fbpx
วิกิพีเดีย

เสียง

เสียง เป็นคลื่นเชิงกลที่เกิดจากการสั่นสะเทือนของวัตถุ เมื่อวัตถุสั่นสะเทือน ก็จะทำให้เกิดการอัดตัวและขยายตัวของคลื่นเสียง และถูกส่งผ่านตัวกลาง เช่น อากาศ ไปยังหู แต่เสียงสามารถเดินทางผ่านสสารในสถานะก๊าซ ของเหลว และของแข็งก็ได้ แต่ไม่สามารถเดินทางผ่านสุญญากาศได้

แผนภูมิแสดงการได้ยินเสียง (น้ำเงิน : คลื่นเสียง; แดง: แก้วหู; เหลือง: คลอเคลีย; เขียว: เซลล์รับรู้การได้ยิน; ม่วง : สเปกตรัมความถี่ ของการตอบสนองการได้ยิน; ส้ม: อิมพัลส์ประสาท)

เมื่อการสั่นสะเทือนนั้นมาถึงหู มันจะถูกแปลงเป็นพัลส์ประสาท ซึ่งจะถูกส่งไปยังสมอง ทำให้เรารับรู้และจำแนกเสียงต่างๆ ได้

การเกิดเสียง

เริ่มเกิดขึ้นเมื่อวัตถุหรือแหล่งกำเนิดเสียงมีการสั่นสะเทือนส่งผลต่อการเคลื่อนที่ของโมเลกุลของอากาศที่อยู่โดยรอบ กล่าวคือโมเลกกุลของอากาศเหล่านี้จะเคลื่อนที่จากตำแหน่งเดิมไปชนกับโมเลกุลที่อยู่ถัดไป ก่อให้เกิดการถ่ายโอนโมเมนตัมจากโมเลกุลที่มีการเคลื่อนที่ให้กับโมเลกุลที่อยู่ในสภาวะปกติ จากนั้นโมเลกุลที่ชนกันนี้จะแยกออกจากกันโดยโมเลกุลที่เคลื่อนที่มาจะถูกดึงกลับไปยังตำแหน่งเดิมด้วยแรงปฏิกิริยาและโมเลกุลที่ได้รับการถ่ายโอนพลังงานจะเคลื่อนที่ไปชนกับโมเลกุลที่อยู่ถัดไป ปรากฏการณ์นี้จะเกิดขึ้นสลับกันไปมาได้เมื่อสื่อกลาง (ในที่นี้คืออากาศ) มีคุณสมบัติของความยืดหยุ่น การเคลื่อนที่ของโมเลกุลอากาศนี้จึงเกิดเป็นคลื่นเสียง

คุณลักษณะของเสียง

คุณลักษณะเฉพาะของเสียง ได้แก่ ความยาวช่วงคลื่น แอมปลิจูด และความเร็ว

เสียงแต่ละเสียงมีความแตกต่างกัน เสียงสูง-เสียงต่ำ, เสียงดัง-เสียงเบา, หรือคุณภาพของเสียงลักษณะต่างๆ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับแหล่งกำเนิดเสียง และจำนวนรอบต่อวินาทีของการสั่นสะเทือน

ความถี่

ระดับเสียง (pitch) หมายถึง เสียงสูงเสียงต่ำ สิ่งที่ทำให้เสียงแต่ละเสียงสูงต่ำแตกต่างกันนั้น ขึ้นอยู่กับความเร็วในการสั่นสะเทือนของวัตถุ วัตถุที่สั่นเร็วเสียงจะสูงกว่าวัตถุที่สั่นช้า โดยจะมีหน่วยวัดความถี่ของการสั่นสะเทือนต่อวินาที เช่น 60 รอบต่อวินาที, 2,000 รอบต่อวินาที เป็นต้น และนอกจาก วัตถุที่มีความถี่ในการสั่นสะเทือนมากกว่า จะมีเสียงที่สูงกว่าแล้ว หากความถี่มากขึ้นเท่าตัว ก็จะมีระดับเสียงสูงขึ้นเท่ากับ 1 ออกเตฟ (octave) ภาษาไทยเรียกว่า 1 ช่วงคู่แปด

ความยาวช่วงคลื่น

ความยาวช่วงคลื่น (wavelength) หมายถึง ระยะทางระหว่างยอดคลื่นสองยอดที่ติดกันซึ่งเกิดขึ้นระหว่างการอัดตัวของคลื่นเสียง (คล้ายคลึงกับยอดคลื่นในทะเล) ยิ่งความยาวช่วงคลื่นมีมาก ความถี่ของเสียง (ระดับเสียง) ยิ่งต่ำลง

ความกว้างช่วงคลื่น

ความกว้างช่วงคลื่น (bandwidth) หมายถึง ขนาดของวงคลื่นสองวงที่แผ่กันซึ่งเกิดขึ้นเมื่อความยาวของคลื่นเสียงมีน้อย ยิ่งความกว้างช่วงคลื่นมีมาก ความถี่ของเสียง (ระดับเสียง) ยิ่งสูงขึ้น

ความดันเสียง 

หมายถึง ค่าความดันของคลื่นเสียงที่เปลี่ยนแปลงไปจากความดันบรรยากาศปกติ ซึ่งค่าความดันที่เปลี่ยนแปลงมากที่สุด คือ    ค่าความสูงคลื่นหรือแอมปลิจูด   การตอบสนองของหูต่อความดันเสียงไม่ได้มีลักษณะเป็นเส้นตรง แต่มีความสัมพันธ์นลักษณะของลอกาลิทึม (Logarithm) ดังนั้น ค่าระดับความดันเสียง ที่อ่านได้จากการตรวจวัดโดยเครื่องวัดเสียงนั้น เป็นค่าทีได้จากการเปรียบเทียบกับความดันเสียงอ้างอิงแล้ว มีหน่วยวัดเป็น เดชิเบล (decibel : dB)

แอมพลิจูด

แอมพลิจูด (amplitude) หมายถึง ความสูงระหว่างยอดคลื่นและท้องคลื่นของคลื่นเสียง ที่แสดงถึงความเข้มของเสียง (Intensity) หรือความดังของเสียง (Loudness) ยิ่งแอมปลิจูดมีค่ามาก ความเข้มหรือความดังของเสียงก็ยิ่งเพิ่มขึ้น

ประเภทของเสียง

แบ่งตามลักษณะการเกิดเสียงได้ 3 ลักษณะ

1. เสียงดังแบบต่อเนื่อง (continuous Noise) เป็นเสียงดังที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง จำแนกออกเป็น 2 ลักษณะ คือ เสียงดังต่อเนื่องแบบคงที่ (steady-state Noise) และเสียงดีงต่อเนื่องที่ไม่คงที่  (Non steady state Noise)

1.1 เสียงดังต่อเนื่องแบบคงที่ (Steady-state Noise) เป็นลักษณะเสียงดังต่อเนื่องที่มีระดับเสียง เปลี่ยนแปลง ไม่เกิน 3 เดซิเบล เช่น เสียงจากเครื่องทอผ้า เครื่องปั่นด้าย เสียงพัดลม เป็นต้u

1.2 เสียงดังต่อเนื่องที่ไม่คงที่  (Non-steady state Noise)  เป็นลักษณะเสียงดังต่อเนื่องที่มี ระดับเลียงเปลี่ยนแปลงเกินกว่า  10 เดชิเบล  เช่น เสียงจากเลื่อยวงเดือน    เครื่องเจียร    เป็นต้น

2. เสียงดังเป็นช่วงๆ (lntermittent Noise) เป็นเสียงที่ดังไม่ต่อเนีอง มีความเงียบหรีอเบากว่าเป็นระยะๆลลับไปมา เช่น เสียงเครื่องปั๊ม/อัดลม เสียงจราจร เสียงเครื่องบินที่บินผ่านไปมา เป็นต้น

3. เสียงดังกระทบ หรือ กระแทก (lmpact or lmpulse Noise) เป็นเสียงที่เกิดขึ้นและสิ้นสุดอย่างรวดเร็ว ในเวลาน้อยกว่า 1 วินาที มีการเปลี่ยนแปลงของเสียงมากกว่า 40 เดชิเบล เช่น เสียงการตอกเสาเข็ ม การปั๊มชิ้นงาน การทุบเคาะอย่างแรง เป็นต้น

อ้างอิง

  • McKeever,Susan;Foote,Martyn (1993).The Random House science encyclopedia.Toronto:Random House. ISBN 0-394-22341-1
  • ศิวเวทกุล,ประชา.คู่มือวิทยาศาสตร์คำนวณ ม.ต้น (ม.1-ม.2-ม.3).กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์เดอะบุคส์.ISBN 974-394-126-6

แหล่งข้อมูลอื่น

  • เสียง จาก icphysics.com

เส, ยง, เป, นคล, นเช, งกลท, เก, ดจากการส, นสะเท, อนของว, ตถ, เม, อว, ตถ, นสะเท, อน, จะทำให, เก, ดการอ, ดต, วและขยายต, วของคล, และถ, กส, งผ, านต, วกลาง, เช, อากาศ, ไปย, งห, แต, สามารถเด, นทางผ, านสสารในสถานะก, าซ, ของเหลว, และของแข, งก, ได, แต, ไม, สามารถเด, นท. esiyng epnkhlunechingklthiekidcakkarsnsaethuxnkhxngwtthu emuxwtthusnsaethuxn kcathaihekidkarxdtwaelakhyaytwkhxngkhlunesiyng aelathuksngphantwklang echn xakas ipynghu aetesiyngsamarthedinthangphanssarinsthanakas khxngehlw aelakhxngaekhngkid aetimsamarthedinthangphansuyyakasidaephnphumiaesdngkaridyinesiyng naengin khlunesiyng aedng aekwhu ehluxng khlxekhliy ekhiyw esllrbrukaridyin mwng sepktrmkhwamthi khxngkartxbsnxngkaridyin sm ximphlsprasath emuxkarsnsaethuxnnnmathunghu mncathukaeplngepnphlsprasath sungcathuksngipyngsmxng thaiherarbruaelacaaenkesiyngtang id enuxha 1 karekidesiyng 2 khunlksnakhxngesiyng 2 1 khwamthi 2 2 khwamyawchwngkhlun 2 3 khwamkwangchwngkhlun 2 4 khwamdnesiyng 2 5 aexmphlicud 3 praephthkhxngesiyng 4 xangxing 5 aehlngkhxmulxunkarekidesiyng aekikherimekidkhunemuxwtthuhruxaehlngkaenidesiyngmikarsnsaethuxnsngphltxkarekhluxnthikhxngomelkulkhxngxakasthixyuodyrxb klawkhuxomelkkulkhxngxakasehlanicaekhluxnthicaktaaehnngedimipchnkbomelkulthixyuthdip kxihekidkarthayoxnomemntmcakomelkulthimikarekhluxnthiihkbomelkulthixyuinsphawapkti caknnomelkulthichnknnicaaeykxxkcakknodyomelkulthiekhluxnthimacathukdungklbipyngtaaehnngedimdwyaerngptikiriyaaelaomelkulthiidrbkarthayoxnphlngngancaekhluxnthiipchnkbomelkulthixyuthdip praktkarnnicaekidkhunslbknipmaidemuxsuxklang inthinikhuxxakas mikhunsmbtikhxngkhwamyudhyun karekhluxnthikhxngomelkulxakasnicungekidepnkhlunesiyngkhunlksnakhxngesiyng aekikhkhunlksnaechphaakhxngesiyng idaek khwamyawchwngkhlun aexmplicud aelakhwamerwesiyngaetlaesiyngmikhwamaetktangkn esiyngsung esiyngta esiyngdng esiyngeba hruxkhunphaphkhxngesiynglksnatang thngnikhunxyukbaehlngkaenidesiyng aelacanwnrxbtxwinathikhxngkarsnsaethuxn khwamthi aekikh radbesiyng pitch hmaythung esiyngsungesiyngta singthithaihesiyngaetlaesiyngsungtaaetktangknnn khunxyukbkhwamerwinkarsnsaethuxnkhxngwtthu wtthuthisnerwesiyngcasungkwawtthuthisncha odycamihnwywdkhwamthikhxngkarsnsaethuxntxwinathi echn 60 rxbtxwinathi 2 000 rxbtxwinathi epntn aelanxkcak wtthuthimikhwamthiinkarsnsaethuxnmakkwa camiesiyngthisungkwaaelw hakkhwamthimakkhunethatw kcamiradbesiyngsungkhunethakb 1 xxketf octave phasaithyeriykwa 1 chwngkhuaepd khwamyawchwngkhlun aekikh khwamyawchwngkhlun wavelength hmaythung rayathangrahwangyxdkhlunsxngyxdthitidknsungekidkhunrahwangkarxdtwkhxngkhlunesiyng khlaykhlungkbyxdkhluninthael yingkhwamyawchwngkhlunmimak khwamthikhxngesiyng radbesiyng yingtalng khwamkwangchwngkhlun aekikh khwamkwangchwngkhlun bandwidth hmaythung khnadkhxngwngkhlunsxngwngthiaephknsungekidkhunemuxkhwamyawkhxngkhlunesiyngminxy yingkhwamkwangchwngkhlunmimak khwamthikhxngesiyng radbesiyng yingsungkhun khwamdnesiyng aekikh hmaythung khakhwamdnkhxngkhlunesiyngthiepliynaeplngipcakkhwamdnbrryakaspkti sungkhakhwamdnthiepliynaeplngmakthisud khux khakhwamsungkhlunhruxaexmplicud kartxbsnxngkhxnghutxkhwamdnesiyngimidmilksnaepnesntrng aetmikhwamsmphnthnlksnakhxnglxkalithum Logarithm dngnn kharadbkhwamdnesiyng thixanidcakkartrwcwdodyekhruxngwdesiyngnn epnkhathiidcakkarepriybethiybkbkhwamdnesiyngxangxingaelw mihnwywdepn edchiebl decibel dB aexmphlicud aekikh aexmphlicud amplitude hmaythung khwamsungrahwangyxdkhlunaelathxngkhlunkhxngkhlunesiyng thiaesdngthungkhwamekhmkhxngesiyng Intensity hruxkhwamdngkhxngesiyng Loudness yingaexmplicudmikhamak khwamekhmhruxkhwamdngkhxngesiyngkyingephimkhunpraephthkhxngesiyng aekikhaebngtamlksnakarekidesiyngid 3 lksna1 esiyngdngaebbtxenuxng continuous Noise epnesiyngdngthiekidkhunxyangtxenuxng caaenkxxkepn 2 lksna khux esiyngdngtxenuxngaebbkhngthi steady state Noise aelaesiyngdingtxenuxngthiimkhngthi Non steady state Noise 1 1 esiyngdngtxenuxngaebbkhngthi Steady state Noise epnlksnaesiyngdngtxenuxngthimiradbesiyng epliynaeplng imekin 3 edsiebl echn esiyngcakekhruxngthxpha ekhruxngpnday esiyngphdlm epntu1 2 esiyngdngtxenuxngthiimkhngthi Non steady state Noise epnlksnaesiyngdngtxenuxngthimi radbeliyngepliynaeplngekinkwa 10 edchiebl echn esiyngcakeluxywngeduxn ekhruxngeciyr epntn2 esiyngdngepnchwng lntermittent Noise epnesiyngthidngimtxenixng mikhwamengiybhrixebakwaepnrayallbipma echn esiyngekhruxngpm xdlm esiyngcracr esiyngekhruxngbinthibinphanipma epntn3 esiyngdngkrathb hrux kraaethk lmpact or lmpulse Noise epnesiyngthiekidkhunaelasinsudxyangrwderw inewlanxykwa 1 winathi mikarepliynaeplngkhxngesiyngmakkwa 40 edchiebl echn esiyngkartxkesaekh m karpmchinngan karthubekhaaxyangaerng epntnxangxing aekikhMcKeever Susan Foote Martyn 1993 The Random House science encyclopedia Toronto Random House ISBN 0 394 22341 1 siwewthkul pracha khumuxwithyasastrkhanwn m tn m 1 m 2 m 3 krungethph sankphimphedxabukhs ISBN 974 394 126 6aehlngkhxmulxun aekikhesiyng cak icphysics comkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb esiyng wikiphcnanukrm mikhwamhmaykhxngkhawa esiyng bthkhwamekiywkbfisiksniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy fisiksekhathungcak https th wikipedia org w index php title esiyng amp oldid 9280016, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม