fbpx
วิกิพีเดีย

ไข้กาฬหลังแอ่น

ไข้กาฬหลังแอ่น, ไข้กาฬนกนางแอ่น หรือ การติดเชื้อเมนิงโกค็อกคัส (อังกฤษ: meningococcal disease) คือกลุ่มของโรคติดเชื้อ ที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียสายพันธุ์ Neisseria meningitidis หรืออีกชื่อว่าเมนิงโกค็อกคัส (meningococcus) ซึ่งเป็นโรคที่หากไม่ได้รับการรักษาที่เหมาะสมจะมีอัตราการเสียชีวิตสูงมาก แม้เชื้อนี้จะพบเป็นสาเหตุของโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบได้บ่อย แต่การติดเชื้อนี้เข้าสู่กระแสเลือดเป็นภาวะที่มีอันตรายกว่ามาก โรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อเมนิงโกค็อกคัส (meningococcal meningitis) และโรคติดเชื้อเมนิงโกค็อกคัสเข้ากระแสเลือด (meningococcemia) เป็นสาเหตุของการเจ็บป่วย พิการ และเสียชีวิต ที่สำคัญ ทั้งในประเทศที่พัฒนาแล้วและกำลังพัฒนาทั่วโลก

ไข้กาฬหลังแอ่น
(Meningococcal disease)
Charlotte Cleverley-Bisman หนึ่งในผู้ป่วยที่อายุน้อยที่สุดที่รอดชีวิตจากโรคนี้ แขนที่ติดเชื้อในภาพได้ถูกผ่าตัดออกในเวลาต่อมา
สาขาวิชาInfectious disease, critical care medicine

ยังไม่เป็นที่เข้าใจดีนักว่าการติดเชื้อนี้ทำให้เกิดโรคที่มีความรุนแรงเป็นลักษณะเฉพาะเช่นนี้ได้อย่างไร คนปกติจำนวนมากมีเชื้อนี้อาศัยอยู่ในร่างกายเป็นปกติโดยไม่ได้ทำให้เกิดโรค แต่หากเชื้อหลุดเข้ากระแสเลือดไปยังสมองก็จะทำให้เกิดโรคร้ายแรงเช่นนี้ได้ ในช่วงหลายปีที่ผ่านมาผู้เชี่ยวชาญหลายคนได้พยายามทำความเข้าใจชีววิทยาของเชื้อ meningococcus และปฏิสัมพันธ์ระหว่างเชื้อกับร่างกาย อย่างไรก็ดีมีการพัฒนาวิธีการรักษาและวัคซีนที่ได้ผลดีออกมาใช้แล้ว และยังต้องมีการพัฒนาต่อเนื่องโดยความร่วมมือระหว่างผู้เชี่ยวชาญหลายสาขา

ในช่วง 13 ปี ที่ผ่านมา อุบัติการณ์ของผู้ป่วยไข้กาฬหลังแอ่น ในพื้นที่ที่มีการระบาดของเชื้ออยู่เป็นปกติ อยู่ที่ 1-5 ต่อ 100,000 ประชากร ในประเทศที่พัฒนาแล้ว และ 10-25 ต่อ 100,000 ประชากร ในประเทศที่กำลังพัฒนา ส่วนในช่วงที่มีการระบาดทั่วนั้นมีอุบัติการณ์สูงถึง 100 ต่อ 100,000 ประชากร ในสหรัฐอเมริกามีผู้ป่วยเยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อแบคทีเรียประมาณ 2,600 ราย ต่อปี และในประเทศที่กำลังพัฒนาพบประมาณ 333,000 ราย ต่อปี และมีอัตราผู้ป่วยตายอยู่ที่ 10-20%

แม้ไข้กาฬหลังแอ่นจะไม่ได้ติดต่อง่ายเท่าโรคหวัด แต่ก็สามารถติดต่อผ่านน้ำลาย หรือผ่านการสัมผัสผู้ป่วยอย่างใกล้ชิดต่อเนื่องเป็นเวลานานได้

การรักษาและพยากรณ์โรค

ผู้ป่วยที่สงสัยป่วยไข้กาฬหลังแอ่นควรได้รับการรักษาทันทีโดยไม่ต้องรอผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ โดยหน่วยบริการปฐมภูมิมักฉีด benzylpenicillin เข้ากล้ามเนื้อ และส่งผู้ป่วยไปยังหน่วยบริการระดับสูงกว่าต่อไป เมื่อถึงโรงพยาบาลแล้วผู้ป่วยมักได้ยาปฏิชีวนะเข้าทางหลอดเลือดดำ ส่วนใหญ่เป็น cephalosporin รุ่นที่ 3 เช่น ceftriaxone หรือ cefotaxime ทั้งนี้ benzylpenicillin และ chloramphenicol ก็ได้ผลเช่นกัน นอกจากนี้ยังควรได้รับการรักษาประคับประคองอื่นๆ ตามความเหมาะสม เช่น การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ การให้ออกซิเจน การให้ยากระตุ้นความดันเลือด เช่น dopamine หรือ dobutamine รวมทั้งการรักษาภาวะความดันในกะโหลกศีรษะขึ้นสูง ผู้ป่วยบางรายอาจควรได้รับการรักษาด้วย steroid แต่ยังไม่มีข้อมูลสนับสนุนว่าจะมีผลดีในระยะยาว

อ้างอิง

  1. ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน 2017-07-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. เรียกข้อมูลวันที่ 12 พ.ย. 2556.
  2. บัญชีจำแนกโรคระหว่างประเทศ ฉบับประเทศไทย
  3. Pollard, Andrew J.; Maiden, Martin C. J. (2001). Meningococcal Disease: Methods and Protocols. Humana Press. ISBN 978-0-89603-849-3.
  4. Riedo FX, Plikaytis BD, Broome CV (1995). "Epidemiology and prevention of meningococcal disease". Pediatr. Infect. Dis. J. 14 (8): 643–57. doi:10.1097/00006454-199508000-00001. PMID 8532420. Unknown parameter |month= ignored (help)CS1 maint: multiple names: authors list (link)

แหล่งข้อมูลอื่น

การจำแนกโรค
V · T · D
ทรัพยากรภายนอก
  • MedlinePlus: 000608
  • แม่แบบ:DermAtlas

ไข, กาฬหล, งแอ, ไข, กาฬนกนางแอ, หร, การต, ดเช, อเมน, งโกค, อกค, งกฤษ, meningococcal, disease, อกล, มของโรคต, ดเช, เก, ดจากการต, ดเช, อแบคท, เร, ยสายพ, นธ, neisseria, meningitidis, หร, ออ, กช, อว, าเมน, งโกค, อกค, meningococcus, งเป, นโรคท, หากไม, ได, บการร, กษ. ikhkalhlngaexn 1 ikhkalnknangaexn 1 hrux kartidechuxemningokkhxkkhs 2 xngkvs meningococcal disease khuxklumkhxngorkhtidechux thiekidcakkartidechuxaebkhthieriysayphnthu Neisseria meningitidis hruxxikchuxwaemningokkhxkkhs meningococcus sungepnorkhthihakimidrbkarrksathiehmaasmcamixtrakaresiychiwitsungmak aemechuxnicaphbepnsaehtukhxngorkheyuxhumsmxngxkesbidbxy aetkartidechuxniekhasukraaeseluxdepnphawathimixntraykwamak orkheyuxhumsmxngxkesbcakechuxemningokkhxkkhs meningococcal meningitis aelaorkhtidechuxemningokkhxkkhsekhakraaeseluxd meningococcemia epnsaehtukhxngkarecbpwy phikar aelaesiychiwit thisakhy thnginpraethsthiphthnaaelwaelakalngphthnathwolkikhkalhlngaexn Meningococcal disease Charlotte Cleverley Bisman hnunginphupwythixayunxythisudthirxdchiwitcakorkhni aekhnthitidechuxinphaphidthukphatdxxkinewlatxmasakhawichaInfectious disease critical care medicineyngimepnthiekhaicdinkwakartidechuxnithaihekidorkhthimikhwamrunaerngepnlksnaechphaaechnniidxyangir khnpkticanwnmakmiechuxnixasyxyuinrangkayepnpktiodyimidthaihekidorkh aethakechuxhludekhakraaeseluxdipyngsmxngkcathaihekidorkhrayaerngechnniid inchwnghlaypithiphanmaphuechiywchayhlaykhnidphyayamthakhwamekhaicchiwwithyakhxngechux meningococcus aelaptismphnthrahwangechuxkbrangkay xyangirkdimikarphthnawithikarrksaaelawkhsinthiidphldixxkmaichaelw aelayngtxngmikarphthnatxenuxngodykhwamrwmmuxrahwangphuechiywchayhlaysakha 3 inchwng 13 pi thiphanma xubtikarnkhxngphupwyikhkalhlngaexn inphunthithimikarrabadkhxngechuxxyuepnpkti xyuthi 1 5 tx 100 000 prachakr inpraethsthiphthnaaelw aela 10 25 tx 100 000 prachakr inpraethsthikalngphthna swninchwngthimikarrabadthwnnmixubtikarnsungthung 100 tx 100 000 prachakr inshrthxemrikamiphupwyeyuxhumsmxngxkesbcakechuxaebkhthieriypraman 2 600 ray txpi aelainpraethsthikalngphthnaphbpraman 333 000 ray txpi aelamixtraphupwytayxyuthi 10 20 4 aemikhkalhlngaexncaimidtidtxngayethaorkhhwd aetksamarthtidtxphannalay hruxphankarsmphsphupwyxyangiklchidtxenuxngepnewlananidkarrksaaelaphyakrnorkh aekikhphupwythisngsypwyikhkalhlngaexnkhwridrbkarrksathnthiodyimtxngrxphlkartrwcthanghxngptibtikar odyhnwybrikarpthmphumimkchid benzylpenicillin ekhaklamenux aelasngphupwyipynghnwybrikarradbsungkwatxip emuxthungorngphyabalaelwphupwymkidyaptichiwnaekhathanghlxdeluxdda swnihyepn cephalosporin runthi 3 echn ceftriaxone hrux cefotaxime thngni benzylpenicillin aela chloramphenicol kidphlechnkn nxkcakniyngkhwridrbkarrksaprakhbprakhxngxun tamkhwamehmaasm echn karihsarnathanghlxdeluxdda karihxxksiecn karihyakratunkhwamdneluxd echn dopamine hrux dobutamine rwmthngkarrksaphawakhwamdninkaohlksirsakhunsung phupwybangrayxackhwridrbkarrksadwy steroid aetyngimmikhxmulsnbsnunwacamiphldiinrayayawxangxing aekikh 1 0 1 1 sphthbyytirachbnthitysthan Archived 2017 07 15 thi ewyaebkaemchchin eriykkhxmulwnthi 12 ph y 2556 bychicaaenkorkhrahwangpraeths chbbpraethsithy Pollard Andrew J Maiden Martin C J 2001 Meningococcal Disease Methods and Protocols Humana Press ISBN 978 0 89603 849 3 Riedo FX Plikaytis BD Broome CV 1995 Epidemiology and prevention of meningococcal disease Pediatr Infect Dis J 14 8 643 57 doi 10 1097 00006454 199508000 00001 PMID 8532420 Unknown parameter month ignored help CS1 maint multiple names authors list link aehlngkhxmulxun aekikhkarcaaenkorkhV T DICD 10 A39ICD 9 CM 036 9DiseasesDB 8847thrphyakrphaynxkMedlinePlus 000608aemaebb DermAtlas bthkhwamekiywkbaephthysastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy aephthysastrekhathungcak https th wikipedia org w index php title ikhkalhlngaexn amp oldid 9562870, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม