fbpx
วิกิพีเดีย

แอลคาลอยด์

แอลคาลอยด์ (อังกฤษ: alkaloid) เป็นสารอินทรีย์กลุ่มที่มีธาตุไนโตรเจนอยู่ภายในโมเลกุล ในรูปของเอมีน (amine) เอมีนออกไซด์ (amine oxide) หรืออาจพบอยู่ในรูปของเอไมด์ (amide) และอีไมด์ (imide) ไนโตรเจนในแอลคาลอยด์ได้มาจากกรดอะมิโน โดยทั่วไปแอลคาลอยด์จะมีคุณสมบัติเป็นเบส แต่จะมากหรือน้อยขึ้นกับจำนวนของไนโตรเจน บางชนิดเป็นกลางหรือเป็นกรดอ่อน มักมีฤทธิ์ทางยา ในธรรมชาติจะพบแอลคาลอยด์มากในพืชชั้นสูง ตามส่วนต่าง ๆ ของพืชเช่น ใบ ดอก ผล เมล็ด รากและเปลือก พบน้อยในพืชชั้นต่ำ สัตว์ และจุลินทรีย์

แอลคาลอยด์ที่พบตัวแรกคือ มอร์ฟีน แยกได้ใน พ.ศ. 2347 จากต้นฝิ่น (Papaver somniferum)
ในเมล็ดแสลงใจ มี strychnine และ brucine ซึ่งเป็นสารกลุ่มแอลคาลอยด์จำนวนมาก

แบ่งแอลคาลอยด์ตามโครงสร้างทางเคมี ได้เป็น

  • แอลคาลอยด์ที่มีไนโตรเจนอยู่นอกวง (non-heterocyclic alkaloids)
  • แอลคาลอยด์ที่มีไนโตรเจนเป็นส่วนของวง (heterocyclic alkaloids) ซึ่งแบ่งเป็นกลุ่มย่อย ๆ ได้เป็นกลุ่มไพโรล (pyrrole) ไพโรลิดีน (pyrrolidine) ไพริดีน (pyridine) พิเพอริดีน (piperidine) ไพโรโลซิดีน (pyrrolozidine) โทรเพน (tropane) ควิโนลีน (quinoline) ไอโซควิโนลีน (isoquinoline) อะพรอฟีน (aporphine) นอร์ลูพิเนน (nor-lupinane) อินโดล (indole) อิมิดาโซล (imidazole) พิวรีน (purine) และสเตอรอยด์ (steroid)
ผลึกของ piperine สกัดจาก พริกไทยดำ

หน้าที่ของแอลคาลอยด์ในพืชยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัด สันนิษฐานว่าอาจเป็นแหล่ง สะสมไนโตรเจนเพื่อสร้างโปรตีน ควบคุมการเจริญเติบโต หรือการงอกของเมล็ดพืชบางชนิด ช่วยป้องกันพืชจากแมลง หรืออาจเป็นสารที่ได้จากการทำลายพิษที่เกิดขึ้นในกระบวนการเมทาบอลิซึมของพืช แอลคาลอยด์ส่วนใหญ่มักมีรสขมและมีพิษ อย่างไรก็ตามมีพืชมากกว่า 80% ที่ไม่สร้างและไม่สะสมแอลคาลอยด์ ซึ่งเป็นไปได้ว่าสารแอลคาลอยด์เป็นสารที่ไม่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตของพืชทุกชนิด

อ้างอิง

  • ประไพรัตน์ สีพลไกร. สารอินโดลแอลคาลอยด์และฤทธิ์ทางชีวภาพของต้นพญาสัตบรรณ 2016-03-05 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 14: (1) มกราคม – มีนาคม 2555
  1. Andreas Luch (2009). Molecular, clinical and environmental toxicology. Springer. p. 20. ISBN 3-7643-8335-6.
  2. IUPAC. Compendium of Chemical Terminology, 2nd ed. (The "Gold Book"). Compiled by A. D. McNaught and A. Wilkinson. Blackwell Scientific Publications, Oxford (1997) ISBN 0-9678550-9-8 doi:10.1351/goldbook
  3. R. H. F. Manske. The Alkaloids. Chemistry and Physiology. Volume VIII. – New York: Academic Press, 1965, p. 673

แอลคาลอยด, งกฤษ, alkaloid, เป, นสารอ, นทร, กล, มท, ธาต, ไนโตรเจนอย, ภายในโมเลก, ในร, ปของเอม, amine, เอม, นออกไซด, amine, oxide, หร, ออาจพบอย, ในร, ปของเอไมด, amide, และอ, ไมด, imide, ไนโตรเจนในได, มาจากกรดอะม, โน, โดยท, วไปจะม, ณสมบ, เป, นเบส, แต, จะมากหร, อน. aexlkhalxyd xngkvs alkaloid epnsarxinthriyklumthimithatuinotrecnxyuphayinomelkul inrupkhxngexmin amine exminxxkisd amine oxide hruxxacphbxyuinrupkhxngeximd amide aelaxiimd imide inotrecninaexlkhalxydidmacakkrdxamion odythwipaexlkhalxydcamikhunsmbtiepnebs aetcamakhruxnxykhunkbcanwnkhxnginotrecn bangchnidepnklang 2 hruxepnkrdxxn 3 mkmivththithangya inthrrmchaticaphbaexlkhalxydmakinphuchchnsung tamswntang khxngphuchechn ib dxk phl emld rakaelaepluxk phbnxyinphuchchnta stw aelaculinthriyaexlkhalxydthiphbtwaerkkhux mxrfin aeykidin ph s 2347 caktnfin Papaver somniferum 1 inemldaeslngic mi strychnine aela brucine sungepnsarklumaexlkhalxydcanwnmak aebngaexlkhalxydtamokhrngsrangthangekhmi idepn aexlkhalxydthimiinotrecnxyunxkwng non heterocyclic alkaloids aexlkhalxydthimiinotrecnepnswnkhxngwng heterocyclic alkaloids sungaebngepnklumyxy idepnklumiphorl pyrrole iphorlidin pyrrolidine iphridin pyridine phiephxridin piperidine iphorolsidin pyrrolozidine othrephn tropane khwionlin quinoline ixoskhwionlin isoquinoline xaphrxfin aporphine nxrluphienn nor lupinane xinodl indole ximidaosl imidazole phiwrin purine aelasetxrxyd steroid phlukkhxng piperine skdcak phrikithyda hnathikhxngaexlkhalxydinphuchyngimepnthithrabaenchd snnisthanwaxacepnaehlng sasminotrecnephuxsrangoprtin khwbkhumkarecriyetibot hruxkarngxkkhxngemldphuchbangchnid chwypxngknphuchcakaemlng hruxxacepnsarthiidcakkarthalayphisthiekidkhuninkrabwnkaremthabxlisumkhxngphuch aexlkhalxydswnihymkmirskhmaelamiphis xyangirktammiphuchmakkwa 80 thiimsrangaelaimsasmaexlkhalxyd sungepnipidwasaraexlkhalxydepnsarthiimcaepntxkardarngchiwitkhxngphuchthukchnidxangxing aekikhpraiphrtn siphlikr sarxinodlaexlkhalxydaelavththithangchiwphaphkhxngtnphyastbrrn Archived 2016 03 05 thi ewyaebkaemchchin warsarwithyasastraelaethkhonolyi mhawithyalyxublrachthani 14 1 mkrakhm minakhm 2555 Andreas Luch 2009 Molecular clinical and environmental toxicology Springer p 20 ISBN 3 7643 8335 6 IUPAC Compendium of Chemical Terminology 2nd ed The Gold Book Compiled by A D McNaught and A Wilkinson Blackwell Scientific Publications Oxford 1997 ISBN 0 9678550 9 8 doi 10 1351 goldbook R H F Manske The Alkaloids Chemistry and Physiology Volume VIII New York Academic Press 1965 p 673ekhathungcak https th wikipedia org w index php title aexlkhalxyd amp oldid 9608643, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม