fbpx
วิกิพีเดีย

สมบูรณาญาสิทธิราชย์

ระบบการปกครอง
ระบอบการปกครองแบบสาธารณรัฐ:
  สาธารณรัฐซึ่งมีประธานาธิบดีเป็นประมุขที่ใช้ระบบประธานาธิบดี
  สาธารณรัฐซึ่งมีประธานาธิบดีเป็นประมุขที่ใช้ระบบกึ่งประธานาธิบดี
  สาธารณรัฐแบบรัฐสภาซึ่งมีประธานาธิบดีเป็นผู้ใช้อำนาจบริหารโดยอาศัยสภานิติบัญญัติ
  สาธารณรัฐแบบรัฐสภาซึ่งมีประธานาธิบดีในทางพิธีการ/ไม่มีอำนาจบริหาร โดยหัวหน้ารัฐบาลอีกคนหนึ่งเป็นผู้ใช้อำนาจบริหาร

ระบอบการปกครองแบบราชาธิปไตย:
  ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญซึ่งมีพระมหากษัตริย์ในทางพิธีการ/ไม่มีอำนาจบริหาร โดยมีหัวหน้ารัฐบาลอีกคนหนึ่งเป็นผู้ใช้อำนาจบริหาร
  ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญซึ่งมีหัวหน้ารัฐบาลอีกคนหนึ่ง แต่พระมหากษัตริย์ยังทรงมีอำนาจบริหารและ/หรืออำนาจนิติบัญญัติอย่างสำคัญ
  สมบูรณาญาสิทธิราชย์

  ประเทศซึ่งบทบัญญัติการปกครองตามรัฐธรรมนูญถูกระงับ (เช่น เผด็จการทหาร)
  ประเทศซึ่งไม่เข้ากับระบบข้างต้นใด ๆ (เช่น รัฐบาลเปลี่ยนผ่าน สถานการณ์ทางการเมืองไม่ชัดเจน หรือไม่มีรัฐบาล)

สมบูรณาญาสิทธิราชย์ (อังกฤษ: absolute monarchy) คือ ระบอบการปกครองที่มีกษัตริย์เป็นผู้ปกครองและมีสิทธิ์ขาดในการบริหารประเทศ ในระบอบการปกครองนี้ กษัตริย์ก็คือกฎหมาย กล่าวคือ ที่มาของกฎหมายทั้งปวงอยู่ที่กษัตริย์ คำสั่ง ความต้องการต่าง ๆ ล้วนมีผลเป็นกฎหมาย กษัตริย์มีอำนาจในการปกครองแผ่นดินและพลเมืองโดยอิสระ โดยไม่มีกฎหมายหรือองค์กรตามกฎหมายใด ๆ จะห้ามปรามได้ แม้องค์กรทางศาสนาอาจทัดทานกษัตริย์จากการกระทำบางอย่างและองค์รัฏฐาธิปัตย์ (กษัตริย์) นั้นจะถูกคาดหวังว่าจะปฏิบัติตามธรรมเนียม แต่ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์นั้น ไม่มีรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายใด ๆ ที่จะอยู่เหนือกว่าคำชี้ขาดของรัฏฐาธิปัตย์ ตามทฤษฎีพลเมืองนั้น ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มอบความไว้วางใจทั้งหมดให้กับพระเจ้าแผ่นดินที่ดีพร้อมทางสายเลือดและได้รับการเลี้ยงดูฝึกฝนมาอย่างดีตั้งแต่เกิด[ต้องการอ้างอิง]

ในทางทฤษฎี กษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์จะมีอำนาจทั้งหมดเหนือประชาชนและแผ่นดิน รวมทั้งเหนืออภิชนและบางครั้งก็เหนือคณะสงฆ์ด้วย ส่วนในทางปฏิบัติ กษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มักจะถูกจำกัดอำนาจ โดยทั่วไปโดยกลุ่มที่กล่าวมาหรือกลุ่มอื่น

กษัตริย์บางพระองค์ (เช่นจักรวรรดิเยอรมนี ค.ศ. 1871–1918) มีรัฐสภาที่ไม่มีอำนาจหรือเป็นเพียงสัญลักษณ์ และมีองค์กรบริหารอื่น ๆ ที่กษัตริย์สามารถเปลี่ยนแปลงหรือยุบเลิกได้ตามต้องการ แม้จะมีผลเท่ากับระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ แต่โดยทางเทคนิคที่เป็นไปได้แล้ว นี่คือราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ (constitutional monarchy) เนื่องจากการมีอยู่ของรัฐธรรมนูญและกฎหมายพื้นฐานของประเทศ[ต้องการอ้างอิง]

ประเทศที่ใช้ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในปัจจุบันคือ ซาอุดีอาระเบีย บรูไน โอมาน เอสวาตินี กาตาร์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ รวมทั้ง นครรัฐวาติกัน ด้วย[ต้องการอ้างอิง]

ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ของไทย

ประเทศไทยเคยปกครองด้วยระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ พระมหากษัตริย์มีอำนาจสิทธิ์เด็ดขาดในการปกครองแผ่นดิน ดังคำกล่าวที่ว่า "พระบรมราชานุภาพของพระเจ้าแผ่นดินกรุงสยามนี้ ไม่ได้ปรากฏในกฎหมายอันหนึ่งอันใด ด้วยเหตุที่ถือว่าเป็นที่ล้นพ้น ไม่มีข้อสั่งอันใดจะเป็นผู้บังคับขัดขวางได้"

ในทัศนะของ นครินทร์ เมฆไตรรัตน์ อดีตคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เห็นว่าระบอบสมบูรณาสิทธิราชย์ของไทยนั้น ไม่ได้เป็นระบอบที่มีมาแต่สมัยโบราณ แต่เพิ่งมีมาในสมัยรัชกาลที่ 5 เนื่องจากในรัชกาลนี้ พระองค์ทรงรวบอำนาจจากเหล่าขุนนาง ข้าราชการ ที่เคยมีอำนาจและบทบาทมาก่อนหน้านั้น มาไว้ที่ศูนย์กลางการปกครอง คือ ตัวพระองค์ และพระประยูรญาติ ทำให้พระมหากษัตริย์ทรงดำรงสถานะเป็นทั้งประมุขของรัฐและประมุขของฝ่ายบริหารอย่างแท้จริง เท่ากับว่าระบอบสมบูรณาสิทธิราชย์ของไทยมีเพียง 3 รัชกาลเท่านั้น คือ รัชกาลที่ 5, รัชกาลที่ 6 และรัชกาลที่ 7

คำศัพท์

"สมบูรณาญาสิทธิราชย์" บัญญัติมาจาก "absolute monarchy" มีความหมายตรงตัวว่า ความเป็นกษัตริย์ซึ่งมีอาญาสิทธิ์ (อำนาจเด็ดขาด) โดยสมบูรณ์

อ้างอิง

  1. อมร รักษาสัตย์, พระราชอำนาจตามกฎหมาย
  2. หน้า 110, รศ.นครินทร์ เมฆไตรรัตน์ เหตุแห่งการปฏิวัติสยาม ๒๔๗๕. สัมภาษณ์. นิตยสารสารคดี "๒๔ มิถุนายน ๒๔๗๕" ฉบับที่ ๑๗๒: มิถุนายน ๒๕๔๒
  3. ดู ธนาพล ลิ่มอภิชาต. (2560, ก.ย.-ธ.ค.). “สมบูรณาญาสิทธิราชย์” คืออะไร: การต่อสู้ทางความคิด ความรู้ และอุดมการณ์ในสังคมไทย. รัฐศาสตร์สาร. 38(3): 1-59.

บทอ่านเพิ่มเติม

  • Anderson, Perry. Lineages of the Absolutist State. London: Verso, 1974.
  • Beloff, Max. The Age of Absolutism From 1660 to 1815 (1961)
  • Blum, Jerome et al. The European World (vol 1 1970) pp 267–466
  • Kimmel, Michael S. Absolutism and Its Discontents: State and Society in Seventeenth-Century France and England. New Brunswick, NJ: Transaction Books, 1988.
  • Méttam, Roger. Power and Faction in Louis XIV's France. New York: Blackwell Publishers, 1988.
  • Miller, John (ed.). Absolutism in Seventeenth Century Europe. New York: Palgrave Macmillan, 1990.
  • Wilson, Peter H. Absolutism in Central Europe. New York: Routledge, 2000.
  • Zmohra, Hillay. Monarchy, Aristocracy, and the State in Europe - 1300-1800. New York: Routledge, 2001

ดูเพิ่ม

สมบ, รณาญาส, ทธ, ราชย, บทความน, งต, องการเพ, มแหล, งอ, างอ, งเพ, อพ, จน, ความถ, กต, อง, ณสามารถพ, ฒนาบทความน, ได, โดยเพ, มแหล, งอ, างอ, งตามสมควร, เน, อหาท, ขาดแหล, งอ, างอ, งอาจถ, กลบออกระบบการปกครองระบอบการปกครองแบบสาธารณร, สาธารณร, ฐซ, งม, ประธานาธ, บด, เป,. bthkhwamniyngtxngkarephimaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxng khunsamarthphthnabthkhwamniidodyephimaehlngxangxingtamsmkhwr enuxhathikhadaehlngxangxingxacthuklbxxkrabbkarpkkhrxngrabxbkarpkkhrxngaebbsatharnrth satharnrthsungmiprathanathibdiepnpramukhthiichrabbprathanathibdi satharnrthsungmiprathanathibdiepnpramukhthiichrabbkungprathanathibdi satharnrthaebbrthsphasungmiprathanathibdiepnphuichxanacbriharodyxasysphanitibyyti satharnrthaebbrthsphasungmiprathanathibdiinthangphithikar immixanacbrihar odyhwhnarthbalxikkhnhnungepnphuichxanacbriharrabxbkarpkkhrxngaebbrachathipity rachathipityphayitrththrrmnuysungmiphramhakstriyinthangphithikar immixanacbrihar odymihwhnarthbalxikkhnhnungepnphuichxanacbrihar rachathipityphayitrththrrmnuysungmihwhnarthbalxikkhnhnung aetphramhakstriyyngthrngmixanacbriharaela hruxxanacnitibyytixyangsakhy smburnayasiththirachy praethssungbthbyytikarpkkhrxngtamrththrrmnuythukrangb echn ephdckarthhar rthphrrkhkaremuxngediyw praethssungimekhakbrabbkhangtnid echn rthbalepliynphan sthankarnthangkaremuxngimchdecn hruximmirthbal smburnayasiththirachy xngkvs absolute monarchy khux rabxbkarpkkhrxngthimikstriyepnphupkkhrxngaelamisiththikhadinkarbriharpraeths inrabxbkarpkkhrxngni kstriykkhuxkdhmay klawkhux thimakhxngkdhmaythngpwngxyuthikstriy khasng khwamtxngkartang lwnmiphlepnkdhmay 1 kstriymixanacinkarpkkhrxngaephndinaelaphlemuxngodyxisra odyimmikdhmayhruxxngkhkrtamkdhmayid cahampramid aemxngkhkrthangsasnaxacthdthankstriycakkarkrathabangxyangaelaxngkhrtthathipty kstriy nncathukkhadhwngwacaptibtitamthrrmeniym aetinrabxbsmburnayasiththirachynn immirththrrmnuyhruxkdhmayid thicaxyuehnuxkwakhachikhadkhxngrtthathipty tamthvsdiphlemuxngnn rabxbsmburnayasiththirachymxbkhwamiwwangicthnghmdihkbphraecaaephndinthidiphrxmthangsayeluxdaelaidrbkareliyngdufukfnmaxyangditngaetekid txngkarxangxing inthangthvsdi kstriyinrabxbsmburnayasiththirachycamixanacthnghmdehnuxprachachnaelaaephndin rwmthngehnuxxphichnaelabangkhrngkehnuxkhnasngkhdwy swninthangptibti kstriyinrabxbsmburnayasiththirachymkcathukcakdxanac odythwipodyklumthiklawmahruxklumxunkstriybangphraxngkh echnckrwrrdieyxrmni kh s 1871 1918 mirthsphathiimmixanachruxepnephiyngsylksn aelamixngkhkrbriharxun thikstriysamarthepliynaeplnghruxyubelikidtamtxngkar aemcamiphlethakbrabxbsmburnayasiththirachy aetodythangethkhnikhthiepnipidaelw nikhuxrachathipityphayitrththrrmnuy constitutional monarchy enuxngcakkarmixyukhxngrththrrmnuyaelakdhmayphunthankhxngpraeths txngkarxangxing praethsthiichrabxbsmburnayasiththirachyinpccubnkhux saxudixaraebiy bruin oxman exswatini katar shrthxahrbexmierts rwmthng nkhrrthwatikn dwy txngkarxangxing enuxha 1 rabxbsmburnayasiththirachykhxngithy 2 khasphth 3 xangxing 4 bthxanephimetim 5 duephimrabxbsmburnayasiththirachykhxngithy aekikhpraethsithyekhypkkhrxngdwyrabxbsmburnayasiththirachy phramhakstriymixanacsiththieddkhadinkarpkkhrxngaephndin dngkhaklawthiwa phrabrmrachanuphaphkhxngphraecaaephndinkrungsyamni imidpraktinkdhmayxnhnungxnid dwyehtuthithuxwaepnthilnphn immikhxsngxnidcaepnphubngkhbkhdkhwangid 1 inthsnakhxng nkhrinthr emkhitrrtn xditkhnbdikhnarthsastr mhawithyalythrrmsastr ehnwarabxbsmburnasiththirachykhxngithynn imidepnrabxbthimimaaetsmyobran aetephingmimainsmyrchkalthi 5 enuxngcakinrchkalni phraxngkhthrngrwbxanaccakehlakhunnang kharachkar thiekhymixanacaelabthbathmakxnhnann maiwthisunyklangkarpkkhrxng khux twphraxngkh aelaphraprayuryati thaihphramhakstriythrngdarngsthanaepnthngpramukhkhxngrthaelapramukhkhxngfaybriharxyangaethcring ethakbwarabxbsmburnasiththirachykhxngithymiephiyng 3 rchkalethann khux rchkalthi 5 rchkalthi 6 aelarchkalthi 7 2 khasphth aekikh smburnayasiththirachy byytimacak absolute monarchy 3 mikhwamhmaytrngtwwa khwamepnkstriysungmixayasiththi xanaceddkhad odysmburnxangxing aekikh 1 0 1 1 xmr rksasty phrarachxanactamkdhmay hna 110 rs nkhrinthr emkhitrrtn ehtuaehngkarptiwtisyam 2475 smphasn nitysarsarkhdi 24 mithunayn 2475 chbbthi 172 mithunayn 2542 du thnaphl limxphichat 2560 k y th kh smburnayasiththirachy khuxxair kartxsuthangkhwamkhid khwamru aelaxudmkarninsngkhmithy rthsastrsar 38 3 1 59 bthxanephimetim aekikhAnderson Perry Lineages of the Absolutist State London Verso 1974 Beloff Max The Age of Absolutism From 1660 to 1815 1961 Blum Jerome et al The European World vol 1 1970 pp 267 466 Kimmel Michael S Absolutism and Its Discontents State and Society in Seventeenth Century France and England New Brunswick NJ Transaction Books 1988 Mettam Roger Power and Faction in Louis XIV s France New York Blackwell Publishers 1988 Miller John ed Absolutism in Seventeenth Century Europe New York Palgrave Macmillan 1990 Wilson Peter H Absolutism in Central Europe New York Routledge 2000 Zmohra Hillay Monarchy Aristocracy and the State in Europe 1300 1800 New York Routledge 2001duephim aekikhrachathipity ethwsiththikhxngphramhakstriy bthkhwamekiywkbkaremuxng karpkkhrxngniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmulekhathungcak https th wikipedia org w index php title smburnayasiththirachy amp oldid 9163271, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม