fbpx
วิกิพีเดีย

อุปลักษณ์

อุปลักษณ์ เป็นมโนในการทำความเข้าใจของสิ่งหนึ่ง ด้วยอีกสิ่งหนึ่ง อุปลักษณ์ เป็นการวาดภาพทางภาษาซึ่งเปรียบเทียบของสองสิ่งหรือแนวคิดสองอย่าง

อุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์

คำว่า "อุปลักษณ์" ในทางอรรถศาสตร์ปริชาน ไม่ถือว่าเกี่ยวข้องกับการใช้ภาษาเชิงวรรณกรรม หรือเป็นเพียงแค่ลีลาการใช้ภาษา เพราะอุปลักษณ์ในที่นี้ถือเป็นกระบวนการทางปริชานที่ทำให้มนุษย์เราสามารถจัดการกับระบบความคิด และยังถือเป็นกระบวนการที่เกี่ยวกับการสร้างระบบภาษา

จอร์จ เลคอฟ (George Lakoff) และ มาร์ค จอห์นสัน (Mark Johnson) ผู้ริเริ่มทฤษฎีอุปลักษณ์มโนทัศนี้ทำให้การศึกษาอุปลักษณ์เชิงปริชานกลายเป็นการศึกษาที่มีความสำคัญ ไม่เฉพาะต่อการศึกษาวิจัยด้านภาษาศาสตร์ แต่ยังรวมถึงการศึกษาด้านปรากฏการณ์ทางสังคม โดยเฉพาะในเรื่องที่เกี่ยวกับการใช้ภาษาในชีวิตประจำวันของมนุษย์ เลคอฟอธิบายเกี่ยวกับอุปลักษณ์ว่าเป็นสิ่งที่มีอยู่ทั่วไปในชีวิตประจำวัน และไม่ใช่อยู่แค่ในภาษา แต่ยังอยู่ในทั้งความคิดและการกระทำ ระบบมโนทัศน์ (conceptual system) ที่ทำให้มนุษย์เราสามารถคิดและทำสิ่งต่างๆ ได้ล้วนมีพื้นฐานมาจากอุปลักษณ์ทั้งสิ้น มโนทัศน์ (concepts) ที่มีผลต่อความคิดของมนุษย์ เรานั้นแท้จริงแล้วมิได้เป็นระบบที่ปราดเปรื่องแต่อย่างใด มโนทัศน์เพียงทำหน้าที่รวบรวมรายละเอียดต่างๆ ที่เกิดขึ้นในกิจกรรมที่เราทำทุกๆ วัน และประกอบโครงสร้างของสิ่งที่เรารับรู้ผ่านประสาทสัมผัส วิธีปฏิบัติของเราที่มีต่อสิ่งรอบตัว รวมทั้งการที่เรามีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น ทั้งหมดนี้คือบทบาทของระบบการสร้างมโนทัศน์ของมนุษย์เรา

แท้จริงแล้วเลคอฟและจอห์นสันไม่ได้มองอุปลักษณ์ในแนวปริชานว่าเป็นเพียงแค่สิ่งที่เกิดขึ้นทางภาษาศาสตร์ แต่มองว่าเป็นปรากฏการณ์ทางปริชานที่ประกอบทั้งระบบภาษาและระบบความคิดเข้าด้วยกัน หลักการนี้มีอยู่ในวิธีการที่มนุษย์สร้างระบบความรู้ต่างๆ และการทำความเข้าใจเกี่ยวกับขอบเขตของมโนทัศน์ (conceptual domain) หนึ่งโดยใช้อีกมโนทัศน์เป็นตัวช่วย ความสามารถนี้เป็นผลมาจากการที่ระบบการสร้างมโนทัศน์ทำการสร้างและกำหนดขอบเขตทางความคิดด้วยการใช้อุปลักษณ์ จุดนี้เองที่ถือเป็นความคิดที่ได้รับการกลั่นกรองโดยระบบการรับรู้ความหมายซึ่งนำไปสู่การให้ความสำคัญกับการศึกษาเรื่องอุปลักษณ์

อุปลักษณ์ทางมโนทัศน์เกิดจากโครงสร้างทางความคิด เราเข้าใจอุปลักษณ์ได้เพราะมีการทับซ้อนของขอบเขตของมโนทัศน์ต่างๆ (mapping of conceptual domains) นั่นก็คือการที่มิติทางความคิดต่างๆ (mental spaces) มีการเชื่อมต่อกันอย่างเป็นระบบ หมายความว่าวัตถุหรือองค์ประกอบในมิติทางความคิดหนึ่งไปสัมพันธ์กับวัตถุหรือองค์ประกอบในอีกมิติทางความคิดหนึ่ง

บทบาทของอุปลักษณ์ทางปริชานนี้ถูกกำหนดโดยความสามารถที่ระบบทางความคิดประมวลออกมาในรูปแบบที่หลากหลาย ระบบการสร้างมโนทัศน์ปกติของเรานั้นจึงเป็นระบบที่ต้องพึ่งพากระบวนการทางอุปลักษณ์อยู่ตลอด เราสามารถกล่าวได้ว่าอุปลักษณ์คือสิ่งที่ธรรมดาและเป็นสิ่งพื้นฐานที่สุดในชีวิตมนุษย์

เลคอฟให้รายละเอียดเกี่ยวกับกระบวนการของอุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์ไว้ว่าเกิดจากการที่มโนทัศน์ที่เป็นนามธรรม (abstract concept) สร้างขึ้นจากมโนทัศน์ที่มีความใกล้เคียงกับประสบการณ์ที่มีพื้นฐานจากทางร่างกาย (corporal experience) ของเรา กระบวนการนี้มีความสัมพันธ์กับตัวมโนทัศน์ไม่ใช่ตัวคำในภาษา และยังสัมพันธ์กับระบบการคิดอย่างมีเหตุผล กระบวนการหลักของอุปลักษณ์มโนทัศน์คือการถ่ายทอดระหว่างขอบเขตของมโนทัศน์ที่ต่างกัน โดยจะมีการเก็บโครงสร้างที่เป็นตัวอนุมานระหว่างแต่ละมโนทัศน์ไว้เสมอ

ด้วยเหตุนี้ อุปลักษณ์จึงทำให้การคิดเป็นสิ่งที่ง่ายขึ้น เลคอฟอธิบายเพิ่มเติมว่ากรอบของประสบการณ์ทางความคิดเชิงนามธรรมที่เกิดขึ้นใหม่ทั้งหลายนั้นจะถูกรวบรวมโดยผ่านเครือข่ายของอุปลักษณ์ซึ่งทำหน้าที่สร้างแบบแผนทางความคิด ดังนั้นหน้าที่สำคัญของอุปลักษณ์คือการเชื่อมโยงรูปแบบความคิดที่เป็นนามธรรมเข้ากับรูปแบบความคิดทางกายภาพโดยผ่านตัวกระทำทางปริชาน ส่วนประสบการณ์แต่ละแบบนั้นก็เกิดขึ้นมาจากการที่เรามีปฏิสัมพันธ์กับโลกรอบๆ ตัวเรา ดังนั้นอุปลักษณ์จึงเชื่อมต่อรูปแบบการแสดงความคิดเข้ากับพื้นฐานทางความรู้สึกและประสบการณ์

อุปลักษณ์จะถ่ายทอดรูปแบบทางความคิดจากขอบเขตต้นทาง (source domain) ไปยัง ขอบเขตปลายทางหรือของเขตเป้าหมาย (target/objective domain) ด้วยเหตุนี้รูปแบบทางความคิดของขอบเขตเป้าหมายจึงถูกรับรู้ได้โดยผ่านประสบการณ์เชิงมิติกายภาพ (physico-spatial experience) อันมีผลมาจากรูปแบบความคิดต้นทาง อุปลักษณ์แต่ละแบบจึงประกอบไปด้วยมโนทัศน์ต้นทาง มโนทัศน์เป้าหมาย และระบบการเชื่อมโยงทั้งสองมโนทัศน์เข้าหากัน และด้วยกระบวนการการถ่ายทอดระหว่างมโนทัศน์นี้ ส่วนหนึ่งของโครงสร้างมิติที่หลากหลาย (multidimensional structure) จากมโนทัศน์ต้นทางจะถูกนำไปสัมพันธ์กับอีกโครงสร้างที่ประกอบขึ้นมาเป็นระบบมโนทัศน์ปลายทาง การที่มโนทัศน์หนึ่งๆ จะสามารถทำหน้าที่เป็นแหล่งข้อมูลให้กับตัวอุปลักษณ์ได้นั้น เราต้องเข้าใจมโนทัศน์นั้นๆ โดยไม่แยกจากอุปลักษณ์ เลคอฟชี้ให้เห็นว่าระหว่างสองมโนทัศน์ที่จะเชื่อมต่อกันนั้น ต้องมีความสัมพันธ์ทางโครงสร้าง (structural correlation) ที่อยู่ภายในประสบการณ์ในชีวิตประจำวันของเรา ตัวอย่างเช่น ลักษณะแนวดิ่ง (verticality) ถือเป็นขอบเขตต้นทางที่สำคัญในการที่เราจะทำความเข้าใจเรื่องปริมาณและปริมาตร เพราะมนุษย์เราจะมีระบบความสัมพันธ์จากประสบการณ์การรับรู้เรื่องแนวดิ่งและปริมาณเป็นพื้นฐานอยู่แล้ว เช่นการที่เราเติมน้ำลงไปในแก้วแล้วเราเห็นระดับน้ำสูงขึ้น กระบวนการทางความคิดนี้ถือได้ว่าเป็นรูปแบบทางธรรมชาติ

อ้างอิง

  • George Lakoff & Mark Johnson, Metaphors we live by, Chicago : The University of Chicago, 1980.
  • George Lakoff, « Les universaux de la pensée métaphorique : variations dans l’expression linguistique », Traduction de Jean Lassègue, in Fuchs, Catherine & Robert, Stéphane (eds.), Diversité des langues et représentations cognitives, pp.165-181, Paris : Ophrys, 1997.
  • Ronthavan Surisarn, Étude sémantico-cognitive de la préposition spatiale « chez » du français : de la spatialité à la non-spatialité , Bangkok : Université Chulalongkorn, À paraître.

ปล, กษณ, เป, นมโนในการทำความเข, าใจของส, งหน, วยอ, กส, งหน, เป, นการวาดภาพทางภาษาซ, งเปร, ยบเท, ยบของสองส, งหร, อแนวค, ดสองอย, างเช, งมโนท, ศน, แก, ไขคำว, ในทางอรรถศาสตร, ปร, ชาน, ไม, อว, าเก, ยวข, องก, บการใช, ภาษาเช, งวรรณกรรม, หร, อเป, นเพ, ยงแค, ลาการใช, ภ. xuplksn epnmoninkarthakhwamekhaickhxngsinghnung dwyxiksinghnung xuplksn epnkarwadphaphthangphasasungepriybethiybkhxngsxngsinghruxaenwkhidsxngxyangxuplksnechingmonthsn aekikhkhawa xuplksn inthangxrrthsastrprichan imthuxwaekiywkhxngkbkarichphasaechingwrrnkrrm hruxepnephiyngaekhlilakarichphasa ephraaxuplksninthinithuxepnkrabwnkarthangprichanthithaihmnusyerasamarthcdkarkbrabbkhwamkhid aelayngthuxepnkrabwnkarthiekiywkbkarsrangrabbphasacxrc elkhxf George Lakoff aela markh cxhnsn Mark Johnson phurierimthvsdixuplksnmonthsnithaihkarsuksaxuplksnechingprichanklayepnkarsuksathimikhwamsakhy imechphaatxkarsuksawicydanphasasastr aetyngrwmthungkarsuksadanpraktkarnthangsngkhm odyechphaaineruxngthiekiywkbkarichphasainchiwitpracawnkhxngmnusy elkhxfxthibayekiywkbxuplksnwaepnsingthimixyuthwipinchiwitpracawn aelaimichxyuaekhinphasa aetyngxyuinthngkhwamkhidaelakarkratha rabbmonthsn conceptual system thithaihmnusyerasamarthkhidaelathasingtang idlwnmiphunthanmacakxuplksnthngsin monthsn concepts thimiphltxkhwamkhidkhxngmnusy erannaethcringaelwmiidepnrabbthipradepruxngaetxyangid monthsnephiyngthahnathirwbrwmraylaexiydtang thiekidkhuninkickrrmthierathathuk wn aelaprakxbokhrngsrangkhxngsingthierarbruphanprasathsmphs withiptibtikhxngerathimitxsingrxbtw rwmthngkarthieramiptismphnthkbphuxun thnghmdnikhuxbthbathkhxngrabbkarsrangmonthsnkhxngmnusyeraaethcringaelwelkhxfaelacxhnsnimidmxngxuplksninaenwprichanwaepnephiyngaekhsingthiekidkhunthangphasasastr aetmxngwaepnpraktkarnthangprichanthiprakxbthngrabbphasaaelarabbkhwamkhidekhadwykn hlkkarnimixyuinwithikarthimnusysrangrabbkhwamrutang aelakarthakhwamekhaicekiywkbkhxbekhtkhxngmonthsn conceptual domain hnungodyichxikmonthsnepntwchwy khwamsamarthniepnphlmacakkarthirabbkarsrangmonthsnthakarsrangaelakahndkhxbekhtthangkhwamkhiddwykarichxuplksn cudniexngthithuxepnkhwamkhidthiidrbkarklnkrxngodyrabbkarrbrukhwamhmaysungnaipsukarihkhwamsakhykbkarsuksaeruxngxuplksnxuplksnthangmonthsnekidcakokhrngsrangthangkhwamkhid eraekhaicxuplksnidephraamikarthbsxnkhxngkhxbekhtkhxngmonthsntang mapping of conceptual domains nnkkhuxkarthimitithangkhwamkhidtang mental spaces mikarechuxmtxknxyangepnrabb hmaykhwamwawtthuhruxxngkhprakxbinmitithangkhwamkhidhnungipsmphnthkbwtthuhruxxngkhprakxbinxikmitithangkhwamkhidhnungbthbathkhxngxuplksnthangprichannithukkahndodykhwamsamarththirabbthangkhwamkhidpramwlxxkmainrupaebbthihlakhlay rabbkarsrangmonthsnpktikhxngeranncungepnrabbthitxngphungphakrabwnkarthangxuplksnxyutlxd erasamarthklawidwaxuplksnkhuxsingthithrrmdaaelaepnsingphunthanthisudinchiwitmnusyelkhxfihraylaexiydekiywkbkrabwnkarkhxngxuplksnechingmonthsniwwaekidcakkarthimonthsnthiepnnamthrrm abstract concept srangkhuncakmonthsnthimikhwamiklekhiyngkbprasbkarnthimiphunthancakthangrangkay corporal experience khxngera krabwnkarnimikhwamsmphnthkbtwmonthsnimichtwkhainphasa aelayngsmphnthkbrabbkarkhidxyangmiehtuphl krabwnkarhlkkhxngxuplksnmonthsnkhuxkarthaythxdrahwangkhxbekhtkhxngmonthsnthitangkn odycamikarekbokhrngsrangthiepntwxnumanrahwangaetlamonthsniwesmxdwyehtuni xuplksncungthaihkarkhidepnsingthingaykhun elkhxfxthibayephimetimwakrxbkhxngprasbkarnthangkhwamkhidechingnamthrrmthiekidkhunihmthnghlaynncathukrwbrwmodyphanekhruxkhaykhxngxuplksnsungthahnathisrangaebbaephnthangkhwamkhid dngnnhnathisakhykhxngxuplksnkhuxkarechuxmoyngrupaebbkhwamkhidthiepnnamthrrmekhakbrupaebbkhwamkhidthangkayphaphodyphantwkrathathangprichan swnprasbkarnaetlaaebbnnkekidkhunmacakkarthieramiptismphnthkbolkrxb twera dngnnxuplksncungechuxmtxrupaebbkaraesdngkhwamkhidekhakbphunthanthangkhwamrusukaelaprasbkarnxuplksncathaythxdrupaebbthangkhwamkhidcakkhxbekhttnthang source domain ipyng khxbekhtplaythanghruxkhxngekhtepahmay target objective domain dwyehtunirupaebbthangkhwamkhidkhxngkhxbekhtepahmaycungthukrbruidodyphanprasbkarnechingmitikayphaph physico spatial experience xnmiphlmacakrupaebbkhwamkhidtnthang xuplksnaetlaaebbcungprakxbipdwymonthsntnthang monthsnepahmay aelarabbkarechuxmoyngthngsxngmonthsnekhahakn aeladwykrabwnkarkarthaythxdrahwangmonthsnni swnhnungkhxngokhrngsrangmitithihlakhlay multidimensional structure cakmonthsntnthangcathuknaipsmphnthkbxikokhrngsrangthiprakxbkhunmaepnrabbmonthsnplaythang karthimonthsnhnung casamarththahnathiepnaehlngkhxmulihkbtwxuplksnidnn eratxngekhaicmonthsnnn odyimaeykcakxuplksn elkhxfchiihehnwarahwangsxngmonthsnthicaechuxmtxknnn txngmikhwamsmphnththangokhrngsrang structural correlation thixyuphayinprasbkarninchiwitpracawnkhxngera twxyangechn lksnaaenwding verticality thuxepnkhxbekhttnthangthisakhyinkarthieracathakhwamekhaiceruxngprimanaelaprimatr ephraamnusyeracamirabbkhwamsmphnthcakprasbkarnkarrbrueruxngaenwdingaelaprimanepnphunthanxyuaelw echnkarthieraetimnalngipinaekwaelweraehnradbnasungkhun krabwnkarthangkhwamkhidnithuxidwaepnrupaebbthangthrrmchatixangxing aekikhGeorge Lakoff amp Mark Johnson Metaphors we live by Chicago The University of Chicago 1980 George Lakoff Les universaux de la pensee metaphorique variations dans l expression linguistique Traduction de Jean Lassegue in Fuchs Catherine amp Robert Stephane eds Diversite des langues et representations cognitives pp 165 181 Paris Ophrys 1997 Ronthavan Surisarn Etude semantico cognitive de la preposition spatiale chez du francais de la spatialite a la non spatialite Bangkok Universite Chulalongkorn A paraitre ekhathungcak https th wikipedia org w index php title xuplksn amp oldid 9626358, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม