อารยภัฏ หรือ อาริยภัฏ (อังกฤษ: Āryabhaṭa or Aryabhata I; ฮินดี: आर्यभट ช่วงชีวิต พ.ศ. 1019 – 1093 (ค.ศ. 476 - 550)) เป็นนักคณิตศาสตร์ นักดาราศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่คนแรกจากยุคคลาสสิกของคณิตศาสตร์และดาราศาสตร์อินเดีย ผลงานของเขาอาทิเช่น การประมวลหลักคณิตศาสตร์-ดาราศาสตร์ รวมทั้งระบบเลขสิบตัว การใช้เลข ๐ ทศนิยม การที่โลกหมุนรอบตัวเอง การคำนวณจันทรคราส-สุริยคราส พีชคณิตและเรื่องสมการ รวมอยู่ในงานเขียนที่ชื่อว่า อารยภฏีย์ (Āryabhaṭīya) เขียนไว้เมื่อ พ.ศ. 1042 (ค.ศ.499) เมื่อเขาอายุ 23 ปี และอารยสิทธานตะ (Arya- siddhanta)
อารยภัฏ | |
---|---|
อนุเสาวรีย์ของเขาที่, ปูเน (ถึงแม้ว่าจะไม่มีหลักฐานภาพลักษณ์ของเขา). | |
เกิด | ค.ศ.476 กุสุมาปุระ (ปาตาลีปุตรา) (ปัจจุบันคือปัฏนา) |
เสียชีวิต | ค.ศ.550 |
อาชีพทางวิทยาศาสตร์ | |
มีอิทธิพลต่อ | , , , |
ได้รับอิทธิพลจาก |
ประวัติ
ชื่อ
โดยมากมักจะมีการสะกดชื่อของเขาผิดคือ อารยภัฏฏ (Aryabhatta) โดยการเอาไปเปรียบเทียบกับชื่ออื่นที่มีคำว่า ภัฏฏะ (bhatta) ต่อท้าย ชื่อของเขาที่สะกดถูกต้องคือ (อารยภัฏ) Aryabhata ในข้อความเกี่ยวกับดาราศาสตร์สะกดชื่อของเขาถูก รวมถึงการบรรยายถึงเขาของพราหมณ์คุปตะ โดยออกชื่อเขามากกว่าหนึ่งร้อยแห่ง นอกจากนี้ ในตัวอย่างส่วนใหญ่ คำว่า Aryabhatta จะไม่ลงตัวกับมาตราคณะฉันท์ (บทร้อยกรอง)
เวลาและสถานที่เกิด
การกล่าวถึงในงานเขียน อารยภฏิย์ ว่าเขาเขียนขึ้นในปีที่ 3,600 ของกลียุค (Kali Yuga) ตอนนั้นเขาอายุ 23 ปี ซึ่งสอดคล้องกับปี พ.ศ. 1043 (ค.ศ.499) และบอกเป็นนัยว่าเขาเกิดในปี พ.ศ. 1019 (ค.ศ. 476) อารยภัฏเรียกเขาเองว่าเป็นชนพื้นเมือง (Kusumapura) หรือเมืองปาฏลีบุตร (Pataliputra) ปัจจุบันคือเมืองปัฏนะ รัฐพิหาร
สมมติฐานอื่น ๆ
พัสกรที่ 1 บรรยายถึงอารยภัฏว่าเป็นชาวอัสมกิยะ (āśmakīya) (หมายถึงคนที่อาศัยอยู่ในแคว้นอัสสกะ) แว่นแคว้นในช่วงเวลาเดียวกับพระพุทธเจ้า แคว้นอัสสกะประชาชนหนาแน่นในพื้นที่ระหว่างแม่น้ำนารมาดา (Narmada) และแม่น้ำโคธาวารี (Godavari) ในตอนกลางของอินเดีย
ด้านการศึกษา
ค่อนข้างเป็นที่แน่นอนว่า ในบางช่วงเวลา เขาไปยังเมืองกุสุมาปุระ (Kusumapura) เพื่อศึกษาขั้นสูงทั้งฮินดูและพุทธและอาศัยอยู่ที่นั่นเป็นระยะเวลาหนึ่ง เช่นเดียวกับภาสการา ที่ 1 กลอนบรรยายว่าอารยภัฏเป็นหัวหน้าของสถาบันการศึกษา (kulapa ) ที่ Kusumapura และเพราะมหาวิทยาลัยนาลันทา (Nalanda) อยู่ในปาฏลีบุตรมีหอสังเกตการณ์ดาราศาสตร์อยู่ จึงสันนิษฐานว่า อารยภัฏอาจได้เป็นหัวหน้ามหาวิทยาลัยนาลันทาเช่นกัน อารยภัฏยังมีชื่อเสียงจากการสร้างหอดูดาวที่วัดพระอาทิตย์ (The Sun temple) ที่เมืองตาเรกะนะ (Taregana) ในรัฐพิหาร
ผลงาน
อารยภัฏเป็นผู้เขียนบทความหลายเรื่องเกี่ยวกับคณิตศาสตร์และดาราศาสตร์ซึ่งบางส่วนหายไปงานที่ยิ่งใหญ่ของเขาคืออารยภฏีย์ (Aryabhatiya) บทสรุปของคณิตศาสตร์และดาราศาสตร์ ซึ่งได้ถูกอ้างถึงอย่างกว้างขวางในวรรณคดีคณิตศาสตร์ของอินเดียและยังคงรอดมาได้ถึงยุคปัจจุบัน ส่วนที่เป็นคณิตศาสตร์ของอารยภฏีย์ครอบคลุมถึงการคำนวณ arithmetic พีชคณิต algebra ตรีโกณมิติวงกลมราบเรียบ plane trigonometry ตรีโกณมิติทรงกลม spherical trigonometry นอกจากนี้ยังมีเศษส่วนอย่างต่อเนื่อง continued fractions สมการกำลังสอง quadratic equations ผลรวมของชุดกำลัง sums-of-power series และตารางไซน์ (a table of sines) ในอารยภฏีย์นั้นงานส่วนมากที่หายไปคือการคำนวณทางดาราศาสตร์ แต่ก็ยังทราบได้ผ่านงานเขียนของบุคคลร่วมสมัยเดียวกับอารยภัฏคือวราห์มีฮีร์ (Varahamihira) และเหล่านักคณิตศาสตร์และนักวิจารณ์รุ่นต่อมารวมถึงพรหมคุปต์(Brahmagupta)และภาสกร ที่ 1(Bhaskara I) ผลงานนี้ปรากฏเป็นฐานข้อมูลแก่งานที่ชื่อว่า สุริยะ สิทธานตะ (Surya Siddhanta) หรือที่คนไทยรู้จักกันคือคัมภีร์สุริยาตร์และมานัตและใช้คำนวณเวลาเที่ยงคืน เที่ยงวัน และเวลาพระอาทิตย์ขึ้น
งานอารยภฏีย์ยังบรรจุคำอธิบายของเครื่องมือทางดาราศาสตร์เช่น นาฬิกาแดด gnomona เครื่องมือวัดเงา shadow instrument (ฉายา-ยันตระ chhAyA-yantra) อุปกรณ์วัดมุม possibly angle-measuring devices, รูปครึ่งวงกลม semicircular และวงกลม circular แท่งไม้ทรงกระบอก a cylindrical stick (yasti-yantra) อุปกรณ์รูปร่ม umbrella-shaped device (chhatra-yantra) และนาฬิกาน้ำอย่างน้อยสองชนิด คือที่มีรูปทรงโบว์ และทรงกระบอก
ข้อความที่สาม อาจจะเหลือรอดในเวอร์ชันแปลภาษาอาหรับ ซึ่งถูกอ้างว่าแปลโดยอารยภัฏ แต่ชื่อภาษาสันสกฤตของงานชิ้นนี้ไม่เป็นที่รู้กัน อาจจะนำสืบมาจากศตวรรษที่ 9 ซึ่งมันถูกกล่าวถึงโดยนักวิชาการนักประวัติศาสตร์อินเดียชาวเปอร์เซียชื่อ Abū Rayhān al-Bīrūnī
อารยภฏีย์
เฉพาะรายละเอียดเนื้อหาผลงานของเขาเท่านั้นที่ทราบกัน ชื่อผลงานคือ อารยภฏีย์ นี้เป็นเพราะนักวิจารย์ในภายหลังตั้งให้ ตัวเขาเองอาจไม่ใช้ชื่อนี้สำหรับผลงาน ศิษย์ของเขาคือ ภาสกร ที่ 1 เรียกผลงานของเขาว่า อัสมกตันตระ (Ashmakatantra) (แปลว่างานวิทยานิพนธ์จากชาวอัสมกะ) นอกจากนี้ยังมีบางครั้งเรียกว่า Arya-shatas-aShTa (108 คาถาของอารยภัฏ) เพราะมันมี 108 โองการ มันถูกเขียนในแบบสไตล์ สูตร (Sutra) สั้นมาก ซึ่งแต่ละบันทัดจะช่วยในการท่องจำระบบที่ซับซ้อน ดังนั้น การชี้แจงให้ความหมายแบบนี้จึงเป็นเพราะนักวิจารณ์ ข้อความประกอบด้วย 108 คาถา และคาถาอารัมภบท (คำเริ่มต้นแนะนำ) 13 คาถา และถูกจัดแบ่งเป็น 4 บท (pādas)
อ้างอิง
- (1865). "Brief Notes on the Age and Authenticity of the Works of Aryabhata, Varahamihira, Brahmagupta, Bhattotpala, and Bhaskaracharya". Journal of the Royal Asiatic Society of Great Britain and Ireland. pp. 392–406. จากแหล่งเดิมเมื่อ 14 กันยายน 2016.
- พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) กาลานุกรม พระพุทธศาสนาในอารยธรรมโลก ISBN: 978-974-93332-5-9 สำนักพิมพ์ผลิธัมม์ เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ พิมพ์ครั้งที่ ๖/๑ พ.ศ. 2555 หน้า 90 [[1]]
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
xarypht hrux xariypht xngkvs Aryabhaṭa or Aryabhata I hindi आर यभट chwngchiwit ph s 1019 1093 kh s 476 550 epnnkkhnitsastr nkdarasastrphuyingihykhnaerkcakyukhkhlassikkhxngkhnitsastraeladarasastrxinediy phlngankhxngekhaxathiechn karpramwlhlkkhnitsastr darasastr rwmthngrabbelkhsibtw karichelkh 0 thsniym karthiolkhmunrxbtwexng karkhanwncnthrkhras suriykhras phichkhnitaelaeruxngsmkar rwmxyuinnganekhiynthichuxwa xaryphtiy Aryabhaṭiya ekhiyniwemux ph s 1042 kh s 499 emuxekhaxayu 23 pi aelaxarysiththanta Arya siddhanta xaryphtxnuesawriykhxngekhathi puen thungaemwacaimmihlkthanphaphlksnkhxngekha ekidkh s 476 kusumapura pataliputra pccubnkhuxptna esiychiwitkh s 550xachiphthangwithyasastrmixiththiphltx idrbxiththiphlcakprawtichux odymakmkcamikarsakdchuxkhxngekhaphidkhux xaryphtt Aryabhatta odykarexaipepriybethiybkbchuxxunthimikhawa phtta bhatta txthay chuxkhxngekhathisakdthuktxngkhux xarypht Aryabhata inkhxkhwamekiywkbdarasastrsakdchuxkhxngekhathuk rwmthungkarbrryaythungekhakhxngphrahmnkhupta odyxxkchuxekhamakkwahnungrxyaehng nxkcakni intwxyangswnihy khawa Aryabhatta caimlngtwkbmatrakhnachnth bthrxykrxng ewlaaelasthanthiekid karklawthunginnganekhiyn xaryphtiy waekhaekhiynkhuninpithi 3 600 khxngkliyukh Kali Yuga txnnnekhaxayu 23 pi sungsxdkhlxngkbpi ph s 1043 kh s 499 aelabxkepnnywaekhaekidinpi ph s 1019 kh s 476 xaryphteriykekhaexngwaepnchnphunemuxng Kusumapura hruxemuxngpatlibutr Pataliputra pccubnkhuxemuxngptna rthphihar smmtithanxun phskrthi 1 brryaythungxaryphtwaepnchawxsmkiya asmakiya hmaythungkhnthixasyxyuinaekhwnxsska aewnaekhwninchwngewlaediywkbphraphuththeca aekhwnxsskaprachachnhnaaenninphunthirahwangaemnanarmada Narmada aelaaemnaokhthawari Godavari intxnklangkhxngxinediydankarsuksakhxnkhangepnthiaennxnwa inbangchwngewla ekhaipyngemuxngkusumapura Kusumapura ephuxsuksakhnsungthnghinduaelaphuththaelaxasyxyuthinnepnrayaewlahnung echnediywkbphaskara thi 1 klxnbrryaywaxaryphtepnhwhnakhxngsthabnkarsuksa kulapa thi Kusumapura aelaephraamhawithyalynalntha Nalanda xyuinpatlibutrmihxsngektkarndarasastrxyu cungsnnisthanwa xaryphtxacidepnhwhnamhawithyalynalnthaechnkn xaryphtyngmichuxesiyngcakkarsranghxdudawthiwdphraxathity The Sun temple thiemuxngtaerkana Taregana inrthphiharphlnganxaryphtepnphuekhiynbthkhwamhlayeruxngekiywkbkhnitsastraeladarasastrsungbangswnhayipnganthiyingihykhxngekhakhuxxaryphtiy Aryabhatiya bthsrupkhxngkhnitsastraeladarasastr sungidthukxangthungxyangkwangkhwanginwrrnkhdikhnitsastrkhxngxinediyaelayngkhngrxdmaidthungyukhpccubn swnthiepnkhnitsastrkhxngxaryphtiykhrxbkhlumthungkarkhanwn arithmetic phichkhnit algebra trioknmitiwngklmraberiyb plane trigonometry trioknmitithrngklm spherical trigonometry nxkcakniyngmiessswnxyangtxenuxng continued fractions smkarkalngsxng quadratic equations phlrwmkhxngchudkalng sums of power series aelatarangisn a table of sines inxaryphtiynnnganswnmakthihayipkhuxkarkhanwnthangdarasastr aetkyngthrabidphannganekhiynkhxngbukhkhlrwmsmyediywkbxaryphtkhuxwrahmihir Varahamihira aelaehlankkhnitsastraelankwicarnruntxmarwmthungphrhmkhupt Brahmagupta aelaphaskr thi 1 Bhaskara I phlngannipraktepnthankhxmulaeknganthichuxwa suriya siththanta Surya Siddhanta hruxthikhnithyruckknkhuxkhmphirsuriyatraelamantaelaichkhanwnewlaethiyngkhun ethiyngwn aelaewlaphraxathitykhun nganxaryphtiyyngbrrcukhaxthibaykhxngekhruxngmuxthangdarasastrechn nalikaaedd gnomona ekhruxngmuxwdenga shadow instrument chaya yntra chhAyA yantra xupkrnwdmum possibly angle measuring devices rupkhrungwngklm semicircular aelawngklm circular aethngimthrngkrabxk a cylindrical stick yasti yantra xupkrnruprm umbrella shaped device chhatra yantra aelanalikanaxyangnxysxngchnid khuxthimirupthrngobw aelathrngkrabxk khxkhwamthisam xaccaehluxrxdinewxrchnaeplphasaxahrb sungthukxangwaaeplodyxarypht aetchuxphasasnskvtkhxngnganchinniimepnthirukn xaccanasubmacakstwrrsthi 9 sungmnthukklawthungodynkwichakarnkprawtisastrxinediychawepxresiychux Abu Rayhan al Biruni xaryphtiy echphaaraylaexiydenuxhaphlngankhxngekhaethannthithrabkn chuxphlngankhux xaryphtiy niepnephraankwicaryinphayhlngtngih twekhaexngxacimichchuxnisahrbphlngan sisykhxngekhakhux phaskr thi 1 eriykphlngankhxngekhawa xsmktntra Ashmakatantra aeplwanganwithyaniphnthcakchawxsmka nxkcakniyngmibangkhrngeriykwa Arya shatas aShTa 108 khathakhxngxarypht ephraamnmi 108 oxngkar mnthukekhiyninaebbsitl sutr Sutra snmak sungaetlabnthdcachwyinkarthxngcarabbthisbsxn dngnn karchiaecngihkhwamhmayaebbnicungepnephraankwicarn khxkhwamprakxbdwy 108 khatha aelakhathaxarmphbth khaerimtnaenana 13 khatha aelathukcdaebngepn 4 bth padas xangxing 1865 Brief Notes on the Age and Authenticity of the Works of Aryabhata Varahamihira Brahmagupta Bhattotpala and Bhaskaracharya Journal of the Royal Asiatic Society of Great Britain and Ireland pp 392 406 cakaehlngedimemux 14 knyayn 2016 phraphrhmkhunaphrn p x pyut ot kalanukrm phraphuththsasnainxarythrrmolk ISBN 978 974 93332 5 9 sankphimphphlithmm ekhtswnhlwng krungethph phimphkhrngthi 6 1 ph s 2555 hna 90 1 bthkhwamchiwprawtiniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk