fbpx
วิกิพีเดีย

สารสำคัญ

สารสำคัญ หรือ สารสำคัญในสมุนไพร ( อังกฤษ: chemotype บางครั้ง chemovar ) เป็นเอกลักษณ์ทางเคมีที่แตกต่างกันใน พืช หรือ จุลินทรีย์ โดยมีความแตกต่างในองค์ประกอบของสารทุติยภูมิ การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมและนอกเหนือพันธุกรรม (อีพีเจเนติกส์) เพียงเล็กน้อย ซึ่งมีผลเพียงเล็กน้อยหรือไม่มีเลยต่อสัณฐานวิทยาหรือกายวิภาคศาสตร์ของพืช อาจทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขนาดใหญ่ในฟีโนไทป์ทางเคมี

สารเคมี (สารประกอบอินทรีย์) ที่มีปริมาณมากสุดในพืชชนิดนั้น ๆ และมีประโยชน์ต่องานของนักนิเวศวิทยาทางเคมี ผู้เชี่ยวชาญทางเคมีสมุนไพร และนักเคมีภัณฑ์จากธรรมชาติ เรียกว่า สารสำคัญ (chemotype) (หรืออธิบายได้ว่าเป็น เอกลักษณ์ทางเคมีของพืช - characteristics of plant) ในทางชีววิทยาของพืชคำว่า สารสำคัญ (chemotype) ได้รับการบัญญัติขึ้นเป็นครั้งแรกโดย Rolf Santesson และ Johan ลูกชายของเขาในปี 1968 โดยนิยามว่า "ส่วนที่มีลักษณะทางเคมีที่เป็นเอกลักษณ์ในกลุ่มประชากรสิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถแยกออกอย่างชัดเจนทางสัณฐานวิทยา"

สารสำคัญแบบพหุสัณฐาน

ตัวอย่างของพืชที่มีสารสำคัญแบบพหุสัณฐาน คือ ไธม์ (Thymus vulgaris) ซึ่งมีสารสำคัญุถึง 7 ชนิดคือ thymol, carvacrol, linalool, geraniol, sabinene hydrate (thuyanol), α-terpineol, or eucalyptol (สารเหล่านี้เป็นสารประกอบในน้ำมันหอมระเหย) ด้วยรูปลักษณ์ที่แยกไม่ออกของไธม์ ความแตกต่างในสัดส่วนหรือองค์ประกอบของสารสำคัญุแต่ละชนิดที่โดดเด่นต่างกัน เป็นตัวบ่งชี้ระบุว่าเป็นชนิดย่อยใด เช่น Thymus vulgaris ct. thymol (ไธม์แดง) หรือ Thymus vulgaris ct. geraniol (ไธม์หวาน) ฯลฯ ข้อบ่งชี้ดังกล่าวจากสารสำคัญไม่มีสถานะทางอนุกรมวิธาน คือ ไม่สามารถระบุได้ทางสัณฐานวิทยาในการระบุสปีชีส์ย่อย

ความสับสน

เนื่องจากสารสำคัญ (chemotype) ถูกจำกัดความด้วยสารทุติยภูมิที่พบ "มากที่สุด" เท่านั้น จึงอาจมีความหมายในทางปฏิบัติน้อยมาก เนื่องจากในกลุ่มสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะเดียวกัน เอกลักษณ์ทางเคมีจากสารสำคัญชนิดหนึ่งอาจมีสัดส่วนทางเคมีที่หลากหลายอย่างมาก และยังมีความหลากหลายที่แตกต่างกันตามสัดส่วนทางเคมีของสารเคมีชนิดถัด ๆ มา (ที่ไม่นับเป็นสารสำคัญเนื่องจากมีปริมาณรองลงมา) ซึ่งหมายความว่าพืชสองต้นที่มีสารสำคัญเดียวกันอาจมีผลกระทบที่ที่หลากหลายต่อ สัตว์กินพืช แมลงผสมเกสร หรือ ความต้านทานต่อศัตรูพืช (ขึ้นกับปริมาณสารเคมีประกอบอื่นชนิดรองลง ที่อาจต่างกันเพียงเล็กน้อย) การศึกษาของ Ken Keefover-Ring และเพื่อนร่วมงานในปี 2008 เตือนว่า "นี่เป็นการประเมินเชิงคุณภาพในรายละเอียดทางเคมีของสิ่งมีชีวิตแต่ละชีวิต ซึ่งอาจซ่อนความหลากหลายทางเคมีไว้อย่างมีนัยสำคัญ" (การประเมินเชิงปริมาณ บอกได้เพียงปริมาณของสารสำคัญ โดยเฉลี่ยในกลุ่มสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่ง ไม่อาจจำแนกรายตัวได้)

อ้างอิง

  1. Keefover-Ring K, Thompson JD, and Linhart YB. 2009. Beyond six scents: defining a seventh Thymus vulgaris chemotype new to southern France by ethanol extraction. Flavour and Fragrance Journal, 24(3): 117-122. doi:10.1002/ffj.1921

สารสำค, หร, ในสม, นไพร, งกฤษ, chemotype, บางคร, chemovar, เป, นเอกล, กษณ, ทางเคม, แตกต, างก, นใน, หร, นทร, โดยม, ความแตกต, างในองค, ประกอบของสารท, ยภ, การเปล, ยนแปลงทางพ, นธ, กรรมและนอกเหน, อพ, นธ, กรรม, เจเนต, กส, เพ, ยงเล, กน, อย, งม, ผลเพ, ยงเล, กน, อยหร, อ. sarsakhy hrux sarsakhyinsmuniphr xngkvs chemotype bangkhrng chemovar epnexklksnthangekhmithiaetktangknin phuch hrux culinthriy odymikhwamaetktanginxngkhprakxbkhxngsarthutiyphumi karepliynaeplngthangphnthukrrmaelanxkehnuxphnthukrrm xiphiecentiks ephiyngelknxy sungmiphlephiyngelknxyhruximmielytxsnthanwithyahruxkaywiphakhsastrkhxngphuch xacthaihekidkarepliynaeplngkhnadihyinfionithpthangekhmisarekhmi sarprakxbxinthriy thimiprimanmaksudinphuchchnidnn aelamipraoychntxngankhxngnkniewswithyathangekhmi phuechiywchaythangekhmismuniphr aelankekhmiphnthcakthrrmchati eriykwa sarsakhy chemotype hruxxthibayidwaepn exklksnthangekhmikhxngphuch characteristics of plant inthangchiwwithyakhxngphuchkhawa sarsakhy chemotype idrbkarbyytikhunepnkhrngaerkody Rolf Santesson aela Johan lukchaykhxngekhainpi 1968 odyniyamwa swnthimilksnathangekhmithiepnexklksninklumprachakrsingmichiwitthiimsamarthaeykxxkxyangchdecnthangsnthanwithya 1 sarsakhyaebbphhusnthan aekikhtwxyangkhxngphuchthimisarsakhyaebbphhusnthan khux ithm Thymus vulgaris sungmisarsakhyuthung 7 chnidkhux thymol carvacrol linalool geraniol sabinene hydrate thuyanol a terpineol or eucalyptol sarehlaniepnsarprakxbinnamnhxmraehy dwyruplksnthiaeykimxxkkhxngithm khwamaetktanginsdswnhruxxngkhprakxbkhxngsarsakhyuaetlachnidthioddedntangkn epntwbngchirabuwaepnchnidyxyid echn Thymus vulgaris ct thymol ithmaedng hrux Thymus vulgaris ct geraniol ithmhwan l khxbngchidngklawcaksarsakhyimmisthanathangxnukrmwithan 1 khux imsamarthrabuidthangsnthanwithyainkarrabuspichisyxykhwamsbsn aekikhenuxngcaksarsakhy chemotype thukcakdkhwamdwysarthutiyphumithiphb makthisud ethann cungxacmikhwamhmayinthangptibtinxymak enuxngcakinklumsingmichiwitthimilksnaediywkn exklksnthangekhmicaksarsakhychnidhnungxacmisdswnthangekhmithihlakhlayxyangmak aelayngmikhwamhlakhlaythiaetktangkntamsdswnthangekhmikhxngsarekhmichnidthd ma thiimnbepnsarsakhyenuxngcakmiprimanrxnglngma sunghmaykhwamwaphuchsxngtnthimisarsakhyediywknxacmiphlkrathbthithihlakhlaytx stwkinphuch aemlngphsmeksr hrux khwamtanthantxstruphuch khunkbprimansarekhmiprakxbxunchnidrxnglng thixactangknephiyngelknxy karsuksakhxng Ken Keefover Ring aelaephuxnrwmnganinpi 2008 etuxnwa niepnkarpraeminechingkhunphaphinraylaexiydthangekhmikhxngsingmichiwitaetlachiwit sungxacsxnkhwamhlakhlaythangekhmiiwxyangminysakhy 1 karpraeminechingpriman bxkidephiyngprimankhxngsarsakhy odyechliyinklumsingmichiwitchnidhnung imxaccaaenkraytwid xangxing aekikh 1 0 1 1 1 2 Keefover Ring K Thompson JD and Linhart YB 2009 Beyond six scents defining a seventh Thymus vulgaris chemotype new to southern France by ethanol extraction Flavour and Fragrance Journal 24 3 117 122 doi 10 1002 ffj 1921ekhathungcak https th wikipedia org w index php title sarsakhy amp oldid 9110221, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม