fbpx
วิกิพีเดีย

ฮอร์โมนพืช

ลักษณะ

ฮอร์โมนพืชจะทำปฏิกิริยากับการแสดงออกของยีนส์, ระดับของการถอดรหัส, การแบ่งเซลล์ และการเจริญเติบโต โดยธรรมชาติแล้วพืชจะผลิตฮอร์โมนขึ้นมาเอง แต่สารเคมีที่มีลักษณะคล้ายๆที่ผลิตมาจากเชื้อราหรือแบคทีเรียก็สามารถมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืชได้ นอกจากนี้ยังมีสารเคมีที่เกี่ยวข้องจำนวนมากที่สามารถถูกสังเคราะห์ขึ้นมาได้และถูกใช้สำหรับการควบคุมการเจริญเติบโตของพืชที่เพาะปลูก, วัชพืช, พืชที่ปลูกในหลอดทดลองหรือที่ได้จากการเพาะเชื้อ และรวมถึงเซลล์พืช สารเคมีที่ถูกสังเคราะห์ขึ้นนี้จะถูกเรียกว่าสารควบคุมการเจริญเติบโตของพันธ์พืช (Plant Growth Regulator; PGR)

ฮอร์โมนพืชไม่ใช่สารอาหารของพืช แต่เป็นสารเคมีที่ใช้ในปริมาณน้อย ๆ เพื่อส่งเสริมและควบคุมการเติบโตของพืช ซึ่งรวมไปถึงการเปลี่ยนสภาพของเซลล์และเนื้อเยื่อด้วย โดยพืชสามารถเคลื่อนย้ายฮอร์โมนได้หลายวิธี สำหรับการเคลื่อนย้ายเฉพาะตำแหน่งจะใช้กลไกของกระแสไซโทพลาซึมและการแพร่กระจายอย่างช้า ๆ ของไอออนและโมเลกุลระหว่างเซลล์ ส่วนการเคลื่อนย้ายระหว่างส่วนต่าง ๆ ของพืชจะใช้เนื้อเยื้อท่อน้ำเลี้ยงในการเคลื่อนย้ายฮอร์โมน ซึ่งรวมถึงท่อลำเลียงอาหารที่ใช้เคลื่อนย้ายน้ำตาลจากใบไปรากและดอก ส่วนท่อลำเลียงน้ำที่ใช้เคลื่อนย้ายน้ำและแร่ธาตุจากรากไปใบ

เซลล์พืชไม่สามารถตอบสนองกับฮอร์โมนได้ทุกเซลล์ ซึ่งเซลล์แต่กลุ่มจะตอบสนองกับฮอร์โมนในจังหวะเวลาจำเพาะของตัวเอง พืชต้องการฮอร์โมนเฉพาะที่และเฉพาะเวลาในรอบวงจรการเจริญเติบโตมัน และพืชยังต้องการที่จะปลดปล่อยผลของฮอร์โมนออกในเวลาที่ไม่ต้องการอีกด้วย โดยฮอร์โมนจะถูกสร้างขึ้นบ่อยครั้ง ณ บริเวณที่มีการเติบโตมากในเนื้อเยื่อเจริญ (ก่อนที่เซลล์จะแปลงสภาพเสร็จ) และหลังจากที่ฮอร์โมนถูกสร้างขึ้นมาบางครั้งฮอร์โมนก็จะถูกเคลื่อนย้ายไปที่ส่วนอื่น ๆ ของพืช

ความเข้มข้นของฮอร์โมนที่พืชใช้อยู่ในระดับที่ต่ำมาก (10-6 ถึง 10-5 โมลต่อลิตร) ซึ่งความเข้มข้นในระดับที่ต่ำมากนี้ทำให้การศึกษาเกี่ยวกับฮอร์โมนพืชทำได้ยาก และช่วงหลังของทศวรรษที่ 1970 มานี้เองที่การศึกษาเรื่องฮอร์โมนพืชที่เชื่อมโยงฮอร์โมนพืชแต่ละตัว, ระหว่างผล และระหว่างผลกับพืชเพิ่งจะถูกรวมเข้าไว้ด้วยกัน

ชนิดของฮอร์โมนพืช

โดยทั่วไปแล้วฮอร์โมนพืชถูกแบ่งออกเป็น 5 ชนิดใหญ่ ๆ โดยชนิดจะถูกจำแนกโดยความคล้ายคลึงกันทางโครงสร้างเคมีและผลทางชีวภาพต่อต้นพืช โดยฮอร์โมนและสารควบคุมการเจริญเติบโตบางชนิดไม่สามารถถูกจัดเข้ากลุ่มเหล่านี้ได้ง่าย ๆ ซึ่งสารเคมีเหล่านั้นรวมถึงสารที่ยับยั้งการเจริญเติบโตหรือสารที่รบกวนระบบชีวภาพของพืช ได้แก่

  • กรดแอบไซซิก - เป็นสารที่ประกอบด้วยสารเคมีที่ปกติผลิตจากคลอโรพลาสต์ที่ใบพืช โดยเฉพาะเมื่อพืชอยู่ภายใต้ภาวะเครียด โดยทั่วไปแล้วกรดแอบไซซิกจะออกฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของพืช ทำให้พืชทนต่อสภาวะเครียดต่าง ๆ ได้ดี และมีบทบาทในการเจริญพัฒนาของเอ็มบริโอซึ่งรวมไปถึงการพักตัวของเมล็ดและของตาพืช
  • ออกซิน - เป็นสารเคมีที่มีผลส่งเสริมกระตุ้นการแบ่งเซลล์, การยืดตัวของเซลล์, การแตกหน่อ และการสร้างราก ออกซินยังส่งเสริมการสร้างฮอร์โมนชนิดอื่นและทำงานร่วมกับไซโตไคนินในการควบคุมการเจริญเติบโตของกิ่งก้าน, ราก, ผล, และดอก

สารสังเคราะห์ที่จัดอยู่ในกลุ่มออกซิน ได้แก่ 4-ซีพีเอ (4-CPA หรือ 4-Chlorophenoxyacetic acid) และ 2,4-ดี

  • ไซโตไคนิน - เป็นสารเคมีที่มีผลกับการแบ่งเซลล์และการแตกหน่อ ซึ่งไซโตไคนินยังช่วยชะลอการแก่ตัวของเนื้อเยื้อและช่วยในการเคลื่อนย้ายออกซินภายในพืชด้วย
  • เอทิลีน - เป็นสารเคมีที่มีสภาพเป็นก๊าซที่อุณหภูมิห้อง เอทิลีนช่วยควบคุมกระบวนการเติบโตที่เกี่ยวข้องกับความชรา, การหลุดร่วงของใบ, ดอก, ผล และควบคุมการเจริญของพืชเมื่ออยู่ในสภาวะที่ไม่เหมาะสม
  • จิบเบอเรลลิน - เป็นสารเคมีที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการงอกของเมล็ด, การสร้างเอนไซม์ที่เกี่ยวกับการเคลื่อนย้ายอาหาร และการเจริญของเซลล์ใหม่ ซึ่งจิบเบอเรลลินจะช่วยส่งเสริมการออกดอก, การแบ่งเซลล์ และการเติบโตของเมล็ดหลังงอก

สูตรโครงสร้าง

         
กรดแอบไซซิก ออกซิน ไซโตไคนิน เอทิลีน จิบเบอเรลลิน เอ 1

อ้างอิง

  1. Srivastava, L. M. 2002. Plant growth and development: hormones and environment. Amsterdam: Academic Press. Page 140.
  2. Helgi Öpik, Stephen A. Rolfe The Physiology of Flowering Plants, Published 2005, Cambridge University Press Plant physiology Page 191, ISBN 0-521-66251-6
  3. Srivastava, L. M. 2002. Plant growth and development hormones and environment. Amsterdam: Academic Press. Page 143.
  4. By Daphne J. Osborne, Michael T. McManus Hormones, Signals and Target Cells in Plant Development. Published 2005, Cambridge University Press. Page 158.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Another quality guide 2007-10-30 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  • with location of synthesis and effects of application - this is the format used in the descriptions at the ends of the Wikipedia articles on individual plant hormones.
  • Hormonal Regulation of Gene Expression and Development 2004-04-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน - Detailed intro including genetic information.
  • Plant stress hormones suppress the proliferation and induce apoptosis in human cancer cells, Leukemia, Nature, April 2002, Volume 16, Number 4, Pages 608-616

ฮอร, โมนพ, เน, อหา, กษณะ, ชน, ดของ, ตรโครงสร, าง, างอ, แหล, งข, อม, ลอ, นล, กษณะ, แก, ไขจะทำปฏ, ยาก, บการแสดงออกของย, นส, ระด, บของการถอดรห, การแบ, งเซลล, และการเจร, ญเต, บโต, โดยธรรมชาต, แล, วพ, ชจะผล, ตฮอร, โมนข, นมาเอง, แต, สารเคม, กษณะคล, ายๆท, ผล, ตมาจากเ. enuxha 1 lksna 2 chnidkhxnghxromnphuch 2 1 sutrokhrngsrang 3 xangxing 4 aehlngkhxmulxunlksna aekikhhxromnphuchcathaptikiriyakbkaraesdngxxkkhxngyins radbkhxngkarthxdrhs karaebngesll aelakarecriyetibot odythrrmchatiaelwphuchcaphlithxromnkhunmaexng aetsarekhmithimilksnakhlaythiphlitmacakechuxrahruxaebkhthieriyksamarthmiphltxkarecriyetibotkhxngphuchid 1 nxkcakniyngmisarekhmithiekiywkhxngcanwnmakthisamarththuksngekhraahkhunmaidaelathukichsahrbkarkhwbkhumkarecriyetibotkhxngphuchthiephaapluk wchphuch phuchthiplukinhlxdthdlxnghruxthiidcakkarephaaechux aelarwmthungesllphuch sarekhmithithuksngekhraahkhunnicathukeriykwasarkhwbkhumkarecriyetibotkhxngphnthphuch Plant Growth Regulator PGR hxromnphuchimichsarxaharkhxngphuch aetepnsarekhmithiichinprimannxy ephuxsngesrimaelakhwbkhumkaretibotkhxngphuch 2 sungrwmipthungkarepliynsphaphkhxngesllaelaenuxeyuxdwy odyphuchsamarthekhluxnyayhxromnidhlaywithi sahrbkarekhluxnyayechphaataaehnngcaichklikkhxngkraaesisothphlasumaelakaraephrkracayxyangcha khxngixxxnaelaomelkulrahwangesll swnkarekhluxnyayrahwangswntang khxngphuchcaichenuxeyuxthxnaeliynginkarekhluxnyayhxromn sungrwmthungthxlaeliyngxaharthiichekhluxnyaynatalcakibiprakaeladxk swnthxlaeliyngnathiichekhluxnyaynaaelaaerthatucakrakipibesllphuchimsamarthtxbsnxngkbhxromnidthukesll sungesllaetklumcatxbsnxngkbhxromnincnghwaewlacaephaakhxngtwexng phuchtxngkarhxromnechphaathiaelaechphaaewlainrxbwngcrkarecriyetibotmn aelaphuchyngtxngkarthicapldplxyphlkhxnghxromnxxkinewlathiimtxngkarxikdwy odyhxromncathuksrangkhunbxykhrng n briewnthimikaretibotmakinenuxeyuxecriy kxnthiesllcaaeplngsphaphesrc aelahlngcakthihxromnthuksrangkhunmabangkhrnghxromnkcathukekhluxnyayipthiswnxun khxngphuchkhwamekhmkhnkhxnghxromnthiphuchichxyuinradbthitamak 10 6 thung 10 5 omltxlitr sungkhwamekhmkhninradbthitamaknithaihkarsuksaekiywkbhxromnphuchthaidyak aelachwnghlngkhxngthswrrsthi 1970 maniexngthikarsuksaeruxnghxromnphuchthiechuxmoynghxromnphuchaetlatw rahwangphl aelarahwangphlkbphuchephingcathukrwmekhaiwdwykn 3 chnidkhxnghxromnphuch aekikhodythwipaelwhxromnphuchthukaebngxxkepn 5 chnidihy odychnidcathukcaaenkodykhwamkhlaykhlungknthangokhrngsrangekhmiaelaphlthangchiwphaphtxtnphuch odyhxromnaelasarkhwbkhumkarecriyetibotbangchnidimsamarththukcdekhaklumehlaniidngay sungsarekhmiehlannrwmthungsarthiybyngkarecriyetibothruxsarthirbkwnrabbchiwphaphkhxngphuch idaek krdaexbissik epnsarthiprakxbdwysarekhmithipktiphlitcakkhlxorphlastthiibphuch odyechphaaemuxphuchxyuphayitphawaekhriyd odythwipaelwkrdaexbissikcaxxkvththiybyngkarecriyetibotkhxngphuch thaihphuchthntxsphawaekhriydtang iddi aelamibthbathinkarecriyphthnakhxngexmbrioxsungrwmipthungkarphktwkhxngemldaelakhxngtaphuch xxksin epnsarekhmithimiphlsngesrimkratunkaraebngesll karyudtwkhxngesll karaetkhnx aelakarsrangrak xxksinyngsngesrimkarsranghxromnchnidxunaelathanganrwmkbisotikhnininkarkhwbkhumkarecriyetibotkhxngkingkan rak phl aeladxk 4 sarsngekhraahthicdxyuinklumxxksin idaek 4 siphiex 4 CPA hrux 4 Chlorophenoxyacetic acid aela 2 4 di isotikhnin epnsarekhmithimiphlkbkaraebngesllaelakaraetkhnx sungisotikhninyngchwychalxkaraektwkhxngenuxeyuxaelachwyinkarekhluxnyayxxksinphayinphuchdwy exthilin epnsarekhmithimisphaphepnkasthixunhphumihxng exthilinchwykhwbkhumkrabwnkaretibotthiekiywkhxngkbkhwamchra karhludrwngkhxngib dxk phl aelakhwbkhumkarecriykhxngphuchemuxxyuinsphawathiimehmaasm cibebxerllin epnsarekhmithithahnathiekiywkbkarngxkkhxngemld karsrangexnismthiekiywkbkarekhluxnyayxahar aelakarecriykhxngesllihm sungcibebxerllincachwysngesrimkarxxkdxk karaebngesll aelakaretibotkhxngemldhlngngxksutrokhrngsrang aekikh krdaexbissik xxksin isotikhnin exthilin cibebxerllin ex 1xangxing aekikh Srivastava L M 2002 Plant growth and development hormones and environment Amsterdam Academic Press Page 140 Helgi Opik Stephen A Rolfe The Physiology of Flowering Plants Published 2005 Cambridge University Press Plant physiology Page 191 ISBN 0 521 66251 6 Srivastava L M 2002 Plant growth and development hormones and environment Amsterdam Academic Press Page 143 By Daphne J Osborne Michael T McManus Hormones Signals and Target Cells in Plant Development Published 2005 Cambridge University Press Page 158 aehlngkhxmulxun aekikhAnother quality guide Archived 2007 10 30 thi ewyaebkaemchchin Simple plant hormone table with location of synthesis and effects of application this is the format used in the descriptions at the ends of the Wikipedia articles on individual plant hormones Hormonal Regulation of Gene Expression and Development Archived 2004 04 27 thi ewyaebkaemchchin Detailed intro including genetic information Plant stress hormones suppress the proliferation and induce apoptosis in human cancer cells Leukemia Nature April 2002 Volume 16 Number 4 Pages 608 616 bthkhwamekiywkbphuchniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy phrrnphvksa ekhathungcak https th wikipedia org w index php title hxromnphuch amp oldid 9676473, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม