fbpx
วิกิพีเดีย

อาเธอร์ ซามูเอล

อาเธอร์ ลี ซามูเอล (อังกฤษ: Arthur Lee Samuel) เป็นนักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ชาวอเมริกันผู้เชี่ยวชาญด้านเกมคอมพิวเตอร์ ปัญญาประดิษฐ์ และการเรียนรู้ของเครื่อง โปรแกรมเล่นหมากฮอสของซามูเอลจัดได้ว่าเป็นโปรแกรมที่สามารถเรียนรู้ได้เองโปรแกรมแรกของโลก และถือเป็นจุดกำเนิดยุคแรกๆของปัญญาประดิษฐ์ (AI) นอกจากนี้ยังเป็นหนึ่งในสมาชิกผู้พัฒนา TeX ที่เป็นโปรแกรมสำหรับการเขียนบทความวิชาการอีกด้วย

อาเธอร์ ลี ซามูเอล
เกิด05 ธันวาคม ค.ศ. 1901(1901-12-05)
รัฐแคนซัส
เสียชีวิต29 กรกฎาคม ค.ศ. 1990 (88 ปี)
สแตนฟอร์ด แคลิฟอร์เนีย
พลเมืองสหรัฐอเมริกา
ศิษย์เก่าสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ ปริญญาโท (ค.ศ. 1926)
มีชื่อเสียงจากโปรแกรมเล่นหมากฮอสของซามูเอล
อัลกอริทึมการตัดกิ่งแอลฟา-เบตา
เชี่ยวชาญด้านการเรียนรู้ของเครื่อง
อาชีพทางวิทยาศาสตร์
สาขาวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์
สถาบันที่ทำงานห้องปฏิบัติการเบลล์ (1928)
มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ (1946)
ไอบีเอ็ม Poughkeepsie Laboratory (1949)
มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด (1966)

ประวัติ

ซามูเอล เกิดเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม ค.ศ. 1907 ที่เมืองเอ็มโพรา รัฐแคนซัส สหรัฐอเมริกา และจบการศึกษาจากวิทยาลัยเอ็มโพราในปี ค.ศ. 1923 จากนั้นได้เข้าศึกษาต่อและจบการศึษาระดับปริญญาโทที่สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ในปี ค.ศ. 1926 และได้รับงานเป็นอาจารย์สอนอยู่เป็นเวลา 2 ปี จากนั้นในปี ค.ศ. 1928 ซามูเอลได้เข้าทำงานที่ห้องปฏิบัติการเบลล์ โดยงานส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับหลอดสุญญากาศ รวมทั้งได้พัฒนาเรดาร์ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2อีกด้วย หลังจากนั้นได้ย้ายไปทำงานที่มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ เออร์แบนา-แชมเปญจน์ ได้เริ่มก่อตั้งโครงการ ILLIAC แต่ได้ย้ายออกมาก่อนที่เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องแรกจะสร้างเสร็จ ซามูเอลย้ายไปทำงานกับไอบีเอ็มที่นิวยอร์กในปี ค.ศ. 1949 จนกระทั่งประสบความสำเร็จเป็นอย่างมากจากการเป็นผู้สร้างซอฟต์แวร์ของตารางแฮชครั้งแรกๆของโลก และยังมีส่วนกับการใช้ทรานซิสเตอร์ในคอมพิวเตอร์ที่ผลิตโดยไอบีเอ็มอีกด้วย ที่บริษัทแห่งนี้ ซามูเอลได้สร้างโปรแกรมเล่นหมากฮอสขึ้นบนเครื่อง IBM701 ที่เป็นคอมพิวเตอร์พาณิชย์เครื่องแรกของไอบีเอ็ม ได้มีการสาธิตโปรแกรมเพื่อนำเสนอความก้าวหน้าทางด้านฮาร์ดแวร์และการเขียนโปรแกรมที่ต้องใช้ทักษะสูง ทำให้หุ้นของบริษัทไอบีเอ็มสูงขึ้นไป 15 จุดภายในคืนเดียว นอจกากนี้ ซามูเอลยังมีความเชี่ยวชาญด้านการเขียนโปรแกรมที่ไม่ใช่ตัวเลข ทำให้คำสั่งของคอมพิวเตอร์เป็นรูปเป็นร่างมากขึ้น และยังเป็นคนแรกๆที่ใช้คอมพิวเตอร์ทำงานอื่นนอกจากงานคำนวณ ซามูเอลยังเป็นคนมีชื่อเสียงด้านการเขียนบทความเรื่องยากๆให้เข้าใจง่าย และได้รับเชิญให้เขียนบทนำของบทความในวารสารเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ยุคแรกๆในปี 1953 อีกด้วย

ในปี 1966 ซามูเอลเกษียณจากไอบีเอ็มและย้ายมาเป็นศาสตราจารย์ที่มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ดจนถึงวาระสุดท้ายของชีวิต ได้ร่วมทำงานกับโดนัลด์ คนูธพัฒนา TeX ขึ้นมาเพื่ออำนวยความสะดวกในการเขียนบทความวิชาการและเอกสารต่างๆ ได้รับรางวัลนักบุกเบิกทางคอมพิวเตอร์จากสมาคมคอมพิวเตอร์ของสถาบันวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในปี ค.ศ. 1987 ซามูเอลเสียชีวิตด้วยโรคพาร์กินสันเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม ค.ศ. 1990

อ้างอิง

  1. John McCarthy; Edward Feigenbaum (1990). "In Memoriam Arthur Samuel: Pioneer in Machine Learning". AI Magazine. AAAI. 11 (3). สืบค้นเมื่อ 11 January 2015.

อาเธอร, ซาม, เอล, อาเธอร, ซาม, เอล, งกฤษ, arthur, samuel, เป, นน, กว, ทยาศาสตร, คอมพ, วเตอร, ชาวอเมร, นผ, เช, ยวชาญด, านเกมคอมพ, วเตอร, ญญาประด, ษฐ, และการเร, ยนร, ของเคร, อง, โปรแกรมเล, นหมากฮอสของซาม, เอลจ, ดได, าเป, นโปรแกรมท, สามารถเร, ยนร, ได, เองโปรแกรมแ. xaethxr li samuexl xngkvs Arthur Lee Samuel epnnkwithyasastrkhxmphiwetxrchawxemriknphuechiywchaydanekmkhxmphiwetxr pyyapradisth aelakareriynrukhxngekhruxng opraekrmelnhmakhxskhxngsamuexlcdidwaepnopraekrmthisamartheriynruidexngopraekrmaerkkhxngolk aelathuxepncudkaenidyukhaerkkhxngpyyapradisth AI nxkcakniyngepnhnunginsmachikphuphthna TeX thiepnopraekrmsahrbkarekhiynbthkhwamwichakarxikdwyxaethxr li samuexlekid05 thnwakhm kh s 1901 1901 12 05 rthaekhnssesiychiwit29 krkdakhm kh s 1990 88 pi saetnfxrd aekhlifxreniyphlemuxngshrthxemrikasisyekasthabnethkhonolyiaemssachuests priyyaoth kh s 1926 michuxesiyngcakopraekrmelnhmakhxskhxngsamuexl xlkxrithumkartdkingaexlfa ebta echiywchaydankareriynrukhxngekhruxng 1 xachiphthangwithyasastrsakhawithyasastrkhxmphiwetxrsthabnthithanganhxngptibtikarebll 1928 mhawithyalyxillinxys 1946 ixbiexm Poughkeepsie Laboratory 1949 mhawithyalysaetnfxrd 1966 prawti aekikhsamuexl ekidemuxwnthi 5 thnwakhm kh s 1907 thiemuxngexmophra rthaekhnss shrthxemrika aelacbkarsuksacakwithyalyexmophrainpi kh s 1923 caknnidekhasuksatxaelacbkarsusaradbpriyyaoththisthabnethkhonolyiaemssachuestsinpi kh s 1926 aelaidrbnganepnxacarysxnxyuepnewla 2 pi caknninpi kh s 1928 samuexlidekhathanganthihxngptibtikarebll odynganswnihyekiywkhxngkbhlxdsuyyakas rwmthngidphthnaerdarinchwngsngkhramolkkhrngthi 2xikdwy hlngcaknnidyayipthanganthimhawithyalyxillinxys exxraebna aechmepycn iderimkxtngokhrngkar ILLIAC aetidyayxxkmakxnthiekhruxngkhxmphiwetxrekhruxngaerkcasrangesrc samuexlyayipthangankbixbiexmthiniwyxrkinpi kh s 1949 cnkrathngprasbkhwamsaercepnxyangmakcakkarepnphusrangsxftaewrkhxngtarangaehchkhrngaerkkhxngolk aelayngmiswnkbkarichthransisetxrinkhxmphiwetxrthiphlitodyixbiexmxikdwy thibristhaehngni samuexlidsrangopraekrmelnhmakhxskhunbnekhruxng IBM701 thiepnkhxmphiwetxrphanichyekhruxngaerkkhxngixbiexm idmikarsathitopraekrmephuxnaesnxkhwamkawhnathangdanhardaewraelakarekhiynopraekrmthitxngichthksasung thaihhunkhxngbristhixbiexmsungkhunip 15 cudphayinkhunediyw nxckakni samuexlyngmikhwamechiywchaydankarekhiynopraekrmthiimichtwelkh thaihkhasngkhxngkhxmphiwetxrepnrupepnrangmakkhun aelayngepnkhnaerkthiichkhxmphiwetxrthanganxunnxkcakngankhanwn samuexlyngepnkhnmichuxesiyngdankarekhiynbthkhwameruxngyakihekhaicngay aelaidrbechiyihekhiynbthnakhxngbthkhwaminwarsarekiywkbkhxmphiwetxryukhaerkinpi 1953 xikdwyinpi 1966 samuexleksiyncakixbiexmaelayaymaepnsastracarythimhawithyalysaetnfxrdcnthungwarasudthaykhxngchiwit idrwmthangankbodnld khnuthphthna TeX khunmaephuxxanwykhwamsadwkinkarekhiynbthkhwamwichakaraelaexksartang idrbrangwlnkbukebikthangkhxmphiwetxrcaksmakhmkhxmphiwetxrkhxngsthabnwiswkriffaaelaxielkthrxniksinpi kh s 1987 samuexlesiychiwitdwyorkhpharkinsnemuxwnthi 29 krkdakhm kh s 1990xangxing aekikh John McCarthy Edward Feigenbaum 1990 In Memoriam Arthur Samuel Pioneer in Machine Learning AI Magazine AAAI 11 3 subkhnemux 11 January 2015 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title xaethxr samuexl amp oldid 7708230, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม