngxyuinpraethsturkipccubn iklkbchxngaekhbdardaenls emuxlwngmathungsmyihm khnswnihyechuxwathngsngkhramaelakrungthrxyepnnithanpraprathiaetngkhun xyangirkdi inpi 1868 nkobrankhdichaweyxrmn ihnrich chilmnnphbkbaefrngk khlewirth phuonmnawchilmnnwa krungthrxyepnsthanthithimixyucring odytngxyuthihissarrikhpraethsturki aelachilmnnekhakhwbkhumkarkhudkhnkhxngkhlewirthbnphunthisungepnthrphysinkhxngkhlewirth 1 khathamthiwamikhwamepncringthangprawtisastridxyuebuxnghlngsngkhramkrungthrxyhruximnnyngimmikhatxb nkwichakarcanwnmakechuxwaniyaydngklawmiaeknkhwamcringthangprawtisastr aemxachmaykhwamwa eruxngelakhxngohemxrepnkarphsmnithkarlxmaelakarxxkedinthangtang khxngchawkrikimsieniynrahwangyukhsmvththiktam phuthiechuxwaeruxngelasngkhramkrungthrxymacakkhwamkhdaeynginprawtisastrxyangechphaamkrabuewlaiwwaxyuinstwrrsthi 12 hrux 11 kxnkhristkal sungkhxnkhangsxdkhlxngkbhlkthanthangobrankhdikhxngkarephathalaythrxy 7ex 2 enuxha 1 tnehtukhxngsngkhram 1 1 phraprasngkhkhxngsus 1 2 kartdsinkhxngparis 1 3 parisaelaehelnhnitamkn 2 karrwbrwmkalngrbkhxngchawxaekhiyn aelakaredinthphkhrngaerk 2 1 oxdisesiyskbxkhillis 2 2 karrwmphlthiexalis 3 karrwmthphkhrngthi 2 4 sngkhramekapi 4 1 filkhtitis 4 2 thphkrikedinthangthungthrxy 4 3 karthphkhxngxkhillis 5 xangxing 6 aehlngkhxmulxuntnehtukhxngsngkhram aekikhphraprasngkhkhxngsus aekikh kartdsinkhxngparis aekikh kartdsinkhxngparis 1904 ody exriek siomen mhaethphsusthrngthrabkhathanaycakethphiethmis Themis hrux ophrmiethiyssungidrbkarpldplxycakkarcxngcainethuxkekhakhxekhssodyehrakhlis waphraxngkhcathukokhnlngodyoxrskhxngtnexng ehmuxnxyangthiphraxngkhekhyprabokhrnsphrabidakhxngtnmaaelw yngmixikkhathanayhnungwanangxpsrthael eththis sungphraxngkhtkhlumrkekha caihkaenidbutrthiekngklakwabida 3 dwyehtunieththiscungthuksngipepnchayakhxngkstriymnusychux ephelxs butraehngixxakhxstamkhasngkhxngmehsiehraphueliyngdueththisma 4 ethwdathuktnidrbechiyipnganxphiesksmrskhxng ephelxs kb eththis aelatangknakhxngkhwyipmakmay 5 ewnkaet exris ethphiaehngkhwamwiwathkhdaeyng sungimidthukrbechiyaelahamekhamainngantamkhasngkhxngsus 6 exrisokrthaelarusukesiyhna cungoynaexpepilthxngkha to mhlon ths eridos xnepnkhxngkhwythitnnamaekhaipinngan odyslkkhawa kallistῃ hrux aedphuthingamthisud 7 iwbnaexpepil samethwiaehngoxlimps idaek ehra xathina aela aexofridthi tangxangkrrmsiththiinphlaexpepil aelaotethiyngknxyangephdrxn aetkimmiethphecaxngkhidyxmxxkkhwamehntdsinwaethphixngkhihnmikhwamngamehnuxkwakhuaekhng inthisudmhaethphsuscungmibychaihethphehxrmisnaethwiswrrkhthngsamiphaparisecachayaehngthrxy parisnnimthrabthungchatikaenidkhxngtn ephraathukeliyngmaxyangedkeliyngaekabnphuekhaixda 8 enuxngcakmikhanaywaedkkhnnicanakhwamlmslaymasukrungthrxy 9 wnhnunghlngcakparischarakaydwynaphubnekhaixdaesrc ethphthidathngsamkprakttwihekhaehndwysriraxnepluxyepla thungkrannpariskyngimsamarthtdsinphuchnaid ehlaethwicungtxngichwithitidsinbn odyxathinaesnxcathaihparisepnphumipyyahyngru aelamithksainkarsuksngkhramehnuxkwawirburusnkrbkhnid ehraesnxxanacthangkaremuxng aelasiththipkkhrxngthngexechiyih swnethphthidaaexofridthiesnxihkhwamrkkhxngstrithingamthisudinolk sunghmaythungehelnaehngsparta aekparis paristklngmxbaexpepilthxngkhaihaekaexofridthi hlngcaknnpariskxxkphcyphycnklbmasukrungthrxy eththismxbxawuththitikhunodyethphchangehlkhifistsaekxkhillisbutrchaykhxngtn ekhruxngdinepharupekhiynsida ihedriy 575 550 kxnkhristskrach ephelxskbeththisihkaenidbutrchay aelatngchuxihwaxkhillis mikhathanaywahakxkhillisimtayinwychraodyimmiikhrruck kcatayaethnumaenninsnamrbaetkwicarxngkhbkhanwirkrrmkhxngekhaihmiekiyrtikxngkhcriklipchwnirnd 10 txmaemuxxkhillisxayuidekakhwb aekhlkhsohrexkkhxngxakaemmnxn phyakrnwacatiexakrungthrxyidcaepntxngxasykalngkhxngxakhilis 11 mitanancakhlaytneruxngrabuwa eththisphuaemphyayamthaihxakhiliskhngkraphninkhnathiyngepnthark bangtananelawahlxnthuxlukchayiwehnuxkxngifthukkhun ephuxephaswnthiepnmnusyputhuchnkhxngekhaihsinip aelathuekhadwyxmvtphaph hruxphttaharethphaexmobresiy krik ἀmbrosia inewlaklangwn karkrathadngklawethakbepnkarkhalukchayinewlaklangkhun aelachubihfunkhuninewlaklangwn emuxephelxsphbehnekhacungsngihhyudesiy 12 xiktananhnungklawwaeththisnaxkhillisipxabnainaemnastiksthiihlphanprolk ephuxihxyuyngkhngkraphn aetephraahlxncbkhxethakhxngbutriwrangkayswnnicungimthukna imidrbxmtaphaphaelaimthntxkarocmti sungepnthimakhxngkhawa snethakhxngxkhillis hmaythungcudxxn xkhillisetibotkhunmaklayepnnkrbphuaeklwklathisudinhmumnusy thithisphuaemklwkhathanaykhxngaekhlkhscungnalukchayipsxnesiythiekaaskirxs krik Skyros n rachthankhxngkstriyilokhmidis krik Lykomhdhs odyihaetngtwehmuxnedkphuhying 13 aetoxdisesiysichpyyalxihxkhillisephytwxxkma parisaelaehelnhnitamkn aekikhkarrwbrwmkalngrbkhxngchawxaekhiyn aelakaredinthphkhrngaerk aekikhoxdisesiyskbxkhillis aekikh karrwmphlthiexalis aekikhkarrwmthphkhrngthi 2 aekikhsngkhramekapi aekikhfilkhtitis aekikh thphkrikedinthangthungthrxy aekikh karthphkhxngxkhillis aekikhxangxing aekikh Bryce Trevor 2005 The Trojans and their neighbours Taylor amp Francis p 37 ISBN 978 0 415 34959 8 Wood 1985 116 118 Scholiast on Homer s Iliad Hyginus Fabulae 54 Ovid Metamorphoses 11 217 Hesiod Catalogue of Women fr 57 Cypria fr 4 Photius Myrobiblion 190 P Oxy 56 3829 L Koppel 1989 Apollodorus Epitome E 3 2 Pausanias 15 9 5 Euripides Andromache 298 Div i 21 Apollodorus Library 3 12 5 Homer Iliad I 410 Apollodorus Library 3 13 8 Apollonius Rhodius 4 869 879 Apollodorus Library 3 13 6 Hyginus Fabulae 96 Wood Michael In Search of the Trojan War Berkeley University of California Press 1998 paperback ISBN 0 520 21599 0 London BBC Books 1985 ISBN 0 563 20161 4 aehlngkhxmulxun aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb sngkhramkrungthrxyWas There a Trojan War From Archeology a publication of the Archeological Institute of America May June 2004 The Trojan War at Greek Mythology Link bthkhwamekiywkbwrrnkrrmniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy olkwrrnsilpekhathungcak https th wikipedia org w index php title sngkhramkrungthrxy amp oldid 8741611, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม