fbpx
วิกิพีเดีย

ภาวะเบสเกิน

ภาวะเบสเกิน, ภาวะเลือดเป็นเบส หรือ ภาวะร่างกายเป็นเบส (อังกฤษ: Alkalosis) เป็นผลจากการลดความเข้มข้นของไฮโดรเจนไอออนในพลาสมาเลือดในหลอดเลือดแดง (arterial blood plasma) หรือเรียกว่า ภาวะเลือดเป็นเบส (อัลคาลีเมีย; alkalemia) ในทางตรงกันข้ามกันกับเอซิดีเมีย (ภาวะเลือดเป็นกรด; acidemia) ซึ่งค่า pH ของเซรัมเลือดอยู่ที่ต่ำกว่า 7.35 ในขณะที่อัลคาลีเมียเกิดขึ้นเมื่อค่าพีเอชเซรัมเลือดสูงกว่าปกติ (สูงกว่า 7.45) ภาวะเลือดเป็นเบสมักแบ่งออกเป็นสองชนิดหลัก คือ ภาวะเลือดเป็นเบสจากการหายใจ (respiratory alkalosis) และ ภาวะเลือดเป็นเบสเมแทบอลิก (metabolic alkalosis) หรือเกิดขึ้นทั้งคู่พร้อม ๆ กัน

ภาวะเบสเกิน
Alkalosis
ชื่ออื่นภาวะเลือดเป็นเบส, ภาวะร่างกายเป็นเบส
สาขาวิชาวิทยาต่อมไร้ท่อ

อาการ

อัลคาลอซิสแบบเมแทบอลิก (Metabolic alkalosis) มักเกิดร่วมกับอาการความเข้มข้นโพแทสเซียมในเลือดต่ำ ซึ่งทำให้เกิดอาการเช่น กล้ามเนื้ออ่อนเปลี้ย, ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ และกล้ามเนื้ออักเสบ นอกจากนี้ยังอาจก่อให้เกิดความเข้มข้นแคลเซียมในเลือดต่ำ เนื่องมาจากค่า pH ในเลือดที่สูงขึ้น ทำให้โปรตีนขนส่ง เช่น อัลบูมิน ถูกไอออไนส์เป็นเอเนียน (ประจุลบ) ซึ่งส่งผลให้แคลเซียมในเลือดจับกับอัลบูมินแน่นขึ้น หากเป็นอย่างรุนแรงอาจก่อให้เกิด การชักเกร็ง ได้

สาเหตุ

อัลคาลอซิสจากการหายใจ (Respiratory alkalosis) เกิดจากการหายใจมากเกิน (hyperventilation) ซึ่งส่งผลให้สูญเสียคาร์บอนไดออกไซด์ กลไกการทดแทน (compensatory mechanisms) ของร่างกายต่อการสูญเสียคาร์บอนไดออกไซด์ ส่วนหนึ่งส่งผลให้เกิดการสลาย (dissociation) กรดคาร์บอนิก ซึ่งทำหน้าที่การบัฟเฟอร์ให้เกิดเป็นไอออนไฮโดรเจน สิ่งนี้ทำให้ค่า pH ลดลง อัลคาลอซิสที่เกิดจากการหายใจมากสามารถพบในโรคระบบประสาทส่วนกลางที่ถึงแก่ชีวิตหลายโรค เช่น เส้นเลือดในสมองแตก และอาการเร็ตต์

ส่วนอัลคาลอซิสแบบเมแทบอลิก (Metabolic alkalosis) นั้นอาจเกิดจากการอาเจียนซ้ำ ๆ (repeated vomiting) ซึ่งส่งผลให้เกิดการสูญเสียกรดไฮโดรคลอริกจากสารในกระเพาะ, ยาขับปัสสาวะ (diuratics) และโรคเกี่ยวกับระบบต่อมไร้ท่อ เช่น โรคคูชิง กลไกการทดแทน (compensatory mechanism) ในกรณีของอัลคาลอซิสแบบเมแทบอลิกมีส่วนในการทำให้หายใจช้าลงของปอดเพิ่มคาร์บอนไดออกไซด์ในเซรัมเลือด

อ้างอิง

  1. Mosby's Paramedic Textbook – Mick J. Sanders
  2. Yee AH, Rabinstein AA (February 2010). "Neurologic presentations of acid-base imbalance, electrolyte abnormalities, and endocrine emergencies". Neurol Clin. 28 (1): 1–16. doi:10.1016/j.ncl.2009.09.002. PMID 19932372.

ภาวะเบสเก, ภาวะเล, อดเป, นเบส, หร, ภาวะร, างกายเป, นเบส, งกฤษ, alkalosis, เป, นผลจากการลดความเข, มข, นของไฮโดรเจนไอออนในพลาสมาเล, อดในหลอดเล, อดแดง, arterial, blood, plasma, หร, อเร, ยกว, ภาวะเล, อดเป, นเบส, ลคาล, เม, alkalemia, ในทางตรงก, นข, ามก, นก, บเอซ, เ. phawaebsekin phawaeluxdepnebs hrux phawarangkayepnebs xngkvs Alkalosis epnphlcakkarldkhwamekhmkhnkhxngihodrecnixxxninphlasmaeluxdinhlxdeluxdaedng arterial blood plasma hruxeriykwa phawaeluxdepnebs xlkhaliemiy alkalemia inthangtrngknkhamknkbexsidiemiy phawaeluxdepnkrd acidemia sungkha pH khxngesrmeluxdxyuthitakwa 7 35 inkhnathixlkhaliemiyekidkhunemuxkhaphiexchesrmeluxdsungkwapkti sungkwa 7 45 phawaeluxdepnebsmkaebngxxkepnsxngchnidhlk khux phawaeluxdepnebscakkarhayic respiratory alkalosis aela phawaeluxdepnebsemaethbxlik metabolic alkalosis hruxekidkhunthngkhuphrxm kn 1 phawaebsekinAlkalosischuxxunphawaeluxdepnebs phawarangkayepnebssakhawichawithyatxmirthxxakar aekikhxlkhalxsisaebbemaethbxlik Metabolic alkalosis mkekidrwmkbxakarkhwamekhmkhnophaethsesiymineluxdta sungthaihekidxakarechn klamenuxxxnepliy pwdemuxyklamenux aelaklamenuxxkesb nxkcakniyngxackxihekidkhwamekhmkhnaekhlesiymineluxdta enuxngmacakkha pH ineluxdthisungkhun thaihoprtinkhnsng echn xlbumin thukixxxinsepnexeniyn praculb sungsngphlihaekhlesiymineluxdcbkbxlbuminaennkhun hakepnxyangrunaerngxackxihekid karchkekrng idsaehtu aekikhxlkhalxsiscakkarhayic Respiratory alkalosis ekidcakkarhayicmakekin hyperventilation 2 sungsngphlihsuyesiykharbxnidxxkisd klikkarthdaethn compensatory mechanisms khxngrangkaytxkarsuyesiykharbxnidxxkisd swnhnungsngphlihekidkarslay dissociation krdkharbxnik sungthahnathikarbfefxrihekidepnixxxnihodrecn singnithaihkha pH ldlng xlkhalxsisthiekidcakkarhayicmaksamarthphbinorkhrabbprasathswnklangthithungaekchiwithlayorkh echn esneluxdinsmxngaetk aelaxakarertt 2 swnxlkhalxsisaebbemaethbxlik Metabolic alkalosis nnxacekidcakkarxaeciynsa repeated vomiting 2 sungsngphlihekidkarsuyesiykrdihodrkhlxrikcaksarinkraephaa yakhbpssawa diuratics 2 aelaorkhekiywkbrabbtxmirthx echn orkhkhuching klikkarthdaethn compensatory mechanism inkrnikhxngxlkhalxsisaebbemaethbxlikmiswninkarthaihhayicchalngkhxngpxdephimkharbxnidxxkisdinesrmeluxd 2 xangxing aekikh Mosby s Paramedic Textbook Mick J Sanders 2 0 2 1 2 2 2 3 2 4 Yee AH Rabinstein AA February 2010 Neurologic presentations of acid base imbalance electrolyte abnormalities and endocrine emergencies Neurol Clin 28 1 1 16 doi 10 1016 j ncl 2009 09 002 PMID 19932372 bthkhwamekiywkbaephthysastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy aephthysastrekhathungcak https th wikipedia org w index php title phawaebsekin amp oldid 8866133, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม