fbpx
วิกิพีเดีย

โรคออทิซึม

โรคออทิซึม (อังกฤษ: Autism) เป็นความผิดปกติในการเจริญของระบบประสาท โดยมีลักษณะเด่นคือความบกพร่องด้านปฏิสัมพันธ์ทางสังคมและการสื่อสาร และมีพฤติกรรมทำกิจกรรมบางอย่างซ้ำ ๆ ผู้ป่วยที่เป็นโรคนี้มักเรียกกันว่าผู้ป่วยออทิสติก อาการแสดงดังกล่าวมักปรากฏในวัยเด็กก่อนอายุ 3 ปี นอกจากนี้ยังมีความบกพร่องด้านสังคมและการสื่อสารที่จัดในกลุ่มใกล้เคียงโรคออทิซึม เรียกว่า Autism spectrum disorder (ASD) อาทิกลุ่มอาการแอสเพอร์เกอร์ (Asperger syndrome) ที่มีอาการและอาการแสดงน้อยกว่า

โรคออทิซึม
อาการชอบซ้อนของหรือเรียงของซ้ำไปซ้ำมามีความสัมพันธ์กับโรคออทิซึม
สาขาวิชาจิตเวช (จิตเวชเด็ก)
อาการความบกพร่องในการสื่อสารกับบุคคล ความสามารถทางการพูด อวัจนภาษา มีพฤติกรรมที่เกิดขึ้นซ้ำ
การตั้งต้น2 ขวบ
ระยะดำเนินโรคระยะยาว
สาเหตุพันธุกรรม และ สังคม
วิธีวินิจฉัยBased on behavior and developmental history
โรคอื่นที่คล้ายกันReactive attachment disorder, intellectual disability, schizophrenia
การรักษาEarly speech and behavioral interventions
ความชุก24.8 ล้าน (2015)

โรคออทิซึมมีความเกี่ยวข้องกับพันธุกรรมอย่างมาก แม้ว่าการถ่ายทอดทางพันธุกรรมจะมีความซับซ้อนและยังไม่สามารถอธิบายกลุ่มอาการ ASD ได้จากปฏิสัมพันธ์หลายยีนหรือการกลายพันธุ์ ผู้ป่วยจำนวนน้อยพบว่ามีความเกี่ยวข้องกับสารก่อวิรูป (สารที่ก่อให้เกิดความผิดปกติแต่กำเนิด) บางแหล่งข้อมูลเสนอสาเหตุของโรคออทิซึมไว้หลากหลาย เช่น การให้วัคซีนในวัยเด็ก ซึ่งเป็นที่ถกเถียงกันในปัจจุบัน และสมมติฐานดังกล่าวยังขาดหลักฐานที่เชื่อถือได้ทางวิทยาศาสตร์ ความชุกของกลุ่มอาการ ASD เกิดราว 6 ใน 1,000 คน และเป็นในเด็กชายเป็น 4 เท่าของเด็กหญิง จำนวนผู้ป่วยที่ป่วยด้วยโรคออทิซึมพบว่าเพิ่มขึ้นอย่างมากตั้งแต่ทศวรรษที่ 1980 ทั้งนี้บางส่วนเนื่องจากการเปลี่ยนวิธีการวินิจฉัย แต่ความชุกแท้จริงเพิ่มขึ้นหรือไม่นั้นยังไม่เป็นที่ทราบ

ผู้ป่วยโรคออทิซึมมีความผิดปกติที่หลายส่วนของสมองซึ่งยังไม่ทราบสาเหตุ ผู้ปกครองมักสังเกตอาการผู้ป่วยได้ในช่วงอายุ 2 ขวบปีแรก แม้ว่าการบำบัดด้วยพฤติกรรมและการรับรู้โดยนักกายภาพบำบัดและนักจิตวิทยาคลินิกตั้งแต่เยาว์วัยจะช่วยพัฒนาให้ผู้ป่วยดูแลตนเอง มีทักษะด้านสังคมและการสื่อสารได้ แต่การรักษาที่แท้จริงยังไม่เป็นที่ทราบ เด็กที่ป่วยด้วยโรคนี้น้อยรายที่สามารถใช้ชีวิตได้อย่างอิสระหลังเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ แต่ก็มีบางส่วนที่ประสบความสำเร็จอย่างไรก็ตามพบว่าคนที่เป็นโรคออทิซึมได้รับการปฏิเสธจากสังคมอย่างมากจนเป็นสาเหตุของการใช้ความรุนแรงในการใช้อาวุธปืนฆ่าคนอื่น

สาเหตุ

เป็นที่เชื่อกันมานานว่ามีสาเหตุแรกเริ่มมาจากสาเหตุหนึ่งของอาการสำคัญทั้งสามอย่างของโรคออทิซึม โดยสาเหตุอาจเป็นในระดับพันธุกรรม ระดับสติปัญญา หรือระดับเซลล์ประสาท อย่างไรก็ดี ในภายหลังเริ่มเป็นที่สงสัยว่าโรคออทิซึมเป็นโรคที่สาเหตุซับซ้อน โดยอาการแต่ละด้านมีสาเหตุที่แตกต่างกันแต่เกิดและพบร่วมกันบ่อย เป็นต้น

โรคออทิซึมมีความสัมพันธ์กับพันธุกรรมเป็นอย่างมาก ถึงแม้พันธุศาสตร์ของโรคออทิซึมจะมีความซับซ้อน และยังไม่เป็นที่ชัดเจนว่าโรคเหล่านี้เกิดจากการกลายพันธุ์ตำแหน่งเดียวที่พบได้น้อย แล้วการกลายพันธุ์ตำแหน่งเดียวนี้ทำให้เกิดผลหลาย ๆ อย่างตามมา หรือ เกิดจากการกลายพันธุ์หลาย ๆ ที่ ที่แต่ละตัวมีโอกาสพบได้บ้าง แต่การเกิดพร้อม ๆ กันนั้นพบได้น้อย แล้วปฏิสัมพันธ์ระหว่างยีนหลาย ๆ ยีนนี้ทำให้เกิดอาการของโรค ความซับซ้อนนี้เกิดจากการที่ยีนแต่ละยีน ปัจจัยสิ่งแวดล้อม และการถ่ายทอดแบบอีพิเจเนติกส์ (ผลที่เกิดกับลักษณะแสดงออก ที่ถ่ายทอดได้ ที่ไม่ได้มาจากรหัสพันธุกรรม แต่มาจากปัจจัยอื่น ๆ ที่ควบคุมการแสดงออกของพันธุกรรม) ต่างมีปฏิสัมพันธ์กันอย่างซับซ้อน การวิจัยด้วยการหาลำดับพันธุกรรมทั้งหมดของผู้ป่วยและญาติ ทำให้มีการค้นพบยีนหลาย ๆ ยีน ที่พบว่ามีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคออทิซึม แต่เพียงเท่านี้ยังไม่สามารถสรุปได้ว่ายีนเหล่านี้เป็นสาเหตุของการเกิดโรค

การวิจัยกับฝาแฝดได้ผลว่าโรคออทิซึมมีค่าดัชนีการถ่ายทอดอยู่ที่ 0.7 และสำหรับโรคอื่น ๆ ในกลุ่มโรคออทิซึมสเปกตรัมมีค่าดัชนีการถ่ายทอดสูงถึง 0.9 คนที่มีพี่น้องเป็นโรคออทิซึมมีโอกาสเป็นโรคนี้มากกว่าคนทั่วไป 25 เท่า อย่างไรก็ดี ลักษณะการถ่ายทอดของพันธุกรรมโรคออทิซึมนี้ยังไม่เข้ากับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบยีนเดี่ยว (แบบเมนเดล) หรือเกิดจากความผิดปกติที่ตรวจได้ในระดับโครโมโซม แม้แต่โรคทางพันธุกรรมที่พบว่ามีความสัมพันธ์กับการเกิดออทิซึมสเปกตรัม ก็ยังไม่พบว่ามีโรคใดที่ทำให้เกิดโรคเหล่านี้ได้โดยจำเพาะ

โรคออทิซึมในประเทศไทย

ในประเทศไทย โรงพยาบาลยุวประสาทไวทโยปถัมภ์ ได้ร่วมมือ กับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต จัดการศึกษาแบบเรียนร่วมกับคนพิการหูหนวกในชั้นอนุบาลทีโรงเรียนอนุบาลละอออุทิศ ต่อมา โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ได้จัดการศึกษาแบบเรียนร่วมกับบุคคลที่ไม่ได้เป็นโรค ตั้งแต่เดือนมิถุนายน พ.ศ 2533 โดยรับนักเรียนที่จบชั้นอนุบาลมาจากโรงเรียนอนุบาลละอออุทิศ ภายหลังที่มีบุคคลที่เป็นโรคออทิซึมเรียนจบ ได้เข้าศึกษาต่อที่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางส่วน เรียน หลักสูตรบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต เมื่อเรียนจบ ปรากฏว่าบุคคลที่เป็นโรคออทิซึมนั้น ตกงาน ส่งผลให้ โรงพยาบาลยุวประสาทไวทโยปถัมภ์ และ โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา และ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ต้องจ้างเข้าทำงาน ปัจจุบันมี 148 คนที่เรียนจบหรือกำลังศึกษาที่สาธิตเกษตร อาทิลูกสาว ทนง พิทยะ

โรงพยาบาลยุวประสาทไวทโยปถัมภ์ยังจัดให้มีโครงการฝึกอาชีพเป็นระยะเวลา 1 ปี เพื่อให้บุคคลออทิสติกได้มีโอากาสในการทำงานกับบริษัทต่าง ๆ แต่อัตราจ้างงานต่ำทั้งนี้ยังไม่มีผลสำรวจถึงการไล่ออกจากงานในกลุ่มคนที่เป็นออทิสติก หรือนายจ้างไม่พอใจผลการทำงานในคนกลุ่มนี้

ด้านชีวิตครอบครัวบุคคลที่เป็นโรคออทิซึมที่จบการศึกษาจาก โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา นั้น ไม่มีใครแต่งงานหรือสมรสแม้แต่รายเดียว บุคคลจากโครงการดังกล่าวไม่ได้รับการยอมรับจากเพศตรงข้าม และ ประสบความล้มเหลวโดยสิ้นเชิงในการหาคู่สมรสแม้ตนเองมาจากครอบครัวที่มีฐานะร่ำรวย

นอกจากนั้นบุคคลจาก โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ที่เป็นโรคเสี่ยงต่อการถูกหลอกลวงทางทรัพย์สินจากคนรักของตนเอง รวมทั้งเสี่ยงต่อการถูกหลอกลวงทางทรัพย์สินจากเพื่อนที่คนที่ตนเองไว้ใจ เพื่อเป็นการป้องกันการหลอกลวงดังกล่าวผู้ปกครองบางราย อาทิ อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ จึงเลือกวิธีทางกฎหมายโดยฟ้องร้องต่อศาลเยาวชนและครอบครัวให้บุตรเป็นบุคคลเสมือนไร้ความสามารถ ซึ่งเป็นการป้องกันไม่ให้บุตรจ่ายเงินให้กับคนรัก เพื่อนหรือแม้แต่คนที่ตนเองไว้ใจ ในจำนวนที่ไม่เหมาะสม เนื่องจากกฎหมายได้ห้ามการให้โดยเสน่หา เว้นแต่การให้ตามฐานานุรูป บุคคลที่ใช้วิธีนี้ นอกจาก อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ยังมีอีกหลายราย อาทิ ร้อยตำรวจโท สมพงษ์ กัณหารี

ด้านการหางานทำนั้นพบว่าส่วนใหญ่ประสบความล้มเหลวจนต้องให้สถานที่ที่บุคคลเหล่านั้นเคยได้รับการศึกษา หรือ ได้รับการรักษาพยาบาลเป็นคนจ้างเข้าทำงาน

ในประเทศไทยยังพบกรณีของการฆ่าลูกตัวเองที่ป่วยเป็นโรคออทิซึม พบกรณีพี่สาวพาแฟนพี่สาวมาข่มขืนรวมทั้งกรณีพ่อเลี้ยง น้าชายและเพื่อนบ้าน ข่มขืน การกลั่นแกล้งด้วยข่าวลืออันเป็นเท็จเพื่อจงใจใส่ร้ายป้ายสีบุคคลที่เป็นโรคออทิซึม แม้แต่การทำร้ายร่างกายอย่างเปิดเผยภายในโรงเรียน

พ่อแม่ที่มีลูกเป็นโรคออทิซึม มักถูกหลอกเพื่อให้เสียทรัพย์โดยการอ้างว่าสามารถรักษาหรือช่วยเหลือลูกตัวเองได้ การรักษาบางอย่าง เช่นการรักษาด้วย ไฮเปอร์แบริค (HBO) รักษาด้วยออกซิเจนบริสุทธิ์ 100% การฝังเข็ม ไม่เป็นที่พิสูจน์ ในขณะที่บุคคลที่เป็นโรคออทิซึม นั้นได้รับการกล่าวหาว่าเป็นอภิสิทธิ์ชนที่คนอื่นไม่สามารถว่าอะไรได้มากนักในกรณีทำผิดร้ายแรงเช่นขับรถชนคนเสียชีวิต เป็นบุคคลที่ไร้ความรับผิดชอบต่อสังคมหรือเป็นภาระต่อสังคม บุคคลที่เป็นโรคดังกล่าวมักได้รับคำพูดที่รุนแรง อาทิ เด็กปัญญาอ่อน เด็กออ คนโรคจิต หรือ บุคคลที่ไม่สามารถมีเรื่องมีราวกับเขาได้ เพราะเขาเป็นโรคออทิซึม การไม่ไว้ใจให้ทำงานร่วมกัน แม้แต่การเหยียดหยามถึงบุพการีว่าไม่ควรเลี้ยงให้บุคคลกลุ่มนี้โตขึ้นมาเป็นภาระสังคม

อ้างอิง

  1. "NIMH » Autism Spectrum Disorder". nimh.nih.gov (ภาษาอังกฤษ). October 2016. สืบค้นเมื่อ 20 April 2017.
  2. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Ch2012
  3. Corcoran, Jacqueline; Walsh, Joseph (9 February 2006). Clinical Assessment and Diagnosis in Social Work Practice. Oxford University Press, USA. p. 72. ISBN 9780195168303 – โดยทาง Google Books.
  4. Myers SM, Johnson CP, Council on Children with Disabilities (2007). "Management of children with autism spectrum disorders". Pediatrics. 120 (5): 1162–82. doi:10.1542/peds.2007-2362. PMID 17967921. Unknown parameter |laysummary= ignored (help)CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  5. GBD 2015 Disease and Injury Incidence and Prevalence, Collaborators. (8 October 2016). "Global, regional, and national incidence, prevalence, and years lived with disability for 310 diseases and injuries, 1990-2015: a systematic analysis for the Global Burden of Disease Study 2015". Lancet. 388 (10053): 1545–1602. doi:10.1016/S0140-6736(16)31678-6. PMC 5055577. PMID 27733282.
  6. American Psychiatric Association (2000). "Diagnostic criteria for 299.00 Autistic Disorder". Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorders (4th, text revision (DSM-IV-TR) ed.). ISBN 0890420254. สืบค้นเมื่อ 2009-02-17.
  7. Abrahams BS, Geschwind DH (2008). "Advances in autism genetics: on the threshold of a new neurobiology". Nat Rev Genet. 9 (5): 341–55. doi:10.1038/nrg2346. PMID 18414403.
  8. Arndt TL, Stodgell CJ, Rodier PM (2005). "The teratology of autism". Int J Dev Neurosci. 23 (2–3): 189–99. doi:10.1016/j.ijdevneu.2004.11.001. PMID 15749245.CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  9. Rutter M (2005). "Incidence of autism spectrum disorders: changes over time and their meaning". Acta Paediatr. 94 (1): 2–15. doi:10.1080/08035250410023124. PMID 15858952.
  10. Newschaffer CJ, Croen LA, Daniels J; และคณะ (2007). "The epidemiology of autism spectrum disorders". Annu Rev Public Health. 28: 235–58. doi:10.1146/annurev.publhealth.28.021406.144007. PMID 17367287. Explicit use of et al. in: |author= (help)CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  11. Howlin P, Goode S, Hutton J, Rutter M (2004). "Adult outcome for children with autism". J Child Psychol Psychiatry. 45 (2): 212–29. doi:10.1111/j.1469-7610.2004.00215.x. PMID 14982237.CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  12. สลดหนุ่มวัยทีนออทิสติกฆ่าคน
  13. จ้างงาน’ออทิสติก’ เปิดพื้นที่ใหม่ให้เด็ก(พิเศษ)
  14. ประกาศศาลเยาวชนและครอบครัว
  15. แม่ฆ่าลูกออทิสติกกอดศพสองวัน
  16. จับได้แล้ว !! พี่สาว-แฟนหนุ่มข่มขืนน้องสาวออทิสติก
  17. รวบแล้วพ่อเลี้ยงข่มขืนลูกออทิสติก
  18. รวบพ่อเลี้ยงเพื่อนบ้านข่มขืนออทิสติก
  19. แม่เด็ก ป.4 โร่แจ้งความ รุ่นพี่ ม.2 ถีบหน้า จักรทิพย์ สั่งจนท.ดำเนินคดีตรงไปตรงมา
  20. {https://www.dek-d.com/board/view/899660/ หมูฉอมขับรถชนคนตาย]

แหล่งข้อมูลอื่น

การจำแนกโรค
V · T · D
  • ICD-10: F84.0
  • ICD-9-CM: 299.00
  • OMIM: 209850
  • MeSH: D001321
  • DiseasesDB: 1142
ทรัพยากรภายนอก
  • MedlinePlus: 001526
  • eMedicine: med/3202 ped/180
  • Patient UK: โรคออทิซึม
  • GeneReviews: Autism overview
  • Autism at the Open Directory Project

โรคออท, งกฤษ, autism, เป, นความผ, ดปกต, ในการเจร, ญของระบบประสาท, โดยม, กษณะเด, นค, อความบกพร, องด, านปฏ, มพ, นธ, ทางส, งคมและการส, อสาร, และม, พฤต, กรรมทำก, จกรรมบางอย, างซ, วยท, เป, นโรคน, กเร, ยกก, นว, าผ, วยออท, สต, อาการแสดงด, งกล, าวม, กปรากฏในว, ยเด, กก. orkhxxthisum xngkvs Autism epnkhwamphidpktiinkarecriykhxngrabbprasath odymilksnaednkhuxkhwambkphrxngdanptismphnththangsngkhmaelakarsuxsar aelamiphvtikrrmthakickrrmbangxyangsa phupwythiepnorkhnimkeriykknwaphupwyxxthistik xakaraesdngdngklawmkpraktinwyedkkxnxayu 3 pi 6 nxkcakniyngmikhwambkphrxngdansngkhmaelakarsuxsarthicdinklumiklekhiyngorkhxxthisum eriykwa Autism spectrum disorder ASD xathiklumxakaraexsephxrekxr Asperger syndrome thimixakaraelaxakaraesdngnxykwa 4 orkhxxthisumxakarchxbsxnkhxnghruxeriyngkhxngsaipsamamikhwamsmphnthkborkhxxthisumsakhawichacitewch citewchedk xakarkhwambkphrxnginkarsuxsarkbbukhkhl khwamsamarththangkarphud xwcnphasa miphvtikrrmthiekidkhunsakartngtn2 khwb 1 rayadaeninorkhrayayawsaehtuphnthukrrm aela sngkhm 2 withiwinicchyBased on behavior and developmental history 1 orkhxunthikhlayknReactive attachment disorder intellectual disability schizophrenia 3 karrksaEarly speech and behavioral interventions 4 khwamchuk24 8 lan 2015 5 orkhxxthisummikhwamekiywkhxngkbphnthukrrmxyangmak aemwakarthaythxdthangphnthukrrmcamikhwamsbsxnaelayngimsamarthxthibayklumxakar ASD idcakptismphnthhlayyinhruxkarklayphnthu 7 phupwycanwnnxyphbwamikhwamekiywkhxngkbsarkxwirup sarthikxihekidkhwamphidpktiaetkaenid 8 bangaehlngkhxmulesnxsaehtukhxngorkhxxthisumiwhlakhlay echn karihwkhsininwyedk sungepnthithkethiyngkninpccubn aelasmmtithandngklawyngkhadhlkthanthiechuxthuxidthangwithyasastr 9 khwamchukkhxngklumxakar ASD ekidraw 6 in 1 000 khn aelaepninedkchayepn 4 ethakhxngedkhying canwnphupwythipwydwyorkhxxthisumphbwaephimkhunxyangmaktngaetthswrrsthi 1980 thngnibangswnenuxngcakkarepliynwithikarwinicchy aetkhwamchukaethcringephimkhunhruximnnyngimepnthithrab 10 phupwyorkhxxthisummikhwamphidpktithihlayswnkhxngsmxngsungyngimthrabsaehtu phupkkhrxngmksngektxakarphupwyidinchwngxayu 2 khwbpiaerk aemwakarbabddwyphvtikrrmaelakarrbruodynkkayphaphbabdaelankcitwithyakhliniktngaeteyawwycachwyphthnaihphupwyduaeltnexng mithksadansngkhmaelakarsuxsarid aetkarrksathiaethcringyngimepnthithrab 4 edkthipwydwyorkhninxyraythisamarthichchiwitidxyangxisrahlngekhasuwyphuihy aetkmibangswnthiprasbkhwamsaerc 11 xyangirktamphbwakhnthiepnorkhxxthisumidrbkarptiesthcaksngkhmxyangmakcnepnsaehtukhxngkarichkhwamrunaernginkarichxawuthpunkhakhnxun 12 enuxha 1 saehtu 2 orkhxxthisuminpraethsithy 3 xangxing 4 aehlngkhxmulxunsaehtu aekikhepnthiechuxknmananwamisaehtuaerkerimmacaksaehtuhnungkhxngxakarsakhythngsamxyangkhxngorkhxxthisum odysaehtuxacepninradbphnthukrrm radbstipyya hruxradbesllprasath xyangirkdi inphayhlngerimepnthisngsywaorkhxxthisumepnorkhthisaehtusbsxn odyxakaraetladanmisaehtuthiaetktangknaetekidaelaphbrwmknbxy epntnorkhxxthisummikhwamsmphnthkbphnthukrrmepnxyangmak thungaemphnthusastrkhxngorkhxxthisumcamikhwamsbsxn aelayngimepnthichdecnwaorkhehlaniekidcakkarklayphnthutaaehnngediywthiphbidnxy aelwkarklayphnthutaaehnngediywnithaihekidphlhlay xyangtamma hrux ekidcakkarklayphnthuhlay thi thiaetlatwmioxkasphbidbang aetkarekidphrxm knnnphbidnxy aelwptismphnthrahwangyinhlay yinnithaihekidxakarkhxngorkh khwamsbsxnniekidcakkarthiyinaetlayin pccysingaewdlxm aelakarthaythxdaebbxiphiecentiks phlthiekidkblksnaaesdngxxk thithaythxdid thiimidmacakrhsphnthukrrm aetmacakpccyxun thikhwbkhumkaraesdngxxkkhxngphnthukrrm tangmiptismphnthknxyangsbsxn karwicydwykarhaladbphnthukrrmthnghmdkhxngphupwyaelayati thaihmikarkhnphbyinhlay yin thiphbwamikhwamsmphnthkbkarekidorkhxxthisum aetephiyngethaniyngimsamarthsrupidwayinehlaniepnsaehtukhxngkarekidorkhkarwicykbfaaefdidphlwaorkhxxthisummikhadchnikarthaythxdxyuthi 0 7 aelasahrborkhxun inklumorkhxxthisumsepktrmmikhadchnikarthaythxdsungthung 0 9 khnthimiphinxngepnorkhxxthisummioxkasepnorkhnimakkwakhnthwip 25 etha xyangirkdi lksnakarthaythxdkhxngphnthukrrmorkhxxthisumniyngimekhakbkarthaythxdlksnathangphnthukrrmaebbyinediyw aebbemnedl hruxekidcakkhwamphidpktithitrwcidinradbokhromosm aemaetorkhthangphnthukrrmthiphbwamikhwamsmphnthkbkarekidxxthisumsepktrm kyngimphbwamiorkhidthithaihekidorkhehlaniidodycaephaaorkhxxthisuminpraethsithy aekikhinpraethsithy orngphyabalyuwprasathiwthoypthmph idrwmmux kbmhawithyalyswndusit cdkarsuksaaebberiynrwmkbkhnphikarhuhnwkinchnxnubalthiorngeriynxnuballaxxxuthis txma orngeriynsathitaehngmhawithyalyekstrsastr sunywicyaelaphthnakarsuksa idcdkarsuksaaebberiynrwmkbbukhkhlthiimidepnorkh tngaeteduxnmithunayn ph s 2533 odyrbnkeriynthicbchnxnubalmacakorngeriynxnuballaxxxuthis phayhlngthimibukhkhlthiepnorkhxxthisumeriyncb idekhasuksatxthi mhawithyalyekstrsastr bangswn eriyn hlksutrbrrnarkssastraelasarsnethssastr mhawithyalyrachphtswndusit emuxeriyncb praktwabukhkhlthiepnorkhxxthisumnn tkngan sngphlih orngphyabalyuwprasathiwthoypthmph aela orngeriynsathitaehngmhawithyalyekstrsastr sunywicyaelaphthnakarsuksa aela mhawithyalyswndusit txngcangekhathangan pccubnmi 148 khnthieriyncbhruxkalngsuksathisathitekstr xathiluksaw thnng phithyaorngphyabalyuwprasathiwthoypthmphyngcdihmiokhrngkarfukxachiphepnrayaewla 1 pi ephuxihbukhkhlxxthistikidmioxakasinkarthangankbbristhtang 13 aetxtracangngantathngniyngimmiphlsarwcthungkarilxxkcaknganinklumkhnthiepnxxthistik hruxnaycangimphxicphlkarthanganinkhnklumnidanchiwitkhrxbkhrwbukhkhlthiepnorkhxxthisumthicbkarsuksacak orngeriynsathitaehngmhawithyalyekstrsastr sunywicyaelaphthnakarsuksa nn immiikhraetngnganhruxsmrsaemaetrayediyw bukhkhlcakokhrngkardngklawimidrbkaryxmrbcakephstrngkham aela prasbkhwamlmehlwodysinechinginkarhakhusmrsaemtnexngmacakkhrxbkhrwthimithanararwynxkcaknnbukhkhlcak orngeriynsathitaehngmhawithyalyekstrsastr sunywicyaelaphthnakarsuksa thiepnorkhesiyngtxkarthukhlxklwngthangthrphysincakkhnrkkhxngtnexng rwmthngesiyngtxkarthukhlxklwngthangthrphysincakephuxnthikhnthitnexngiwic ephuxepnkarpxngknkarhlxklwngdngklawphupkkhrxngbangray xathi xphisiththi ewchchachiwa cungeluxkwithithangkdhmayodyfxngrxngtxsaleyawchnaelakhrxbkhrwihbutrepnbukhkhlesmuxnirkhwamsamarth sungepnkarpxngknimihbutrcayenginihkbkhnrk ephuxnhruxaemaetkhnthitnexngiwic incanwnthiimehmaasm enuxngcakkdhmayidhamkarihodyesnha ewnaetkarihtamthananurup bukhkhlthiichwithini nxkcak xphisiththi ewchchachiwa yngmixikhlayray xathi rxytarwcoth smphngs knhari 14 dankarhanganthannphbwaswnihyprasbkhwamlmehlwcntxngihsthanthithibukhkhlehlannekhyidrbkarsuksa hrux idrbkarrksaphyabalepnkhncangekhathanganinpraethsithyyngphbkrnikhxngkarkhaluktwexngthipwyepnorkhxxthisum 15 phbkrniphisawphaaefnphisawmakhmkhun 16 rwmthngkrniphxeliyng nachayaelaephuxnban khmkhun 17 18 karklnaeklngdwykhawluxxnepnethcephuxcngicisraypaysibukhkhlthiepnorkhxxthisum aemaetkartharayrangkayxyangepidephyphayinorngeriyn 19 phxaemthimilukepnorkhxxthisum mkthukhlxkephuxihesiythrphyodykarxangwasamarthrksahruxchwyehluxluktwexngid karrksabangxyang echnkarrksadwy ihepxraebrikh HBO rksadwyxxksiecnbrisuththi 100 karfngekhm imepnthiphisucn inkhnathibukhkhlthiepnorkhxxthisum nnidrbkarklawhawaepnxphisiththichnthikhnxunimsamarthwaxairidmaknkinkrnithaphidrayaerngechnkhbrthchnkhnesiychiwit 20 epnbukhkhlthiirkhwamrbphidchxbtxsngkhmhruxepnpharatxsngkhm bukhkhlthiepnorkhdngklawmkidrbkhaphudthirunaerng xathi edkpyyaxxn edkxx khnorkhcit hrux bukhkhlthiimsamarthmieruxngmirawkbekhaid ephraaekhaepnorkhxxthisum karimiwicihthanganrwmkn aemaetkarehyiydhyamthungbuphkariwaimkhwreliyngihbukhkhlklumniotkhunmaepnpharasngkhmxangxing aekikh 1 0 1 1 NIMH Autism Spectrum Disorder nimh nih gov phasaxngkvs October 2016 subkhnemux 20 April 2017 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux Ch2012 Corcoran Jacqueline Walsh Joseph 9 February 2006 Clinical Assessment and Diagnosis in Social Work Practice Oxford University Press USA p 72 ISBN 9780195168303 odythang Google Books 4 0 4 1 4 2 Myers SM Johnson CP Council on Children with Disabilities 2007 Management of children with autism spectrum disorders Pediatrics 120 5 1162 82 doi 10 1542 peds 2007 2362 PMID 17967921 Unknown parameter laysummary ignored help CS1 maint multiple names authors list link GBD 2015 Disease and Injury Incidence and Prevalence Collaborators 8 October 2016 Global regional and national incidence prevalence and years lived with disability for 310 diseases and injuries 1990 2015 a systematic analysis for the Global Burden of Disease Study 2015 Lancet 388 10053 1545 1602 doi 10 1016 S0140 6736 16 31678 6 PMC 5055577 PMID 27733282 American Psychiatric Association 2000 Diagnostic criteria for 299 00 Autistic Disorder Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorders 4th text revision DSM IV TR ed ISBN 0890420254 subkhnemux 2009 02 17 Abrahams BS Geschwind DH 2008 Advances in autism genetics on the threshold of a new neurobiology Nat Rev Genet 9 5 341 55 doi 10 1038 nrg2346 PMID 18414403 Arndt TL Stodgell CJ Rodier PM 2005 The teratology of autism Int J Dev Neurosci 23 2 3 189 99 doi 10 1016 j ijdevneu 2004 11 001 PMID 15749245 CS1 maint multiple names authors list link Rutter M 2005 Incidence of autism spectrum disorders changes over time and their meaning Acta Paediatr 94 1 2 15 doi 10 1080 08035250410023124 PMID 15858952 Newschaffer CJ Croen LA Daniels J aelakhna 2007 The epidemiology of autism spectrum disorders Annu Rev Public Health 28 235 58 doi 10 1146 annurev publhealth 28 021406 144007 PMID 17367287 Explicit use of et al in author help CS1 maint multiple names authors list link Howlin P Goode S Hutton J Rutter M 2004 Adult outcome for children with autism J Child Psychol Psychiatry 45 2 212 29 doi 10 1111 j 1469 7610 2004 00215 x PMID 14982237 CS1 maint multiple names authors list link sldhnumwythinxxthistikkhakhn cangngan xxthistik epidphunthiihmihedk phiess prakassaleyawchnaelakhrxbkhrw aemkhalukxxthistikkxdsphsxngwn cbidaelw phisaw aefnhnumkhmkhunnxngsawxxthistik rwbaelwphxeliyngkhmkhunlukxxthistik rwbphxeliyngephuxnbankhmkhunxxthistik aemedk p 4 oraecngkhwam runphi m 2 thibhna ckrthiphy sngcnth daeninkhditrngiptrngma https www dek d com board view 899660 hmuchxmkhbrthchnkhntay aehlngkhxmulxun aekikhkarcaaenkorkhV T DICD 10 F84 0ICD 9 CM 299 00OMIM 209850MeSH D001321DiseasesDB 1142thrphyakrphaynxkMedlinePlus 001526eMedicine med 3202 ped 180Patient UK orkhxxthisumGeneReviews Autism overviewkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb orkhxxthisumAutism at the Open Directory Project bthkhwamekiywkbaephthysastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy aephthysastrekhathungcak https th wikipedia org w index php title orkhxxthisum amp oldid 8720754, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม