fbpx
วิกิพีเดีย

เซต (คณิตศาสตร์)

สำหรับความหมายอื่น ดูที่ เซต (แก้ความกำกวม)

เซต (อังกฤษ: set) ในทางคณิตศาสตร์นั้น อาจมองได้ว่าเป็นการรวบรวมกลุ่มวัตถุต่างๆ ไว้รวมกันทั้งชุด แม้ว่าความคิดนี้จะดูง่ายๆ แต่เซตเป็นแนวคิดที่เป็นรากฐานสำคัญที่สุดอย่างหนึ่งของคณิตศาสตร์สมัยใหม่ การศึกษาโครงสร้างเซตที่เป็นไปได้ ทฤษฎีเซตมีความสำคัญและได้รับความสนใจอย่างมากและกำลังดำเนินไปอย่างต่อเนื่อง มันถูกสร้างขึ้นมาตอนปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ตอนนี้ทฤษฎีเซตเป็นส่วนที่ขาดไม่ได้ในการศึกษาคณิตศาสตร์ และถูกจัดไว้ในระบบการศึกษาตั้งแต่ระดับประถมศึกษาในหลายประเทศ ทฤษฎีเซตเป็นรากฐานของคณิตศาสตร์เกือบทุกแขนงซึ่งสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้

อินเตอร์เซกชันของเซตสองเซต คือเซตที่ประกอบด้วยสมาชิกที่อยู่ในเซตทั้งสองเซต ดังแสดงในแผนภาพเวนน์

นิยาม

ตอนเริ่มแรกของ Beiträge zur Begründung der transfiniten Mengenlehre โดย เกออร์ก คันทอร์ (Georg Cantor) ผู้สร้างทฤษฎีเซตคนสำคัญ ให้นิยามของเซตเซตหนึ่งดังต่อไปนี้:

โดย "เซต" เซตหนึ่ง เราหมายถึงการสะสมรวบรวมใดๆ ที่ให้ชื่อว่า M เข้าเป็นหน่วยเดียวกันทั้งหมด ของวัตถุที่ให้ชื่อว่า m ที่แตกต่างกัน (ซึ่งเรียกว่า "สมาชิก" ของ M) ตามความเข้าใจของเรา หรือตามความคิดของเรา

ดังนั้นสมาชิกของเซตเซตหนึ่งจึงสามารถเป็นอะไรก็ได้ เช่น ตัวเลข ผู้คน ตัวอักษร หรือเป็นเซตของเซตอื่น เป็นต้น เซตนิยมเขียนแทนด้วยอักษรตัวใหญ่ เช่น A, B, C ฯลฯ ตามธรรมเนียมปฏิบัติ ในประโยคที่ว่า เซต A และ B เท่ากัน หมายความว่า ทั้งเซต A และเซต B มีสมาชิกทั้งหมดเหมือนกัน (ตัวอย่างเช่น สมาชิกทุกตัวที่อยู่ในเซต A ก็ต้องเป็นสมาชิกของเซต B ด้วย เขียนแทนด้วย A = B และในทางกลับกันก็เป็นเช่นเดียวกัน เขียนแทนด้วย B = A)

สมาชิกทุกตัวของเซตเซตหนึ่งต้องไม่ซ้ำกัน และจะไม่มีสมาชิกสองตัวใดในเซตเดียวกันที่เหมือนกันทุกประการ ซึ่งไม่เหมือนกับมัลทิเซต (multiset) ที่อาจมีสมาชิกซ้ำกันก็ได้ การดำเนินการของเซตทั้งหมดยังรักษาคุณสมบัติที่ว่าสมาชิกแต่ละตัวของเซตต้องไม่ซ้ำกัน ส่วนการเรียงลำดับของสมาชิกของเซตนั้นไม่มีความสำคัญ ซึ่งต่างจากลำดับอนุกรมหรือคู่อันดับ

ถึงอย่างไรก็ตามเซตถือว่าเป็น อนิยาม ไม่มีนิยามที่ชัดเจนและครอบคลุม

การเขียนอธิบายเซต

มีสองวิธีในการเขียนอธิบาย หรือระบุถึงสมาชิกของเซตเซตหนึ่ง วิธีที่หนึ่งคือโดยการกำหนดนิยามอย่างตั้งใจด้วยการใช้กฎหรือการอธิบายด้วย ภาษาทางคณิตศาสตร์ ดูตัวอย่างนี้:

A เป็นเซตซึ่งสมาชิกของมันเป็น เลขจำนวนเต็มบวกสี่ตัวแรก
B เป็นเซตของสีของ ธงชาติฝรั่งเศส

วิธีที่สองคือโดย การแจกแจงนั่นคือ การแจกแจกสมาชิกแต่ละตัวของเซต การนิยามเซตด้วยการแจกแจงสมาชิกถูกเขียนแทนด้วยการแจกแจงสมาชิกของเซตภายใน วงเล็บปีกกา:

C = {4, 2, 1, 3}
D = {น้ำเงิน, ขาว, แดง}

ลำดับที่สมาชิกของเซตถูกเรียงในการนิยามแบบแจกแจกสมาชิกไม่มีความสำคัญ เช่นเดียวกันกับจำนวนสมาชิกที่ซ้ำกันในรายการแจกแจง ตัวอย่างเช่น

{6, 11} = {11, 6} = {11, 11, 6, 11}

เป็นเซตที่เหมือนกันทุกประการ เพราะว่าการแจกแจงสมาชิกเซตมีความหมายเพียงว่าองค์ประกอบแต่ละตัวในรายการแจกแจงเป็นสมาชิกตัวหนึ่งของเซตนั้นแค่นั้นเอง

สำหรับเซตที่มีสมาชิกจำนวนมาก การระบุของสมาชิกสามารถเขียนอย่างย่อได้ ตัวอย่างเช่น เซตของเลขจำนวนเต็มบวกหนึ่งพันตัวแรกสามารถเขียนแบบแจกแจงได้เป็น:

{1, 2, 3, ..., 1000},

ที่ซึ่ง การเว้นถ้อยคำไว้ให้เข้าใจเอาเอง (อิลิปซิส, "...") ระบุว่ารายการแจกแจงดำเนินต่อไปในทางที่เห็นได้ชัด อิลิปซิสอาจถูกใช้ในที่ซึ่งเซตมีสมาชิกไม่จำกัด ดังเช่น เซตของ เลขจำนวนเต็มคู่บวก เขียนแทนได้ว่า {2, 4, 6, 8, ... }

เราอาจใช้เครื่องหมายปีกการะบุเซตด้วยการนิยามได้ ในการใช้นี้ ปีกกามีความหมายว่า "เซตของ ...ทั้งหมด" ดังนั้น E = {playing-card suits} คือเซตซึ่งสมาชิกสี่ตัวของมันคือ ♠, ♦, ♥, และ ♣ รูปแบบทั่วไปของมันคือ การใช้เครื่องหมายตัวสร้างเซต ตัวอย่างเช่น เซตF ของเลขจำนวนเต็มที่น้อยที่สุดยึ่สิบตัวซึ่งยกกำลังสองแล้วหักออกด้วยสี่สามารถเขียนได้เป็น:

F = {  - 4 : n เป็นเลขจำนวนเต็ม; และ 0 ≤ n ≤ 19}

ในการนิยามนี้ เครื่องหมาย โคลอน (":") หมายถึง "โดยที่" และ การเขียนให้รายละเอียดสามารตีความได้ว่า "เซตF เป็นเซตของเลขทั้งหมดของนิพจน์   - 4, โดยที่ n เป็นเลขจำนวนเต็มตั้งแต่ 0 ถึง 19" บางครั้ง เส้นตรงแนวดิ่ง ("|") ถูกใช้แทนโคลอน (":")

บ่อยครั้งที่พวกเราต้องเลือกระบุเซตแบบนิยามหรือแบบแจกแจง ในตัวอย่างข้างต้น จะเห็นว่า A = C และ B = D

คำศัพท์และสัญลักษณ์ของเซต

  1. เราอาจจะคิดว่าเซต คือ กลุ่มของสิ่งต่างๆซึ่งมีกฎเกณฑ์ชัดเจนว่าสิ่งใดอยู่ในเซตและสิ่งใดไม่ได้อยู่ในเซต สิ่งที่อยู่ในเซตเรียกว่าสมาชิกของเซต โดยทั่วไปจะแทนเซตด้วยตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่ เช่น A,B,C และแทนสมาชิกของเซตซึ่งยังไม่เจาะจงว่าคือตัวอะไรด้วยอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์เล็ก เช่น a,b,c
  2. วิธีเขียนเซต มีอยู่ 3 แบบ
    • แบบข้อความ อธิบายเซตด้วยถ้อยคำ
    • แบบแจกแจงสมาชิก เขียนสมาชิกทั้งหมดภายใต้ปีกกา {} และใช้จุลภาคคั่นระหว่างคู่
    • แบบบอกเงื่อนไขของสมาชิก เขียนเซตในรูปแบบ {x | เงื่อนไขของ x}
  3. สมาชิกของเซตเป็นจำนวนหรือสิ่งใดก็ได้ เป็นเซตก็ได้
  4. เซตที่เท่ากัน เซตจะแตกต่างกันหรือไม่ขึ้นอยู่กับว่าสมาชิกต่างกันหรือไม่ โดยเซตสองเซตจะเท่ากันเมื่อมีสมาชิกเหมือนกัน
  5. เซตจำกัดและเซตอนันต์ เซตจำกัดคือเซตที่เราสามารถระบุได้ว่ามีสมาชิกกี่ตัว เซตอนันต์คือเซตที่ไม่ใช่เซตจำกัด
  6. เซตว่างคือเซตที่ไม่มีสมาชิกเลย
  7. เอกภพสัมพัทธ์ คือเซตที่ใช้กำหนดขอบเขตของสิ่งที่กำลังพิจารณา แทนด้วย U
  8. เซตของจำนวนบางชนิด เช่น   = เซตของจำนวนนับ,   = เซตของจำนวนเต็ม,   = เซตของจำนวนตรรกยะ,   = เซตของจำนวนจริง,   = เซตของจำนวนเชิงซ้อน
  9. สับเซต A เป็นสับเซตของ B หมายความว่าสมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B
  10. เพาเวอร์เซต ของ A คือเซตที่ประกอบด้วยสับเซตทั้งหมดของ A เขียนแทนโดย P(A)

การดำเนินการของเซต

  1. ยูเนียน ของ A และ B คือเซตที่เกิดจากการรวบรวมสมาชิกของ A และ B เข้าไว้ด้วยกัน
  2. อินเตอร์เซกชัน ของ A และ B คือเซตที่ประกอบด้วยสมาชิกที่เหมือนกันของ A และ B
  3. ผลต่าง A – B คือเซตที่ประกอบด้วยสมาชิกของ A ที่ไม่ใช่สมาชิกของ B
  4. คอมพลีเมนต์ ของ A เขียนแทนด้วย A' คือสับเซตของ U ที่ประกอบด้วยสมาชิกที่ไม่อยู่ ใน A

การนับจำนวนสมาชิกของเซต

  1. ถ้า A เป็นเซตจำกัด เราใช้สัญลักษณ์ n(A) หรือ |A| แทนจำนวนสมาชิกของ A
  2. การนับจำนวนสมาชิกของ U ที่ไม่อยู่ใน A อาจใช้สูตร n(A’) = n(U)-n(A)

สมบัติของเซตที่ควรทราบ

ให้ A, B, C เป็นเซตย่อยของเอกภพสัมพัทธ์ U สมบัติต่อไปนี้จะเป็นจริง

  1. กฎการสลับที่
    •  
    •  
  2. กฎการเปลี่ยนกลุ่ม
    •  
    •  
  3. กฎการแจกแจง
    •  
    •  
  4. กฎการเอกลักษณ์
    •  
    •  

อ้างอิง

  1. Quoted in Dauben, p. 170.

เซต, คณ, ตศาสตร, สำหร, บความหมายอ, เซต, แก, ความกำกวม, เซต, งกฤษ, ในทางคณ, ตศาสตร, อาจมองได, าเป, นการรวบรวมกล, มว, ตถ, างๆ, ไว, รวมก, นท, งช, แม, าความค, ดน, จะด, ายๆ, แต, เซตเป, นแนวค, ดท, เป, นรากฐานสำค, ญท, ดอย, างหน, งของคณ, ตศาสตร, สม, ยใหม, การศ, กษาโคร. sahrbkhwamhmayxun duthi est aekkhwamkakwm est xngkvs set inthangkhnitsastrnn xacmxngidwaepnkarrwbrwmklumwtthutang iwrwmknthngchud aemwakhwamkhidnicadungay aetestepnaenwkhidthiepnrakthansakhythisudxyanghnungkhxngkhnitsastrsmyihm karsuksaokhrngsrangestthiepnipid thvsdiestmikhwamsakhyaelaidrbkhwamsnicxyangmakaelakalngdaeninipxyangtxenuxng mnthuksrangkhunmatxnplaykhriststwrrsthi 19 txnnithvsdiestepnswnthikhadimidinkarsuksakhnitsastr aelathukcdiwinrabbkarsuksatngaetradbprathmsuksainhlaypraeths thvsdiestepnrakthankhxngkhnitsastrekuxbthukaekhnngsungsamarthnaipprayuktichidxinetxreskchnkhxngestsxngest khuxestthiprakxbdwysmachikthixyuinestthngsxngest dngaesdnginaephnphaphewnn enuxha 1 niyam 2 karekhiynxthibayest 3 khasphthaelasylksnkhxngest 4 kardaeninkarkhxngest 5 karnbcanwnsmachikkhxngest 6 smbtikhxngestthikhwrthrab 7 xangxingniyam aekikhtxnerimaerkkhxng Beitrage zur Begrundung der transfiniten Mengenlehre ody ekxxrk khnthxr Georg Cantor phusrangthvsdiestkhnsakhy ihniyamkhxngestesthnungdngtxipni 1 ody est esthnung erahmaythungkarsasmrwbrwmid thiihchuxwa M ekhaepnhnwyediywknthnghmd khxngwtthuthiihchuxwa m thiaetktangkn sungeriykwa smachik khxng M tamkhwamekhaickhxngera hruxtamkhwamkhidkhxngera dngnnsmachikkhxngestesthnungcungsamarthepnxairkid echn twelkh phukhn twxksr hruxepnestkhxngestxun epntn estniymekhiynaethndwyxksrtwihy echn A B C l tamthrrmeniymptibti inpraoykhthiwa est A aela B ethakn hmaykhwamwa thngest A aelaest B mismachikthnghmdehmuxnkn twxyangechn smachikthuktwthixyuinest A ktxngepnsmachikkhxngest B dwy ekhiynaethndwy A B aelainthangklbknkepnechnediywkn ekhiynaethndwy B A smachikthuktwkhxngestesthnungtxngimsakn aelacaimmismachiksxngtwidinestediywknthiehmuxnknthukprakar sungimehmuxnkbmlthiest multiset thixacmismachiksaknkid kardaeninkarkhxngestthnghmdyngrksakhunsmbtithiwasmachikaetlatwkhxngesttxngimsakn swnkareriyngladbkhxngsmachikkhxngestnnimmikhwamsakhy sungtangcakladbxnukrmhruxkhuxndbthungxyangirktamestthuxwaepn xniyam imminiyamthichdecnaelakhrxbkhlumkarekhiynxthibayest aekikhbthkhwamnixactxngkartrwcsxbtnchbb indaniwyakrn rupaebbkarekhiyn kareriyberiyng khunphaph hruxkarsakd khunsamarthchwyphthnabthkhwamidmisxngwithiinkarekhiynxthibay hruxrabuthungsmachikkhxngestesthnung withithihnungkhuxodykarkahndniyamxyangtngicdwykarichkdhruxkarxthibaydwy phasathangkhnitsastr dutwxyangni A epnestsungsmachikkhxngmnepn elkhcanwnetmbwksitwaerk B epnestkhxngsikhxng thngchatifrngesswithithisxngkhuxody karaeckaecngnnkhux karaeckaecksmachikaetlatwkhxngest karniyamestdwykaraeckaecngsmachikthukekhiynaethndwykaraeckaecngsmachikkhxngestphayin wngelbpikka C 4 2 1 3 D naengin khaw aedng ladbthismachikkhxngestthukeriynginkarniyamaebbaeckaecksmachikimmikhwamsakhy echnediywknkbcanwnsmachikthisakninraykaraeckaecng twxyangechn 6 11 11 6 11 11 6 11 epnestthiehmuxnknthukprakar ephraawakaraeckaecngsmachikestmikhwamhmayephiyngwaxngkhprakxbaetlatwinraykaraeckaecngepnsmachiktwhnungkhxngestnnaekhnnexngsahrbestthimismachikcanwnmak karrabukhxngsmachiksamarthekhiynxyangyxid twxyangechn estkhxngelkhcanwnetmbwkhnungphntwaerksamarthekhiynaebbaeckaecngidepn 1 2 3 1000 thisung karewnthxykhaiwihekhaicexaexng xilipsis rabuwaraykaraeckaecngdaenintxipinthangthiehnidchd xilipsisxacthukichinthisungestmismachikimcakd dngechn estkhxng elkhcanwnetmkhubwk ekhiynaethnidwa 2 4 6 8 eraxacichekhruxnghmaypikkarabuestdwykarniyamid inkarichni pikkamikhwamhmaywa estkhxng thnghmd dngnn E playing card suits khuxestsungsmachiksitwkhxngmnkhux aela rupaebbthwipkhxngmnkhux karichekhruxnghmaytwsrangest twxyangechn estF khxngelkhcanwnetmthinxythisudyusibtwsungykkalngsxngaelwhkxxkdwysisamarthekhiynidepn F n 2 displaystyle n 2 4 n epnelkhcanwnetm aela 0 n 19 inkarniyamni ekhruxnghmay okhlxn hmaythung odythi aela karekhiynihraylaexiydsamartikhwamidwa estF epnestkhxngelkhthnghmdkhxngniphcn n 2 displaystyle n 2 4 odythi n epnelkhcanwnetmtngaet 0 thung 19 bangkhrng esntrngaenwding thukichaethnokhlxn bxykhrngthiphwkeratxngeluxkrabuestaebbniyamhruxaebbaeckaecng intwxyangkhangtn caehnwa A C aela B Dkhasphthaelasylksnkhxngest aekikheraxaccakhidwaest khux klumkhxngsingtangsungmikdeknthchdecnwasingidxyuinestaelasingidimidxyuinest singthixyuinesteriykwasmachikkhxngest odythwipcaaethnestdwytwxksrphasaxngkvstwphimphihy echn A B C aelaaethnsmachikkhxngestsungyngimecaacngwakhuxtwxairdwyxksrphasaxngkvstwphimphelk echn a b c withiekhiynest mixyu 3 aebb aebbkhxkhwam xthibayestdwythxykha aebbaeckaecngsmachik ekhiynsmachikthnghmdphayitpikka aelaichculphakhkhnrahwangkhu aebbbxkenguxnikhkhxngsmachik ekhiynestinrupaebb x enguxnikhkhxng x smachikkhxngestepncanwnhruxsingidkid epnestkid estthiethakn estcaaetktangknhruximkhunxyukbwasmachiktangknhruxim odyestsxngestcaethaknemuxmismachikehmuxnkn estcakdaelaestxnnt estcakdkhuxestthierasamarthrabuidwamismachikkitw estxnntkhuxestthiimichestcakd estwangkhuxestthiimmismachikely exkphphsmphthth khuxestthiichkahndkhxbekhtkhxngsingthikalngphicarna aethndwy U estkhxngcanwnbangchnid echn N displaystyle mathbb N estkhxngcanwnnb Z displaystyle mathbb Z estkhxngcanwnetm Q displaystyle mathbb Q estkhxngcanwntrrkya R displaystyle mathbb R estkhxngcanwncring C displaystyle mathbb C estkhxngcanwnechingsxn sbest A epnsbestkhxng B hmaykhwamwasmachikthuktwkhxng A epnsmachikkhxng B ephaewxrest khxng A khuxestthiprakxbdwysbestthnghmdkhxng A ekhiynaethnody P A kardaeninkarkhxngest aekikhyueniyn khxng A aela B khuxestthiekidcakkarrwbrwmsmachikkhxng A aela B ekhaiwdwykn xinetxreskchn khxng A aela B khuxestthiprakxbdwysmachikthiehmuxnknkhxng A aela B phltang A B khuxestthiprakxbdwysmachikkhxng A thiimichsmachikkhxng B khxmphliemnt khxng A ekhiynaethndwy A khuxsbestkhxng U thiprakxbdwysmachikthiimxyu in Akarnbcanwnsmachikkhxngest aekikhtha A epnestcakd eraichsylksn n A hrux A aethncanwnsmachikkhxng A karnbcanwnsmachikkhxng U thiimxyuin A xacichsutr n A n U n A smbtikhxngestthikhwrthrab aekikhih A B C epnestyxykhxngexkphphsmphthth U smbtitxipnicaepncring kdkarslbthi A B B A displaystyle A cup B B cup A A B B A displaystyle A cap B B cap A kdkarepliynklum A B C A B C displaystyle A cup B cup C A cup B cup C A B C A B C displaystyle A cap B cap C A cap B cap C kdkaraeckaecng A B C A B A C displaystyle A cup B cap C A cup B cap A cup C A B C A B A C displaystyle A cap B cup C A cap B cup A cap C kdkarexklksn A A displaystyle emptyset cup A A A displaystyle emptyset cap A emptyset xangxing aekikh Quoted in Dauben p 170 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title est khnitsastr amp oldid 9252731, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม