fbpx
วิกิพีเดีย

เชื้อเพลิง

เชื้อเพลิง คือวัสดุใดๆ ที่นำไปเผาไหม้หรือแปรเปลี่ยนเพื่อนำมาซึ่งพลังงาน เชื้อเพลิงจะปลดปล่อยพลังงานผ่านปฏิกิริยาทางเคมีเช่นการเผาไหม้ หรือปฏิกิริยานิวเคลียร์เช่นการแตกตัวหรือการรวมตัวของนิวเคลียส อย่างใดอย่างหนึ่ง คุณสมบัติสำคัญของเชื้อเพลิงที่มีประโยชน์คือพลังงานที่มีอยู่สามารถถูกบรรจุและปลดปล่อยได้ตามต้องการ และการปลดปล่อยนั้นถูกควบคุมในทางใดทางหนึ่งเพื่อให้สามารถใช้สร้างงานทางวิศวกรรมได้

ไม้ เชื้อเพลิงชนิดหนึ่ง

สิ่งมีชีวิตที่มีคาร์บอนเป็นพื้นฐาน (carbon-based life) ทุกชนิด คือตั้งแต่จุลชีพไปจนถึงสัตว์รวมทั้งมนุษย์ ใช้เชื้อเพลิงเป็นแหล่งพลังงาน เซลล์ต่างๆ จะต้องเกี่ยวข้องกับกระบวนการทางเคมีที่เรียกว่า เมแทบอลิซึม (metabolism) ซึ่งดึงเอาพลังงานออกมาจากอาหารหรือแสงอาทิตย์ในรูปแบบที่สามารถใช้ในการดำรงชีวิต นอกจากนั้นมนุษย์ใช้เทคนิคที่หลากหลายเพื่อแปรเปลี่ยนพลังงานรูปแบบหนึ่งไปสู่อีกรูปแบบหนึ่ง ซึ่งการสร้างพลังงานก็เพื่อจุดประสงค์ที่มากไปกว่าพลังงานในร่างกายมนุษย์ การใช้พลังงานที่ถูกปลดปล่อยออกจากเชื้อเพลิงมีตั้งแต่ การทำความร้อนเพื่อการปรุงอาหาร การผลิตไฟฟ้า หรือแม้แต่การเพิ่มแสนยานุภาพของอาวุธ

ประเภทของเชื้อเพลิง

เชื้อเพลิงเหลว

   องค์ประกอบสำคัญของเชื้อเพลิงเหลวคือ คาร์บอนและไฮโดรเจน ซึ่งรวมตัวกันทางเคมีอยู่ในรูปของไฮโดรคาร์บอน วิธีการรวมตัวมีหลายแบบ ซึ่งทำให้เชื้อเพลิงเหลวแต่ละชนิดมีคุณสมบัติและลักษณะที่แตกต่างกัน ดังนั้นเชื้อเพลิงเหลวจึงถูกแบ่งตามชนิดของไฮโดรคาร์บอนที่เป็นองค์ประกอบ และตามกากที่เหลือหลังจากสารพวกไอระเหยได้ถูกนำออกไปแล้ว

องค์ประกอบสำคัญของน้ำมันปิโตรเลียมสามารถแบ่งได้ 3 ประเภทคือ

        1.พาราฟิน เบส ประกอบด้วยไฮโดรคาร์บอนชนิดพาราฟินนิคเป็นส่วนมาก ซึ่งหลังจากกระบวนการกลั่นแล้วกากเหลือเป็นพวกขี้ผึ้งพาราฟิน และให้น้ำมันหล่อลื่นคุณภาพสูง

        2.แอสฟัลติค เบส ประกอบด้วยไฮโดรคาร์บอนชนิดเนพธานิคเป็นส่วนมาก หลังจากผ่านการกลั่นแล้วจะให้กากเหลือในรูปของยางมะตอย

        3.เบสผสม ประกอบด้วยไฮโดรคาร์บอนหลายชนิดรวมกัน เช่น ชนิดพาราฟีนนิค, แอสฟัลติค, แอโรมาติคและกากเหลือพวกโอลีฟฟีนนิค ที่ได้จะเป็นของผสมระหว่างขี้ผึ้งพาราฟินและแอสฟัลท์ ส่วนใหญ่ของน้ำมันดิบจะเป็นประเภทเบสผสม

ประเภทของเชื้อเพลิงเหลว

    เชื้อเพลิงเหลวที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียม

        น้ำมันเบนซิน คือน้ำมันที่ได้จากการกลั่นที่อุณหภูมิ 200 – 350 องศาฟาเรนไฮต์ น้ำมันเบนซินเป็นน้ำมันที่ได้จากการปรุงแต่งคุณภาพของผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นน้ำมันโดยตรง และจากการแยกก๊าซธรรมชาติเหลวหรือเบนซินธรรมชาติ น้ำมันเบนซินจะผสมสารเคมีเพิ่มคุณภาพเพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งาน เช่น สารเคมีที่ใช้ในการเพิ่มค่าออกเทน สารเคมีสำหรับป้องกันสนิมและการกัดกร่อนในถังน้ำมัน รวมทั้งสารเคมีที่ช่วยทำความสะอาดคาร์บูเรเตอร์ที่มีใช้ในเครื่องยนต์เบนซิน

        น้ำมันก๊าด คือน้ำมันที่ได้จากการกลั่นที่อุณหภูมิ 350 – 450 องศาฟาเรนไฮต์ น้ำมันก๊าดเป็นน้ำมันปิโตรเลียมที่มีใช้ในสมัยแรกแรก โดยจะใช้เป็นเชื้อเพลิงในการจุดตะเกียง แต่ในปัจจุปันผลิตภัณฑ์ชนิดนี้ใช้ประโยชน์ได้อีกหลายประการ เช่น ใช้เป็นส่วนผสมสำหรับยาฆ่าแมลง สี น้ำมันขัดเงา และเป็นส่วนผสมของน้ำยาทำความสะอาด ในด้านการเกษตรน้ำมันก๊าดมิใช้น้ำมันที่ใช้เฉพาะรถแทร็กเตอร์แต่ยังใช้เป็นเชื้อเพลิงที่ใช้ในการบ่มใบยาสูบและพืชผลทางการเกษตร และในโรงงานอุตรสาหกรรมบางชนิดต่องการการเผาไหม้ที่สะอาด เช่น อุตรสาหกรรมเซรามิกก็ใช้น้ำมันก๊าดเช่นกัน

        น้ำมันดีเซล คือน้ำมันที่ได้จากการกลั่นที่อุณหภูมิ 450 – 525 องศาฟาเรนไฮต์ น้ำมันดีเซลมีการระเหยต่ำ และเป็นผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมที่ได้จากส่วนล่างของหอกลั่นปิโตรเลียม น้ำมันดีเซลจะมีช่วงจุดเดือดและความข้นใสสูงกว่าน้ำมันเบนซิน ดังแสดงใน

        น้ำมันเตา คือน้ำมันที่ได้จากการกลั่นที่อุณหภูมิ 650 – 750 องศาฟาเรนไฮต์ น้ำมันเตาเป็นเชื้อเพลิงสำหรับหม้อไอน้ำ เตาเผา หรือเตาหลอมในโรงงานอุตรสาหกรรม เครื่องกำเนิดไฟฟ้าขนาดใหญ่ เครื่องยนต์เรือเดินสมุทร และเตาต้มน้ำร้อนในโรงงานอุตรสาหกรรม ดังแสดงใน

    เชื้อเพลิงเหลวที่ได้จากพืชผลทางการเกษตร

        น้ำมันไบโอดีเซล เป็นเชื้อเพลิงดีเซลที่ผลิตจากแหล่งทรัพยากรหมุนเวียน เช่น น้ำมันพืช ไขมันสัตว์ หรือสาหร่าย ไบโอดีเซลเป็นเชื้อเพลิงดีเซลทางเลือก นอกเหนือจากดีเซลที่ผลิตจากปิโตรเลียม โดยมีคุณสมบัติการเผาไหม้ เหมือนกับดีเซลจากปิโตรเลียมมากและสามารถใช้แทนกันได้ คุณสมบัติสำคัญของไบโอดีเซลคือ สามารถย่อยสลายได้เอง ตามกระบวนการชีวภาพในธรรมชาติและไม่เป็นพิษ ดังแสดงใน

        น้ำมันจากเมล็ดสบู่ดำ เป็นน้ำมันที่ได้จากเมล็ดสบู่ดำที่ผ่านกระบวนการสกัดแล้ว สามารถใช้กับเครื่องยนต์ดีเซล โดยไม่ต้องใช้น้ำมันชนิดอื่นผสมอีกการสกัดน้ำมันสบู่ดำ ดังแสดงใน

        การสกัดน้ำมันจากเมล็ดสบู่ดำทำได้ 3 วิธีคือ

1.การสกัดด้วยตัวทำละลาย ปิโตรเลียมอีเทอร์ จะได้น้ำมัน 34.96% จากเมล็ดรวมเปลือก และ 54.68% จากเนื้อเมล็ด

2.การสกัดด้วยระบบไฮดรอริค จะได้น้ำมันประมาณ 25-30% มีน้ำมันตกค้างในกาก 10-15%

3.การสกัดด้วยระบบอัดเกลียว จะได้น้ำมันประมาณ 25-30% มีน้ำมันตกค้างในกาก 10-15%

 เชื้อเพลิงแข็ง

 เชื้อเพลิงแข็ง ถึงแม้จะหาได้ง่ายและมีราคาถูก แต่ไม่นิยมใช้เท่าที่ควร ทั้งนี้เพราะเชื้อเพลิงดังกล่าวต้องการเนื้อที่ในการเผาไหม้มากทำให้เกิดความจำเป็นที่จะต้องใช้ห้องเผาไหม้ขนาดใหญ่ นอกจากนี้ยังมีเถ้าในสัดส่วนที่ค่อนข้างสูงซึ่งก่อให้เกิดปัญหาทางด้านความสึกกร่อนของผนังหม้อน้ำและเขม่าในไอเสีย

      ในการใช้เชื้อเพลิงแข็ง เชื้อเพลิงจะถูกบดเป็นก้อนเล็กๆก่อนถูกป้อนเข้าไปในห้องเผาไหม้ เพื่อให้อัตราการเผาไหม้เป็นไปอย่างรวดเร็วและผสมกันระหว่างเชื้อเพลิงและออกซิเจนเป็นไปอย่างทั่วถึง

ประเภทของเชื้อเพลิงแข็ง

       ถ่านหิน คือ หินตะกอนชนิดหนึ่งและเป็นแร่เชื้อเพลิงสามารถติดไฟได้ มีสีน้ำตาลอ่อนจนถึงสีดำ มีทั้งชนิดผิวมันและผิวด้าน น้ำหนักเบา ถ่านหินประกอบด้วยธาตุที่สำคัญ 4 อย่างได้แก่ คาร์บอน ไฮโดรเจน ไนโตรเจน และออกซิเจน นอกจากนั้น มีธาตุหรือสารอื่น เช่น กำมะถัน เจือปนเล็กน้อย ถ่านหินที่มีจำนวนคาร์บอนสูงและมีธาตุอื่นๆต่ำ เมื่อนำมาเผาจะให้ความร้อนมาก ถือว่าเป็นถ่านหินคุณภาพดี

ถ่านหินสามารถแยกประเภทตามลำดับชั้นได้เป็น 5 ประเภท คือ

- พีต (Peat) เป็นขั้นแรกในกระบวนการเกิดถ่านหิน ประกอบด้วยซากพืชซึ่งบางส่วนได้สลายตัวไปแล้วสามารถใช้เป็นเชื้อเพลิงได้ 

  - ลิกไนต์ (Lignite) มีซากพืชหลงเหลืออยู่เล็กน้อย มีความชื้นมาก เป็นถ่านหินที่ใช้เป็นเชื้อเพลิงในงานอุตสาหกรรรม ประเทศไทยพบมากที่ลำปาง ลำพูน กระบี่ เป็นต้น

  - ซับบิทูมินัส (Sub Bituminous) มีสีดำ เป็นเชื้อเพลิงที่มีคุณภาพเหมาะสมในการผลิตกระแสไฟฟ้า 

  - บิทูมินัส (Bituminous) เป็นถ่านหินเนื้อแน่น แข็ง ประกอบด้วยชั้นถ่านหินสีดำมันวาว ใช้เป็นเชื้อเพลิงเพื่อการถลุงโลหะ 

  - แอนทราไซต์ (Anthracite) เป็นถ่านหินที่มีลักษณะดำเป็นเงา มันวาวมาก มีรอยแตกเว้าแบบก้นหอย ติดไฟยาก รูปที่ 5 แอนทราไซต์

       ถ่านโค้ก เป็นเชื้อเพลิงที่ผลิตจากการเผาถ่านหินบิทูมินัสในที่ที่มีอากาศน้อยมาก เพื่อลดปริมาณเถ้าและเพิ่มสัดส่วนของคาร์บอน

       ถ่านไม้ เป็นเชื้อเพลิงที่ผลิตจากไม้โดยขบวนการให้ความร้อนเพียงเล็กน้อยเพื่อให้มันกลายสภาพเป็นคาร์บอน ถ่านไม้จะถูกใช้แทนถ่านหินในประเทศที่มีไม้มากแต่ไม่มีถ่านหิน ถ่านไม้จะถูกนำมาเป็นเชื้อเพลิงในการทำอาหารหรือทำเป็นเชื้อเพลิงอื่น ๆ ส่วนประกอบของแร่ธาตุและสารต่าง ๆ จะระเหยออกมาอยู่ในรูปของไอร้อน และ ควัน เป็นต้น 

       หินน้ำมัน คือ หินตะกอนชนิดหนึ่งที่ประกอบด้วยอินทรีย์วัตถุในรูปของสารที่เรียกว่า คีโรเจน และ คีโรเจนนี้เอง เมื่อถูกทำให้ร้อนด้วยวิธีใดวิธีหนึ่ง ประมาณ 500 องศาเซลเซียส จะให้น้ำมันและก๊าซไฮโดรคาร์บอนออกมา สำหรับการเกิดของหินน้ำมันนั้นเกิดจากพวกพืชและสัตว์ที่ตายแล้ว ซึ่งได้สะสมรวมกันกับเศษหินดินทรายต่าง ๆ อยู่ในที่ที่เคยเป็นแหล่งน้ำขนาดใหญ่ทั่วไปมาก่อน เมื่อเวลาได้ผ่านไปนานนับล้านปีพวกอินทรีย์วัตถุอันได้แก่ ซากพืชและสัตว์ต่าง ๆ ดังกล่าวนั้น ก็จะแปรสภาพเป็นสารคล้ายยางเหนียว ๆ หรือที่เรียกว่า คีโรเจน ส่วนเศษหินดินทรายต่าง ๆ ซึ่งมีสารคีโรเจนอยู่ด้วยนี้ ก็แปรสภาพเป็นหินตะกอนออกสีเข้ม เรียกว่า หินน้ำมัน

เชื้อเพลิงก๊าซ

ก๊าซที่นำมาใช้เป็นเชื้อเพลิงและวัตถุดิบสำหรับผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ส่วนใหญ่ได้มาจากธรรมชาติ นอกจากนี้ก็สามารถได้จากกระบวนการผลิตโดยตรง เช่น พวกก๊าซสังเคราะห์ หรืออีกทางหนึ่งอาจจะเป็นผลพลอยได้มาจากกระบวนการผลิตสิ่งอื่นและได้ก๊าซออกมาโดยไม่ได้ตั้งใจ เช่น ก๊าซที่ได้จากการถลุงเหล็ก เป็นต้น

ประเภทของเชื้อเพลิงก๊าซ

      ก๊าซชีวมวล เป็นก๊าซเชื้อเพลิงที่ได้จากกระบวนการผลิตโดยการใช้ถ่านหินเป็นวัตถุดิบโดยการเผาถ่านหินหรือไม้ในเตาปฏิกรณ์แบบแพ็กเบน ที่มีอากาศจำกัด ซึ่งปริมาณอากาศที่ใช้จะต้องมีอัตาส่วนที่พอเหมาะ ก๊าซชีวะมวลจะประกอบไปด้วย โฟรดิวเซอร์ก๊าซ วอเตอร์ก๊าซ คาร์บูเร็ตต์วอเตอร์ก๊าซ เป็นต้น

      ก๊าซธรรมชาติหรือก๊าซเอ็น.จี.วี เป็นเชื้อเพลิงที่มีสารประกอบไฮโดรคาร์บอน โดยมีธาตุคาร์บอนกับธาตุไฮโดรเจนจับตัวกันเป็นโมเลกุลเช่นเดียวกับน้ำมัน ธาตุสองชนิดนี้จะรวมตัวกันในสัดส่วนของอะตอมที่แตกต่างกันและให้สารประกอบที่ต่างกันด้วย โดยเริ่มตั้งแต่ก๊าซมีเทน ซึ่งประกอบไปด้วยคาร์บอน 1 อะตอม และโฮโดรเจน 6 อะตอมจะได้สารประกอบชื้อมีเทน เป็นเช่นนี้ไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งระดับคาร์บอนเพิ่มเป็น 8 อะตอม และไฮโดรเจน 18 อะตอม สารประกอบที่ได้จะมีชื่อว่าออกเทน

      ก๊าซหุงต้มหรือก๊าซแอล.พี.จี มีชื่อเป็นทางการว่าก๊าซปิโตรเลียมเหลว เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแยกน้ำมันดิบในโรงกลั่นน้ำมันหรือการแยกก๊าซธรรมชาติ ในโรงแยกก๊าซธรรมชาติ ก๊าซปิโตรเลียมเหลวประกอบด้วยส่วนผสมของไฮโดรคาร์บอน 2 ชนิด คือ โพรเพนและบิวเทน ในอัตราส่วนเท่าใดก็ได้ หรืออาจจะเป็นโพรเพนบริสุทธิ์ 100% หรือบิวเทนบริสุทธิ์ 100% ก็ได้ สำหรับในประเทศไทย ก๊าซหุงต้มส่วนใหญ่ได้จากโรงแยกก๊าซธรรมชาติ โดยใช้อัตราส่วนผสมของโพรเพนและบิวเทนประมาณ 70:30 ซึ่งจะให้ค่าความร้อนที่สูง ทำให้ผู้ใช้ประหยัดเวลาและค่าเชื้อเพลิง ก๊าซปิโตรเลียมเหลวสามารถใช้เป็นเชื้อเพลิงในการหุงต้ม ในครัวเรือน ในโรงงานอุตสาหกรรม และในยานพาหนะได้ เช่นเดียวกับก๊าซธรรมชาติที่สามารถใช้เป็นเชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟ้า ในโรงงานอุตสาหกรรม และในยานพาหนะ

เชื้อเพลิงเคมี

เชื้อเพลิงเคมีคือวัสดุที่ให้พลังงานจากการกระตุ้นจากวัสดุที่อยู่โดยรอบ วิธีหนึ่งเป็นที่รู้จักมากที่สุดคือกระบวนการออกซิเดชัน วัสดุเหล่านี้เป็นเชื้อเพลิงชนิดแรกที่มนุษย์ใช้ และยังคงเป็นเชื้อเพลิงประเภทหลักที่ใช้ในทุกวันนี้

เชื้อเพลิงชีวภาพ

ดูบทความหลักที่: เชื้อเพลิงชีวภาพ

เชื้อเพลิงชีวภาพ (biofuel) สามารถเป็นได้ทั้งของแข็ง ของเหลว หรือแก๊ส ประกอบขึ้นหรือแปรเปลี่ยนมาจากมวลชีวภาพ (biomass) มวลชีวภาพสามารถนำมาใช้ได้โดยตรงผ่านการให้ความร้อนหรือการส่งกำลัง ซึ่งรู้จักกันในชื่อ เชื้อเพลิงมวลชีวภาพ (biomass fuel) เชื้อเพลิงชีวภาพสามารถผลิตขึ้นได้จากแหล่งคาร์บอนที่สามารถเติมเต็มได้อย่างรวดเร็วเช่นพืช พืชหลายชนิดและวัสดุที่ได้จากพืชถูกใช้สำหรับการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพในโรงงาน

เชื้อเพลิงที่มนุษย์ในยุคเริ่มแรกนักสันนิษฐานกันว่าเป็นไม้ โดยมีหลักฐานแสดงให้เห็นถึงการก่อไฟซึ่งใช้กันมาตั้งแต่ 1.5 ล้านปีก่อนพบที่ Swartkrans ประเทศแอฟริกาใต้ แต่ไม่รู้ว่าสปีชีส์ใดที่เป็นผู้ริเริ่มการใช้ไฟ เพราะทั้ง Australopithecus และ Homo ก็ถูกขุดพบในแหล่งดังกล่าว ไม้ก็ยังคงเป็นเชื้อเพลิงอย่างหนึ่งจนกระทั่งปัจจุบัน แม้ว่าแหล่งพลังงานอื่นๆ จะเข้ามาแทนที่ในหลายจุดประสงค์ ไม้มีความหนาแน่นของพลังงานประมาณ 10–20 เมกะจูลต่อกิโลกรัม

เมื่อเร็วๆ นี้ เชื้อเพลิงชีวภาพได้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้กับยานยนต์ เช่นแก๊สโซฮอล์ เป็นต้น แต่ก็มีการโต้เถียงในวงกว้างเกี่ยวกับความเพียงพอของคาร์บอนที่มีอยู่ในเชื้อเพลิงชนิดนี้

เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์

ดูบทความหลักที่: เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์

เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (fossil fuel) คือสารไฮโดรคาร์บอน ซึ่งโดยหลักคือถ่านหินและปิโตรเลียม (ปิโตรเลียมเหลวหรือแก๊สธรรมชาติ) เกิดจากการแปรสภาพของซากพืชและสัตว์ ที่ทับถมกันในชั้นเปลือกโลกเป็นเวลานานหลายร้อยล้านปีภายใต้ความร้อนและความดัน

เชื้อเพลิงนิวเคลียร์

หมายถึง วัสดุเชื้อเพลิงที่ใช้เป็นต้นกำเนิดพลังงานความร้อน ในโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ซึ่งความร้อนที่ได้ เกิดจากปฏิกิริยาแตกตัว แล้วถ่ายเทความร้อนให้แก่น้ำระบายความร้อน เพื่อนำไปผลิตไฟฟ้า ดังได้กล่าวมาแล้ว เชื้อเพลิงนิวเคลียร์แตกต่างจากเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (fossil fuel) ที่ใช้ในโรงไฟฟ้าพลังความร้อนทั่วไป ซึ่งใช้การเผาไหม้ของถ่านหิน ก๊าซ หรือน้ำมัน เป็นต้นกำเนิดพลังงานความร้อน 

ดูบทความหลักที่: เชื้อเพลิงนิวเคลียร์

การรวมตัวของนิวเคลียส

การแตกตัวของนิวเคลียส

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. "Fuels". World Encyclopedia. Oxford University Press. 2005. สืบค้นเมื่อ 2007-09-12.
  2. "Metabolism," Encyclopaedia Britannica, retrieved August 17, 2006.
  3. Rincon, Paul (March 22, 2004). "Bones hint at first use of fire". BBC News. สืบค้นเมื่อ 2007-09-11.
  4. Elert, Glenn (2007). "Chemical Potential Energy". The Physics Hypertextbook. สืบค้นเมื่อ 2007-09-11.
  5. Dr. Irene Novaczek. "Canada's Fossil Fuel Dependency". Elements. สืบค้นเมื่อ 2007-01-18.
  6. . EPA. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2007-03-12. สืบค้นเมื่อ 2007-01-18.

แหล่งข้อมูลอื่น

เช, อเพล, อว, สด, ใดๆ, นำไปเผาไหม, หร, อแปรเปล, ยนเพ, อนำมาซ, งพล, งงาน, จะปลดปล, อยพล, งงานผ, านปฏ, ยาทางเคม, เช, นการเผาไหม, หร, อปฏ, ยาน, วเคล, ยร, เช, นการแตกต, วหร, อการรวมต, วของน, วเคล, ยส, อย, างใดอย, างหน, ณสมบ, สำค, ญของท, ประโยชน, อพล, งงานท, อย, สา. echuxephling khuxwsduid thinaipephaihmhruxaeprepliynephuxnamasungphlngngan 1 echuxephlingcapldplxyphlngnganphanptikiriyathangekhmiechnkarephaihm hruxptikiriyaniwekhliyrechnkaraetktwhruxkarrwmtwkhxngniwekhliys xyangidxyanghnung khunsmbtisakhykhxngechuxephlingthimipraoychnkhuxphlngnganthimixyusamarththukbrrcuaelapldplxyidtamtxngkar aelakarpldplxynnthukkhwbkhuminthangidthanghnungephuxihsamarthichsrangnganthangwiswkrrmidim echuxephlingchnidhnung singmichiwitthimikharbxnepnphunthan carbon based life thukchnid khuxtngaetculchiphipcnthungstwrwmthngmnusy ichechuxephlingepnaehlngphlngngan eslltang catxngekiywkhxngkbkrabwnkarthangekhmithieriykwa emaethbxlisum metabolism sungdungexaphlngnganxxkmacakxaharhruxaesngxathityinrupaebbthisamarthichinkardarngchiwit 2 nxkcaknnmnusyichethkhnikhthihlakhlayephuxaeprepliynphlngnganrupaebbhnungipsuxikrupaebbhnung sungkarsrangphlngngankephuxcudprasngkhthimakipkwaphlngnganinrangkaymnusy karichphlngnganthithukpldplxyxxkcakechuxephlingmitngaet karthakhwamrxnephuxkarprungxahar karphlitiffa hruxaemaetkarephimaesnyanuphaphkhxngxawuth enuxha 1 praephthkhxngechuxephling 1 1 echuxephlingehlw 1 1 1 praephthkhxngechuxephlingehlw 1 2 echuxephlingaekhng 1 2 1 praephthkhxngechuxephlingaekhng 1 3 echuxephlingkas 1 3 1 praephthkhxngechuxephlingkas 2 echuxephlingekhmi 2 1 echuxephlingchiwphaph 2 2 echuxephlingsakdukdabrrph 3 echuxephlingniwekhliyr 3 1 karrwmtwkhxngniwekhliys 3 2 karaetktwkhxngniwekhliys 4 duephim 5 xangxing 6 aehlngkhxmulxunpraephthkhxngechuxephling aekikhechuxephlingehlw aekikh xngkhprakxbsakhykhxngechuxephlingehlwkhux kharbxnaelaihodrecn sungrwmtwknthangekhmixyuinrupkhxngihodrkharbxn withikarrwmtwmihlayaebb sungthaihechuxephlingehlwaetlachnidmikhunsmbtiaelalksnathiaetktangkn dngnnechuxephlingehlwcungthukaebngtamchnidkhxngihodrkharbxnthiepnxngkhprakxb aelatamkakthiehluxhlngcaksarphwkixraehyidthuknaxxkipaelwxngkhprakxbsakhykhxngnamnpiotreliymsamarthaebngid 3 praephthkhux 1 pharafin ebs prakxbdwyihodrkharbxnchnidpharafinnikhepnswnmak sunghlngcakkrabwnkarklnaelwkakehluxepnphwkkhiphungpharafin aelaihnamnhlxlunkhunphaphsung 2 aexsfltikh ebs prakxbdwyihodrkharbxnchnidenphthanikhepnswnmak hlngcakphankarklnaelwcaihkakehluxinrupkhxngyangmatxy 3 ebsphsm prakxbdwyihodrkharbxnhlaychnidrwmkn echn chnidpharafinnikh aexsfltikh aexormatikhaelakakehluxphwkoxliffinnikh thiidcaepnkhxngphsmrahwangkhiphungpharafinaelaaexsflth swnihykhxngnamndibcaepnpraephthebsphsm praephthkhxngechuxephlingehlw aekikh echuxephlingehlwthiidcakkarklnpiotreliym namnebnsin khuxnamnthiidcakkarklnthixunhphumi 200 350 xngsafaerniht namnebnsinepnnamnthiidcakkarprungaetngkhunphaphkhxngphlitphnththiidcakkarklnnamnodytrng aelacakkaraeykkasthrrmchatiehlwhruxebnsinthrrmchati namnebnsincaphsmsarekhmiephimkhunphaphephuxihehmaasmkbkarichngan echn sarekhmithiichinkarephimkhaxxkethn sarekhmisahrbpxngknsnimaelakarkdkrxninthngnamn rwmthngsarekhmithichwythakhwamsaxadkharbueretxrthimiichinekhruxngyntebnsin namnkad khuxnamnthiidcakkarklnthixunhphumi 350 450 xngsafaerniht namnkadepnnamnpiotreliymthimiichinsmyaerkaerk odycaichepnechuxephlinginkarcudtaekiyng aetinpccupnphlitphnthchnidniichpraoychnidxikhlayprakar echn ichepnswnphsmsahrbyakhaaemlng si namnkhdenga aelaepnswnphsmkhxngnayathakhwamsaxad indankarekstrnamnkadmiichnamnthiichechphaarthaethrketxraetyngichepnechuxephlingthiichinkarbmibyasubaelaphuchphlthangkarekstr aelainorngnganxutrsahkrrmbangchnidtxngkarkarephaihmthisaxad echn xutrsahkrrmesramikkichnamnkadechnkn namndiesl khuxnamnthiidcakkarklnthixunhphumi 450 525 xngsafaerniht namndieslmikarraehyta aelaepnphlitphnthpiotreliymthiidcakswnlangkhxnghxklnpiotreliym namndieslcamichwngcudeduxdaelakhwamkhnissungkwanamnebnsin dngaesdngin namneta khuxnamnthiidcakkarklnthixunhphumi 650 750 xngsafaerniht namnetaepnechuxephlingsahrbhmxixna etaepha hruxetahlxminorngnganxutrsahkrrm ekhruxngkaenidiffakhnadihy ekhruxngynteruxedinsmuthr aelaetatmnarxninorngnganxutrsahkrrm dngaesdngin echuxephlingehlwthiidcakphuchphlthangkarekstr namniboxdiesl epnechuxephlingdieslthiphlitcakaehlngthrphyakrhmunewiyn echn namnphuch ikhmnstw hruxsahray iboxdieslepnechuxephlingdieslthangeluxk nxkehnuxcakdieslthiphlitcakpiotreliym odymikhunsmbtikarephaihm ehmuxnkbdieslcakpiotreliymmakaelasamarthichaethnknid khunsmbtisakhykhxngiboxdieslkhux samarthyxyslayidexng tamkrabwnkarchiwphaphinthrrmchatiaelaimepnphis dngaesdngin namncakemldsbuda epnnamnthiidcakemldsbudathiphankrabwnkarskdaelw samarthichkbekhruxngyntdiesl odyimtxngichnamnchnidxunphsmxikkarskdnamnsbuda dngaesdngin karskdnamncakemldsbudathaid 3 withikhux1 karskddwytwthalalay piotreliymxiethxr caidnamn 34 96 cakemldrwmepluxk aela 54 68 cakenuxemld2 karskddwyrabbihdrxrikh caidnamnpraman 25 30 minamntkkhanginkak 10 15 3 karskddwyrabbxdekliyw caidnamnpraman 25 30 minamntkkhanginkak 10 15 echuxephlingaekhng aekikh echuxephlingaekhng thungaemcahaidngayaelamirakhathuk aetimniymichethathikhwr thngniephraaechuxephlingdngklawtxngkarenuxthiinkarephaihmmakthaihekidkhwamcaepnthicatxngichhxngephaihmkhnadihy nxkcakniyngmiethainsdswnthikhxnkhangsungsungkxihekidpyhathangdankhwamsukkrxnkhxngphnnghmxnaaelaekhmainixesiy inkarichechuxephlingaekhng echuxephlingcathukbdepnkxnelkkxnthukpxnekhaipinhxngephaihm ephuxihxtrakarephaihmepnipxyangrwderwaelaphsmknrahwangechuxephlingaelaxxksiecnepnipxyangthwthung praephthkhxngechuxephlingaekhng aekikh thanhin khux hintakxnchnidhnungaelaepnaerechuxephlingsamarthtidifid misinatalxxncnthungsida mithngchnidphiwmnaelaphiwdan nahnkeba thanhinprakxbdwythatuthisakhy 4 xyangidaek kharbxn ihodrecn inotrecn aelaxxksiecn nxkcaknn mithatuhruxsarxun echn kamathn ecuxpnelknxy thanhinthimicanwnkharbxnsungaelamithatuxunta emuxnamaephacaihkhwamrxnmak thuxwaepnthanhinkhunphaphdithanhinsamarthaeykpraephthtamladbchnidepn 5 praephth khux phit Peat epnkhnaerkinkrabwnkarekidthanhin prakxbdwysakphuchsungbangswnidslaytwipaelwsamarthichepnechuxephlingid likint Lignite misakphuchhlngehluxxyuelknxy mikhwamchunmak epnthanhinthiichepnechuxephlinginnganxutsahkrrrm praethsithyphbmakthilapang laphun krabi epntn sbbithumins Sub Bituminous misida epnechuxephlingthimikhunphaphehmaasminkarphlitkraaesiffa bithumins Bituminous epnthanhinenuxaenn aekhng prakxbdwychnthanhinsidamnwaw ichepnechuxephlingephuxkarthlungolha aexnthraist Anthracite epnthanhinthimilksnadaepnenga mnwawmak mirxyaetkewaaebbknhxy tidifyak rupthi 5 aexnthraist thanokhk epnechuxephlingthiphlitcakkarephathanhinbithuminsinthithimixakasnxymak ephuxldprimanethaaelaephimsdswnkhxngkharbxn thanim epnechuxephlingthiphlitcakimodykhbwnkarihkhwamrxnephiyngelknxyephuxihmnklaysphaphepnkharbxn thanimcathukichaethnthanhininpraethsthimiimmakaetimmithanhin thanimcathuknamaepnechuxephlinginkarthaxaharhruxthaepnechuxephlingxun swnprakxbkhxngaerthatuaelasartang caraehyxxkmaxyuinrupkhxngixrxn aela khwn epntn hinnamn khux hintakxnchnidhnungthiprakxbdwyxinthriywtthuinrupkhxngsarthieriykwa khiorecn aela khiorecnniexng emuxthukthaihrxndwywithiidwithihnung praman 500 xngsaeslesiys caihnamnaelakasihodrkharbxnxxkma sahrbkarekidkhxnghinnamnnnekidcakphwkphuchaelastwthitayaelw sungidsasmrwmknkbesshindinthraytang xyuinthithiekhyepnaehlngnakhnadihythwipmakxn emuxewlaidphanipnannblanpiphwkxinthriywtthuxnidaek sakphuchaelastwtang dngklawnn kcaaeprsphaphepnsarkhlayyangehniyw hruxthieriykwa khiorecn swnesshindinthraytang sungmisarkhiorecnxyudwyni kaeprsphaphepnhintakxnxxksiekhm eriykwa hinnamn echuxephlingkas aekikh kasthinamaichepnechuxephlingaelawtthudibsahrbphlitphnthtang swnihyidmacakthrrmchati nxkcakniksamarthidcakkrabwnkarphlitodytrng echn phwkkassngekhraah hruxxikthanghnungxaccaepnphlphlxyidmacakkrabwnkarphlitsingxunaelaidkasxxkmaodyimidtngic echn kasthiidcakkarthlungehlk epntn praephthkhxngechuxephlingkas aekikh kaschiwmwl epnkasechuxephlingthiidcakkrabwnkarphlitodykarichthanhinepnwtthudibodykarephathanhinhruximinetaptikrnaebbaephkebn thimixakascakd sungprimanxakasthiichcatxngmixtaswnthiphxehmaa kaschiwamwlcaprakxbipdwy ofrdiwesxrkas wxetxrkas kharbuerttwxetxrkas epntn kasthrrmchatihruxkasexn ci wi epnechuxephlingthimisarprakxbihodrkharbxn odymithatukharbxnkbthatuihodrecncbtwknepnomelkulechnediywkbnamn thatusxngchnidnicarwmtwkninsdswnkhxngxatxmthiaetktangknaelaihsarprakxbthitangkndwy odyerimtngaetkasmiethn sungprakxbipdwykharbxn 1 xatxm aelaohodrecn 6 xatxmcaidsarprakxbchuxmiethn epnechnniiperuxy cnkrathngradbkharbxnephimepn 8 xatxm aelaihodrecn 18 xatxm sarprakxbthiidcamichuxwaxxkethn kashungtmhruxkasaexl phi ci michuxepnthangkarwakaspiotreliymehlw epnphlitphnththiidcakkaraeyknamndibinorngklnnamnhruxkaraeykkasthrrmchati inorngaeykkasthrrmchati kaspiotreliymehlwprakxbdwyswnphsmkhxngihodrkharbxn 2 chnid khux ophrephnaelabiwethn inxtraswnethaidkid hruxxaccaepnophrephnbrisuththi 100 hruxbiwethnbrisuththi 100 kid sahrbinpraethsithy kashungtmswnihyidcakorngaeykkasthrrmchati odyichxtraswnphsmkhxngophrephnaelabiwethnpraman 70 30 sungcaihkhakhwamrxnthisung thaihphuichprahydewlaaelakhaechuxephling kaspiotreliymehlwsamarthichepnechuxephlinginkarhungtm inkhrweruxn inorngnganxutsahkrrm aelainyanphahnaid echnediywkbkasthrrmchatithisamarthichepnechuxephlinginkarphlitkraaesiffa inorngnganxutsahkrrm aelainyanphahnaechuxephlingekhmi aekikhechuxephlingekhmikhuxwsduthiihphlngngancakkarkratuncakwsduthixyuodyrxb withihnungepnthiruckmakthisudkhuxkrabwnkarxxksiedchn wsduehlaniepnechuxephlingchnidaerkthimnusyich aelayngkhngepnechuxephlingpraephthhlkthiichinthukwnni echuxephlingchiwphaph aekikh dubthkhwamhlkthi echuxephlingchiwphaph echuxephlingchiwphaph biofuel samarthepnidthngkhxngaekhng khxngehlw hruxaeks prakxbkhunhruxaeprepliynmacakmwlchiwphaph biomass mwlchiwphaphsamarthnamaichidodytrngphankarihkhwamrxnhruxkarsngkalng sungruckkninchux echuxephlingmwlchiwphaph biomass fuel echuxephlingchiwphaphsamarthphlitkhunidcakaehlngkharbxnthisamarthetimetmidxyangrwderwechnphuch phuchhlaychnidaelawsduthiidcakphuchthukichsahrbkarphlitechuxephlingchiwphaphinorngnganechuxephlingthimnusyinyukherimaerknksnnisthanknwaepnim odymihlkthanaesdngihehnthungkarkxifsungichknmatngaet 1 5 lanpikxnphbthi Swartkrans praethsaexfrikait aetimruwaspichisidthiepnphurierimkarichif ephraathng Australopithecus aela Homo kthukkhudphbinaehlngdngklaw 3 imkyngkhngepnechuxephlingxyanghnungcnkrathngpccubn aemwaaehlngphlngnganxun caekhamaaethnthiinhlaycudprasngkh immikhwamhnaaennkhxngphlngnganpraman 10 20 emkacultxkiolkrm 4 emuxerw ni echuxephlingchiwphaphidthukphthnakhunephuxichkbyanynt echnaeksoshxl epntn aetkmikarotethiynginwngkwangekiywkbkhwamephiyngphxkhxngkharbxnthimixyuinechuxephlingchnidni echuxephlingsakdukdabrrph aekikh dubthkhwamhlkthi echuxephlingsakdukdabrrph echuxephlingsakdukdabrrph fossil fuel khuxsarihodrkharbxn sungodyhlkkhuxthanhinaelapiotreliym piotreliymehlwhruxaeksthrrmchati ekidcakkaraeprsphaphkhxngsakphuchaelastw 5 thithbthmkninchnepluxkolkepnewlananhlayrxylanpiphayitkhwamrxnaelakhwamdn 6 swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidechuxephlingniwekhliyr aekikhhmaythung wsduechuxephlingthiichepntnkaenidphlngngankhwamrxn inorngiffaniwekhliyr sungkhwamrxnthiid ekidcakptikiriyaaetktw aelwthayethkhwamrxnihaeknarabaykhwamrxn ephuxnaipphlitiffa dngidklawmaaelw echuxephlingniwekhliyraetktangcakechuxephlingsakdukdabrrph fossil fuel thiichinorngiffaphlngkhwamrxnthwip sungichkarephaihmkhxngthanhin kas hruxnamn epntnkaenidphlngngankhwamrxn dubthkhwamhlkthi echuxephlingniwekhliyr karrwmtwkhxngniwekhliys aekikh swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidkaraetktwkhxngniwekhliys aekikh swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidduephim aekikhechuxephlingchiwphaphxangxing aekikh Fuels World Encyclopedia Oxford University Press 2005 subkhnemux 2007 09 12 Metabolism Encyclopaedia Britannica retrieved August 17 2006 Rincon Paul March 22 2004 Bones hint at first use of fire BBC News subkhnemux 2007 09 11 Elert Glenn 2007 Chemical Potential Energy The Physics Hypertextbook subkhnemux 2007 09 11 Dr Irene Novaczek Canada s Fossil Fuel Dependency Elements subkhnemux 2007 01 18 Fossil fuel EPA khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2007 03 12 subkhnemux 2007 01 18 aehlngkhxmulxun aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb echuxephlingDIRECTIVE 1999 94 EC OF THE EUROPEAN PARLIAMENT AND OF THE COUNCIL of 13 December 1999 relating to the availability of consumer information on fuel economy and CO2 emissions in respect of the marketing of new passenger cars PDF 140 KiB Council Directive 80 1268 EEC Fuel consumption of motor vehicles http mte kmutt ac th elearning themodanamic web3 CHAP3 three11 33 1 htm http mte kmutt ac th elearning Combution and Cogeneration ekhathungcak https th wikipedia org w index php title echuxephling amp oldid 9548889, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม