fbpx
วิกิพีเดีย

เซลล์ไฟฟ้าเคมี

เซลล์ไฟฟ้าเคมี (อังกฤษ: electrochemical cell) เป็นอุปกรณ์ที่สามารถผลิตพลังงานไฟฟ้าจากปฏิกิริยาเคมีหรือช่วยอำนวยความสะดวกในการทำให้เกิดปฏิกิริยาเคมีผ่านการการใช้พลังงานไฟฟ้า ตัวอย่างหนึ่งที่ใช้ร่วมกันของเซลล์ไฟฟ้าเคมีเป็นเซลล์มาตรฐาน 1.5 โวลต์ที่ผลิตขึ้นมาสำหรับการใช้งานของผู้บริโภค อุปกรณ์ชนิดนี้รู้จักกันว่าเป็นเซลล์กัลวานีเดี่ยว แบตเตอรี่จะประกอบด้วยเซลล์สองตัวหรือมากกว่าเชื่อมต่อกันแบบอนุกรมหรือแบบขนาน

การสาธิตการติดตั้งเซลล์ไฟฟ้าเคมีที่คล้ายกับเซลล์แดนีลล์ สองครึ่งเซลล์มีการเชื่อมโยงกันด้วยสะพานเกลือที่ใช้เพื่อนำส่งไอออนระหว่างสองครึ่งเซลล์ อิเล็กตรอนจะไหลในวงจรภายนอก

ประวัติเซลล์ไฟฟ้า

 
เซลล์บันเซน คิดค้นโดยโรเบิร์ต บันเซน

เซลล์ไฟฟ้าเคมีประกอบด้วยสองครึ่งเซลล์ แต่ละครึ่งเซลล์ประกอบด้วยขั้วไฟฟ้าและอิเล็กโทรไลต์อย่างละหนึ่งตัว สองครึ่งเซลล์อาจใช้อิเล็กโทรไลต์เดียวกันหรือต่างกัน ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์อาจเกี่ยวข้องกับทั้งอิเล็กโทรไลต์และขั้วไฟฟ้าและ/หรือกับสารภายนอก (เช่นในเซลล์เชื้อเพลิงที่อาจใช้แก๊สไฮโดรเจนเป็นตัวทำปฏิกิริยา) ในเซลล์ไฟฟ้าเคมีเต็มรูปแบบ สารละลายในหนึ่งครึ่งเซลล์จะสูญเสียอิเล็กตรอน (ออกซิเดชัน) ให้กับขั้วไฟฟ้าของมันในขณะที่สารละลายในอีกหนึ่งครึ่งเซลล์ได้อิเล็กตรอนเพิ่ม (รีดักชัน) จากขั้วไฟฟ้าของมัน

สะพานเกลือ (เช่นกระดาษกรองแช่อยู่ใน KNO3 หรืออิเล็กโทรไลต์อื่นบางอย่าง) มักถูกใช้เพื่อทำเป็นจัดติดต่อของไอออนระหว่างสองครึ่งเซลล์ที่มีอิเล็กโทรไลต์แตกต่างกัน อีกทั้งยังช่วยป้องกันสารละลายทั้งสองฝั่งไม่ให้ผสมกันและก่อให้เกิดปฏิกิริยาข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ ทางเลือกนอกจากสะพานเกลือจะเป็นการยอมให้มีการติดต่อถึงกันโดยตรง (และผสมกัน) ระหว่างสองครึ่งเซลล์ เช่นในอิเล็กโทรไลต์ง่าย ๆ เป็นน้ำ

เมื่ออิเล็กตรอนไหลจากไปยังอีกครึ่งเซลล์หนึ่งผ่านวงจรภายนอก ความแตกต่างของประจุจะเกิดขึ้นทั้งสองฝั่ง หากไม่มีจุดติดต่อให้กับไอออน ความแตกต่างของประจุนี้จะป้องกันอย่างรวดเร็วไม่ให้อิเล็กตรอนไหลได้ต่อไป สะพานเกลือจะช่วยให้มีการไหลของประจุลบและประจุบวกเพื่อรักษาการกระจายในสถานะที่มั่นคงของประจุระหว่างอ่างออกซิเดชันและอ่างรีดักชัน ในขณะที่ยังคงแยกสารละลายออกจากกัน อุปกรณ์อื่น ๆ เพื่อทำการแยกสารละลายออกจากกันได้แก่หม้อที่มีรูพรุนและสารละลายที่เป็นเจล หม้อที่มีรูพรุนถุกใช้ในเซลล์บันเซน (ขวา)

ปฏิกิริยาสมดุล

แต่ละครึ่งเซลล์มีแรงดันไฟฟ้าลักษณะเฉพาะ (อังกฤษ: characteristic voltage) สสารที่เป็นทางเลือกสำหรับแต่ละครึ่งเซลล์มีหลากหลาย พวกมันจะให้ความต่างศักย์ที่แตกต่างกัน แต่ละปฏิกิริยาจะดำเนินการเพื่อการสมดุลทางเคมีระหว่างสถานะออกซิเดชันที่แตกต่างกันของไอออน: เมื่อเกิดความสมดุล เซลล์จะไม่สามารถให้แรงดันไฟฟ้าสูงสุดอีกต่อไป ในครึ่งเซลล์ที่กำลังเกิดออกซิเดชัน ยิ่งความสมดุลเข้าใกล้กับไอออน/อะตอมที่มีสถานะออกซิเดชันในเชิงบวกมากเท่าไร ศักย์ไฟฟ้าที่ปฏิกิริยานี้จะสร้างให้ก็ยิ่งมากขึ้นเท่านั้น ในทำนองเดียวกันในปฏิกิริยารีดักชัน ยิ่งความสมดุลเข้าใกล้กับไอออน/อะตอมที่มีสถานะออกซิเดชันในเชิงลบมากเท่าไร ศักย์ไฟฟ้าที่ปฏิกิริยานี้จะสร้างให้ก็ยิ่งมากขึ้นเท่านั้น

ศักย์ของเซลล์

ศักย์ของเซลล์สามารถทำนายได้โดยการใช้ศักย์ของขั้วไฟฟ้า (แรงดันไฟฟ้าของแต่ละครึ่งเซลล์) ศักย์ของครึ่งเซลล์เหล่านี้จะถูกกำหนดเทียบกับแรงดัน 0 โวลต์ที่มอบหมายให้กับขั้วไฟฟ้าไฮโดรเจนมาตรฐาน (อังกฤษ: standard hydrogen electrode (SHE)) (ดูตารางที่ศักย์มาตรฐานของขั้วไฟฟ้า) ความแตกต่างในแรงดันไฟฟ้าระหว่างศักย์ขั้วไฟฟ้าทั้งสองจะสามารถคาดการณ์ถึงศักย์ที่จะทำการวัด เมื่อคำนวณค่าความแตกต่างของแรงดันไฟฟ้า เราต้องเขียนสมการปฏิกิริยาครึ่งเซลล์ขี้นใหม่ก่อนเพื่อหาสมการอ๊อกซิเดชัน-รีดักชันที่สมดุล

  1. ย้อนกลับปฏิกิริยารีดักชันด้วยศักย์ขนาดเล็กที่สุด (เพื่อสร้างปฏิกิริยาออกซิเดชัน/ศักย์เซลล์บวกโดยรวม)
  2. ปฏิกิริยาครึ่งจะต้องคูณด้วยจำนวนเต็มเพื่อให้อิเล็กตรอนเกิดความสมดุล

ข้อสังเกต ศักย์ของเซลล์จะไม่เปลี่ยนแปลงเมื่อปฏิกิริยาจะถูกคูณด้วยค่าคงที่

ศักย์ของเซลล์สามารถมีช่วงประมาณศูนย์ถึง 6 โวลต์ เซลล์ที่ใช้อิเล็กโทรไลต์ที่ผสมน้ำมักจะจำกัดศักย์ของเซลล์ไว้ที่น้อยกว่าประมาณ 2.5 โวลต์ เพราะส่วนผสมสำคัญเพื่อทำออกซิเดชันและรีดักชันที่มีประสิทธิภาพมากในการผลิตศักย์เซลล์ที่สูงขึ้นจะมีแนวโน้มที่จะทำปฏิกิริยากับน้ำ ศักย์ของเซลล์ที่สูงขึ้นมีความเป็นไปได้กับเซลล์ที่ใช้ตัวทำละลายอื่นแทนน้ำ ยกตัวอย่างเช่นเซลล์ลิเธียมที่มีแรงดันไฟฟ้า 3 โวลต์ที่มีอยู่ทั่วไป

ศักย์ของเซลล์ขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของสารทำปฏิกิริยาและชนิดของพวกมัน เมื่อเซลล์กำลังถูกใช้งาน ความเข้มข้นของสารทำปฏิกิริยาก็ลดลงและศักย์ของเซลล์ก็ลดลงด้วย

อ้างอิง

เซลล, ไฟฟ, าเคม, บทความน, ได, บแจ, งให, ปร, บปร, งหลายข, กร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความ, หร, ออภ, ปรายป, ญหาท, หน, าอภ, ปราย, บทความน, นมาก, องการเพ, มเน, อหา, บทความน, งขาดแหล, งอ, างอ, งเพ, อพ, จน, ความถ, กต, อง, งกฤษ, electrochemical, cell, เป, นอ, ปกรณ, สามาร. bthkhwamniidrbaecngihprbprunghlaykhx krunachwyprbprungbthkhwam hruxxphipraypyhathihnaxphipray bthkhwamnisnmak txngkarephimenuxha bthkhwamniyngkhadaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxngeslliffaekhmi xngkvs electrochemical cell epnxupkrnthisamarthphlitphlngnganiffacakptikiriyaekhmihruxchwyxanwykhwamsadwkinkarthaihekidptikiriyaekhmiphankarkarichphlngnganiffa twxyanghnungthiichrwmknkhxngeslliffaekhmiepnesllmatrthan 1 5 owltthiphlitkhunmasahrbkarichngankhxngphubriophkh xupkrnchnidniruckknwaepnesllklwaniediyw aebtetxricaprakxbdwyesllsxngtwhruxmakkwaechuxmtxknaebbxnukrmhruxaebbkhnan 1 karsathitkartidtngeslliffaekhmithikhlaykbesllaednill sxngkhrungesllmikarechuxmoyngkndwysaphanekluxthiichephuxnasngixxxnrahwangsxngkhrungesll xielktrxncaihlinwngcrphaynxk enuxha 1 prawtieslliffa 1 1 ptikiriyasmdul 1 2 skykhxngesll 2 xangxingprawtieslliffa aekikh esllbnesn khidkhnodyorebirt bnesn eslliffaekhmiprakxbdwysxngkhrungesll aetlakhrungesllprakxbdwykhwiffaaelaxielkothriltxyanglahnungtw sxngkhrungesllxacichxielkothriltediywknhruxtangkn ptikiriyaekhmiinesllxacekiywkhxngkbthngxielkothriltaelakhwiffaaela hruxkbsarphaynxk echninesllechuxephlingthixacichaeksihodrecnepntwthaptikiriya ineslliffaekhmietmrupaebb sarlalayinhnungkhrungesllcasuyesiyxielktrxn xxksiedchn ihkbkhwiffakhxngmninkhnathisarlalayinxikhnungkhrungesllidxielktrxnephim ridkchn cakkhwiffakhxngmnsaphaneklux echnkradaskrxngaechxyuin KNO3 hruxxielkothriltxunbangxyang mkthukichephuxthaepncdtidtxkhxngixxxnrahwangsxngkhrungesllthimixielkothriltaetktangkn xikthngyngchwypxngknsarlalaythngsxngfngimihphsmknaelakxihekidptikiriyakhangekhiyngthiimphungprasngkh thangeluxknxkcaksaphanekluxcaepnkaryxmihmikartidtxthungknodytrng aelaphsmkn rahwangsxngkhrungesll echninxielkothriltngay epnnaemuxxielktrxnihlcakipyngxikkhrungesllhnungphanwngcrphaynxk khwamaetktangkhxngpracucaekidkhunthngsxngfng hakimmicudtidtxihkbixxxn khwamaetktangkhxngpracunicapxngknxyangrwderwimihxielktrxnihlidtxip saphanekluxcachwyihmikarihlkhxngpraculbaelapracubwkephuxrksakarkracayinsthanathimnkhngkhxngpracurahwangxangxxksiedchnaelaxangridkchn inkhnathiyngkhngaeyksarlalayxxkcakkn xupkrnxun ephuxthakaraeyksarlalayxxkcakknidaekhmxthimiruphrunaelasarlalaythiepnecl hmxthimiruphrunthukichinesllbnesn khwa ptikiriyasmdul aekikh aetlakhrungesllmiaerngdniffalksnaechphaa xngkvs characteristic voltage ssarthiepnthangeluxksahrbaetlakhrungesllmihlakhlay phwkmncaihkhwamtangskythiaetktangkn aetlaptikiriyacadaeninkarephuxkarsmdulthangekhmirahwangsthanaxxksiedchnthiaetktangknkhxngixxxn emuxekidkhwamsmdul esllcaimsamarthihaerngdniffasungsudxiktxip inkhrungesllthikalngekidxxksiedchn yingkhwamsmdulekhaiklkbixxxn xatxmthimisthanaxxksiedchninechingbwkmakethair skyiffathiptikiriyanicasrangihkyingmakkhunethann inthanxngediywkninptikiriyaridkchn yingkhwamsmdulekhaiklkbixxxn xatxmthimisthanaxxksiedchninechinglbmakethair skyiffathiptikiriyanicasrangihkyingmakkhunethann skykhxngesll aekikh skykhxngesllsamarththanayidodykarichskykhxngkhwiffa aerngdniffakhxngaetlakhrungesll skykhxngkhrungesllehlanicathukkahndethiybkbaerngdn 0 owltthimxbhmayihkbkhwiffaihodrecnmatrthan xngkvs standard hydrogen electrode SHE dutarangthiskymatrthankhxngkhwiffa khwamaetktanginaerngdniffarahwangskykhwiffathngsxngcasamarthkhadkarnthungskythicathakarwd emuxkhanwnkhakhwamaetktangkhxngaerngdniffa eratxngekhiynsmkarptikiriyakhrungesllkhinihmkxnephuxhasmkarxxksiedchn ridkchnthismdul yxnklbptikiriyaridkchndwyskykhnadelkthisud ephuxsrangptikiriyaxxksiedchn skyesllbwkodyrwm ptikiriyakhrungcatxngkhundwycanwnetmephuxihxielktrxnekidkhwamsmdulkhxsngekt skykhxngesllcaimepliynaeplngemuxptikiriyacathukkhundwykhakhngthiskykhxngesllsamarthmichwngpramansunythung 6 owlt esllthiichxielkothriltthiphsmnamkcacakdskykhxngeslliwthinxykwapraman 2 5 owlt ephraaswnphsmsakhyephuxthaxxksiedchnaelaridkchnthimiprasiththiphaphmakinkarphlitskyesllthisungkhuncamiaenwonmthicathaptikiriyakbna skykhxngesllthisungkhunmikhwamepnipidkbesllthiichtwthalalayxunaethnna yktwxyangechnesllliethiymthimiaerngdniffa 3 owltthimixyuthwipskykhxngesllkhunxyukbkhwamekhmkhnkhxngsarthaptikiriyaaelachnidkhxngphwkmn emuxesllkalngthukichngan khwamekhmkhnkhxngsarthaptikiriyakldlngaelaskykhxngesllkldlngdwyxangxing aekikh http hyperphysics phy astr gsu edu hbase chemical electrochem htmlekhathungcak https th wikipedia org w index php title eslliffaekhmi amp oldid 9374400, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม