fbpx
วิกิพีเดีย

การถอดเป็นอักษรโรมันแบบเฮปเบิร์น

การถอดเป็นอักษรโรมันแบบเฮปเบิร์น (ญี่ปุ่น: ヘボン式ローマ字โรมาจิHebon-shiki rōmaji; "อักษรโรมันแบบเฮปเบิร์น") เป็นระบบการถอดเป็นอักษรโรมันสำหรับภาษาญี่ปุ่น เผยแพร่ครั้งแรกใน ค.ศ. 1867 โดยมิชชันนารีชาวอเมริกัน เจมส์ เคอร์ติส เฮปเบิร์น เพื่อเป็นมาตรฐานในพจนานุกรมภาษาญี่ปุ่น–ภาษาอังกฤษ ฉบับแรกของเขา ระบบนี้แตกต่างจากวิธีการถอดเป็นอักษรโรมันอื่น ๆ อย่างชัดเจนที่การใช้อักขรวิธีภาษาอังกฤษในการถอดเสียงตามหลักสัทศาสตร์ เช่น สระ [ɕi] () ถอดเป็น shi และ [tɕa] (ちゃ) ถอดเป็น cha ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงการสะกดแบบภาษาอังกฤษของระบบนี้ (เมื่อเปรียบเทียบกับการถอดเป็น si และ tya ในระบบนิฮงชิกิและคุนเรชิกิที่มีความเป็นระบบมากกว่า)

เจมส์ เคอร์ติส เฮปเบิร์น ผู้คิดค้นการถอดเป็นอักษรโรมันแบบเฮปเบิร์น

ใน ค.ศ. 1886 เฮปเบิร์นตีพิมพ์พจนานุกรมฉบับที่สามของเขา โดยจัดระเบียบแบบทบทวนใหม่ซึ่งเป็นที่รู้จักในทุกวันนี้คือ "เฮปเบิร์นแบบดั้งเดิม" และใน ค.ศ. 1908 เขาตีพิมพ์แบบทบทวนเพิ่มเติมหรือที่รู้จักกันในชื่อ "เฮปเบิร์นแบบแก้ไขเพิ่มเติม"

แม้ว่าการถอดเป็นอักษรโรมันแบบคุนเรชิกิจะได้รับการยอมรับโดยรัฐบาลญี่ปุ่น แต่เฮปเบิร์นยังคงเป็นวิธีการถอดเป็นอักษรโรมันของภาษาญี่ปุ่นที่เป็นที่นิยมมากที่สุด มีการเรียนการสอนโดยใช้ระบบเฮปเบิร์นในนักเรียนภาษาต่างชาติ และมีการใช้ระบบนี้ในการถอดชื่อ สถานที่ และข้อมูลอื่น ๆ เป็นอักษรโรมัน อาทิ ตารางการเดินรถไฟและป้ายถนน เนื่องด้วยระบบนี้ใช้อักขรวิธีที่อิงจากอักขรวิธีภาษาอังกฤษแทนการการถอดเสียงอย่างเป็นระบบจากชุดตัวหนังสือพยางค์ภาษาญี่ปุ่น ผู้พูดที่สามารถพูดได้แต่ภาษาอังกฤษหรือกลุ่มภาษาโรมานซ์[โปรดขยายความ] จะพูดได้อย่างถูกต้องกว่าเมื่อต้องออกเสียงคำที่ไม่คุ้นเคยด้วยการถอดเสียงแบบเฮปเบิร์น เมื่อเปรียบเทียบกับระบบอื่น ๆ

แบบ

มีการถอดเป็นอักษรโรมันแบบเฮปเบิร์นหลายแบบ โดยสองแบบทั่วไปคือ:

  • เฮปเบิร์นแบบดั้งเดิม (Traditional Hepburn): ตามนิยามในพจนานุกรมของเฮปเบิร์นหลายฉบับ โดยในฉบับที่สาม (ค.ศ. 1886) ระบุว่าการถอดแบบดั้งเดิมเป็นที่ยอมรับและเชื่อถือได้ (แม้ว่าต้องรับผิดชอบการเปลี่ยนของการใช้คานะ) เฮปเบิร์นแบบดั้งเดิมมีเอกลักษณ์ที่การแทนพยางค์ n ด้วย m ก่อนหน้าพยัญชนะ b, m และ p: เช่น Shimbashi สำหรับคำว่า 新橋
  • เฮปเบิร์นแบบแก้ไขเพิ่มเติม (Modified Hepburn) หรือ เฮปเบิร์นทบทวนใหม่ (Revised Hepburn): ยกเลิกการแทนพยางค์ n ด้วย m ก่อนหน้าบางพยัญชนะ (Shinbashi สำหรับคำว่า 新橋) การถอดแบบแก้ไขเพิ่มเติมถูกตีพิมพ์ในฉบับที่สาม (ค.ศ. 1954) และฉบับถัดมาของพจนานุกรมภาษาญี่ปุ่น–ภาษาอังกฤษใหม่ของเค็งกีวชะ มักเป็นที่ยอมรับและเชื่อถือได้ เฮปเบิร์นแบบแก้ไขเพิ่มเติมเป็นแบบที่เป็นที่นิยมและถูกนำไปใช้มากที่สุด

ในประเทศญี่ปุ่น มีการกำหนดแบบอย่างเป็นทางการบางส่วนเพื่อนำไปใช้ในหลากหลายการใช้งาน:

  • มาตรฐานการรถไฟ (鉄道掲示基準規程, "Railway Standard") เหมือนเฮปเบิร์นแก้ไขเพิ่มเติม แต่การแทนพยางค์ n ยังคงเหมือนแบบดั้งเดิม กลุ่มบริษัทรถไฟญี่ปุ่นและบริษัทให้บริการรถไฟรายใหญ่อื่น ๆ นำไปใช้เป็นชื่อสถานี
  • ป้ายถนนโรมาจิ (เฮปเบิร์น) (道路標識のローマ字, "Road Sign Romaji (Hepburn)") ใช้สำหรับป้ายบนถนน เหมือนเฮปเบิร์นแบบแก้ไขเพิ่มเติม แต่ระบุอย่างชัดเจนว่าจะไม่ใช้เครื่องหมายกำกับเสียง (macron)
  • มาตรฐานหนังสือเดินทางกระทรวงการต่างประเทศ (外務省旅券規定, "Ministry of Foreign Affairs Passport Standard") แทนพยางค์ n ด้วย m ก่อนหน้าพยัญชนะ b, m และ p สระเสียงยาวจะไม่มีสัญลักษณ์กำกับ เช่น สระเสียงยาว ō จะถอดเป็นอักษรโรมันด้วย oh, oo หรือ ou (Satoh, Satoo หรือ Satou สำหรับคำว่า 佐藤)

แบบพ้นสมัยแล้ว

ลักษณะ

ในการถอดเป็นอักษรโรมันแบบเฮปเบิร์น สระผสมที่สร้างเสียงลากยาวมักเขียนแมครอน (◌̄) ประกอบ สระประชิด (adjacent vowel) อื่น ๆ ที่ถูกแยกด้วยขอบเขตหน่วยคำ (morpheme boundary) จะเขียนแยกกัน:

สระที่มีหน่วยคำเดียวกัน
ในเฮปเบิร์นดั้งเดิม ในเฮปเบิร์นแก้ไขเพิ่มเติม
A + A aa: (ばあ)さんobaasan 'ย่า, ยาย'
(ba + a)
ā: (ばあ)さんobāsan 'ย่า, ยาย'
(ba + a)
I + I ii: (にい) (がた)Niigata
(ni + i)
U + U ū: (すう) (がく)sūgaku 'คณิตศาสตร์'
(su + u)
E + E ee: (ねえ)さんoneesan 'พี่สาว'
(ne + e)
ē: (ねえ)さんonēsan 'พี่สาว'
(ne + e)
O + O ō: (とお) (まわ)tōmawari 'ทางเบี่ยง'
(to + o)
O + U ō: (べん) (きょう)benkyō 'การเรียน'
(kyo + u)
สระที่มีหน่วยคำแยกกัน
ในเฮปเบิร์นแบบดั้งเดิม และแบบแก้ไขเพิ่มเติม
A + A aa: (じゃ) (あく)ja + akujaaku 'ชั่วร้าย'
I + I ii: (はい) (いろ)hai + irohaiiro 'สีเทา'
U + U uu: (みずうみ)mizu + umimizuumi 'ทะเลสาบ'
E + E ee: () (えん)nure + ennureen 'เฉลียงแบบเปิด'
O + O oo: () (おど)ko + odorikoodori 'การเต้นอย่างมีความสุข'
O + U ou: () (うし)ko + ushikoushi 'ลูกวัว'

สระผสมอื่น ๆ เขียนแยกกันทั้งหมด:

  • E + I: (せい) (ふく)sei + fukuseifuku 'เครื่องแบบ' (แม้ E + I มักออกเสียงเป็น E ยาว)
  • U + I: (かる)karu + ikarui 'เบา'
  • O + I: (おい)oioi 'หลานชาย'

คำยืม

ในคำยืมต่างประเทศ สระเสียงยาวที่ตามด้วย โชองปุ (ー) จะเขียนแมครอนประกอบ:

  • セーラー: se + (ー) + ra + (ー) = sērā '(ชุด)กะลาสี'
  • タクシー: ta + ku + shi + (ー) = takushī 'แท็กซี่'
  • コンクール: ko + n + ku + (ー) + ru = konkūru 'การแข่งขัน'
  • バレーボール: ba + re + (ー) + bo + (ー) + ru = barēbōru 'วอลเลย์บอล'
  • ソール: so + (ー) + ru = sōru 'ฝ่าเท้า'

สระประชิดในคำยืมจะเขียนแยกกัน:

  • バレエ: ba + re + ebaree 'บัลเลต์'
  • ミイラ: mi + i + ramiira 'มัมมี่'
  • ソウル: so + u + rusouru 'วิญญาณ', 'โซล'

คำช่วย

ในเฮปเบิร์นแบบดั้งเดิมและแก้ไขเพิ่มเติม:

  • เมื่อ ทำหน้าที่เป็นคำช่วย จะเขียนเป็น wa

ในเฮปเบิร์นแบบดั้งเดิม:

  • เมื่อ ทำหน้าที่เป็นคำช่วย เฮปเบิร์นเคยแนะนำให้ใช้ ye ไม่ใช้การสะกดแบบนี้แล้ว และมักเขียนเป็น e แทน
  • เมื่อ ทำหน้าที่เป็นคำช่วย เขียนเป็น wo

ในเฮปเบิร์นแบบแก้ไขเพิ่มเติม:

  • เมื่อ ทำหน้าที่เป็นคำช่วย, เขียนเป็น e
  • เมื่อ ทำหน้าที่เป็นคำช่วย, เขียนเป็น o

พยางค์ n

ในเฮปเบิร์นแบบดั้งเดิม::

พยางค์ n () เขียนเป็น n ก่อนหน้าพยัญชนะ แต่เขียนเป็น m ก่อน พยัญชนะเสียงริมฝีปาก: b, m, และ p. บางครั้งเขียนเป็น n- (มียัติภังค์) ก่อนหน้าสระ และ y (เพื่อหลีกเลี่ยงความสับสนระหว่างทั้งสอง เช่น んあ n + a และ na, และ んや n + ya and にゃ nya)
  • 案内(あんない): annai – การนำทาง
  • 群馬(ぐんま): Gummaกุมมะ
  • 簡易(かんい): kan-i – ความเรียบง่าย
  • 信用(しんよう): shin-yō – ความเชื่อใจ

ในเฮปเบิร์นแบบแก้ไขเพิ่มเติม:

ยกเลิกการเขียนด้วย m ก่อนหน้าพยัญชนะเสียงริมฝีปาก และแทนด้วยการเขียนเป็น n และยังเขียน n' (มีอะพอสทรอฟี) ก่อนหน้าสระและ y
  • 案内(あんない): annai – การนำทาง
  • 群馬(ぐんま): Gunma – กุมมะ
  • 簡易(かんい): kan'i – ความเรียบง่าย
  • 信用(しんよう): shin'yō – ความเชื่อใจ

พยัญชนะเสียงยาว

เสียงซ้ำพยัญชนะ (geminate consonant sound) จะซ้ำพยัญชนะตัวข้างหน้าที่ตามด้วยโซกูอง () สำหรับพยัญชนะที่เป็นทวิอักษร (digraph) ในเฮปเบิร์น (sh, ch, ts) จะซ้ำแค่พยัญชนะตัวแรกเท่านั้น ยกเว้น ch จะแทนด้วย tch

  • 結果(けっか): kekka – ผลลัพธ์
  • さっさと: sassato – อย่างรวดเร็ว
  • ずっと: zutto – ตลอด
  • 切符(きっぷ): kippu – ตั๋ว
  • 雑誌(ざっし): zasshi – นิตยสาร
  • 一緒(いっしょ): issho – ด้วยกัน
  • こっち: kotchi (ไม่ใช้ kocchi) – ทางนี้
  • 抹茶(まっちゃ): matcha (ไม่ใช่ maccha) – มัตจะ
  • 三つ(みっつ): mittsu – สาม

ตารางการถอดเป็นอักษรโรมัน

โกจูอง โยอง
あ ア a い イ i う ウ u え エ e お オ o
か カ ka き キ ki く ク ku け ケ ke こ コ ko きゃ キャ kya きゅ キュ kyu きょ キョ kyo
さ サ sa し シ shi す ス su せ セ se そ ソ so しゃ シャ sha しゅ シュ shu しょ ショ sho
た タ ta ち チ chi つ ツ tsu て テ te と ト to ちゃ チャ cha ちゅ チュ chu ちょ チョ cho
な ナ na に ニ ni ぬ ヌ nu ね ネ ne の ノ no にゃ ニャ nya にゅ ニュ nyu にょ ニョ nyo
は ハ ha ひ ヒ hi ふ フ fu へ ヘ he ほ ホ ho ひゃ ヒャ hya ひゅ ヒュ hyu ひょ ヒョ hyo
ま マ ma み ミ mi む ム mu め メ me も モ mo みゃ ミャ mya みゅ ミュ myu みょ ミョ myo
や ヤ ya ゆ ユ yu よ ヨ yo
ら ラ ra り リ ri る ル ru れ レ re ろ ロ ro りゃ リャ rya りゅ リュ ryu りょ リョ ryo
わ ワ wa ゐ ヰ i † ゑ ヱ e † を ヲ o ‡
ん ン n /n'
が ガ ga ぎ ギ gi ぐ グ gu げ ゲ ge ご ゴ go ぎゃ ギャ gya ぎゅ ギュ gyu ぎょ ギョ gyo
ざ ザ za じ ジ ji ず ズ zu ぜ ゼ ze ぞ ゾ zo じゃ ジャ ja じゅ ジュ ju じょ ジョ jo
だ ダ da ぢ ヂ ji づ ヅ zu で デ de ど ド do ぢゃ ヂャ ja ぢゅ ヂュ ju ぢょ ヂョ jo
ば バ ba び ビ bi ぶ ブ bu べ ベ be ぼ ボ bo びゃ ビャ bya びゅ ビュ byu びょ ビョ byo
ぱ パ pa ぴ ピ pi ぷ プ pu ぺ ペ pe ぽ ポ po ぴゃ ピャ pya ぴゅ ピュ pyu ぴょ ピョ pyo
  • แต่ละช่องประกอบด้วย ฮิรางานะ คาตากานะ และการถอดเป็นอักษรโรมันแบบเฮปเบิร์น ตามลำดับ
  • † — อักษรสีแดง เป็นตัวอักษรในอดีตและไม่มีการใช้ในภาษาญี่ปุ่นปัจจุบันแล้ว ในการถอดเป็นอักษรโรมันแบบเฮปเบิร์นปัจจุบัน ไม่พบหลักเกณฑ์การถอดอย่างชัดเจน
  • ‡ — อักษรสีน้ำเงิน มักไม่พบเห็นในหน้าที่อื่นนอกจากการทำหน้าที่เป็นคำช่วยในภาษาญี่ปุ่นปัจจุบัน การถอดเป็นอักษรโรมันเป็นไปตามกฎด้านบน

คาตากานะเสียงควบกล้ำ

การผสมเหล่านี้มักใช้เพื่อแทนเสียงในคำภาษาอื่น

ทวิอักษรที่มีพื้นหลังสีส้ม เป็นทวิอักษรที่มีการใช้โดยทั่วไปในคำยืมหรือสถานที่หรือชื่อต่างประเทศ ทวิอักษรที่มีพื้นหลังสีน้ำเงิน ถูกใช้เพื่อการถอดอักษรของเสียงต่างชาติให้ถูกต้องที่สุด ซึ่งทั้งสองนี้กระทรวงศึกษาธิการ วัฒนธรรม กีฬา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีภายใต้คณะรัฐมนตรีญี่ปุ่นเป็นผู้เสนอ คาตานากะควบกล้ำที่มีพื้นหลังสีเบจ สถาบันมาตรฐานแห่งชาติอเมริกัน และ สถาบันมาตรฐานอังกฤษ เป็นผู้เสนอให้เป็นอีกหนึ่งทางเลือกที่สามารถใช้ได้ ทวิอักษรที่มีพื้นหลังสีม่วง ปรากฏอยู่ในการถอดเป็นอักษรโรมันแบบเฮียวจุน-ชิกิ ค.ศ. 1974 ของเฮปเบิร์น

イィ yi イェ ye
ウァ wa* ウィ wi ウゥ wu* ウェ we ウォ wo
ウュ wyu
ヴァ va ヴィ vi vu ヴェ ve ヴォ vo
ヴャ vya ヴュ vyu ヴィェ vye ヴョ vyo
キェ kye
ギェ gye
クァ kwa クィ kwi クェ kwe クォ kwo
クヮ kwa
グァ gwa グィ gwi グェ gwe グォ gwo
グヮ gwa
シェ she
ジェ je
スィ si
ズィ zi
チェ che
ツァ tsa ツィ tsi ツェ tse ツォ tso
ツュ tsyu
ティ ti トゥ tu
テュ tyu
ディ di ドゥ du
デュ dyu
ニェ nye
ヒェ hye
ビェ bye
ピェ pye
ファ fa フィ fi フェ fe フォ fo
フャ fya フュ fyu フィェ fye フョ fyo
ホゥ hu
ミェ mye
リェ rye
ラ゚ la リ゚ li ル゚ lu レ゚ le ロ゚ lo
va vi ve vo
  • * — การใช้ ทั้งสองกรณีนี้เพื่อแทนเสียง w พบเห็นได้ยากในภาษาญี่ปุ่นปัจจุบัน เว้นแต่จะเป็นสแลงอินเทอร์เน็ตและใช้เพื่อการถอดเสียงละติน [w] ให้เป็นคาตากานะ เช่น ミネルウァ (Mineruwa "มิเนอร์วา", จากละติน MINERVA [mɪˈnɛrwa]); ウゥルカーヌス (Wurukānusu "วัลแคน", จากละติน VVLCANVS, Vulcānus [lˈkaːnʊs]) เสียงภาษาต่างประเทศจำพวก wa (เช่น watt หรือ white ในภาษาอังกฤษ) มักถอดเสียงเป็น ワ (wa) ขณะที่ เสียงจำพวก wu (เช่น wood หรือ woman ในภาษาอังกฤษ) ถอดเสียงเป็น ウ (u) หรือ ウー (ū)
  • ⁑ — มีรูปฮิรางานะที่พบเห็นได้ยากคือ เขียนเป็น vu ในระบบการถอดเป็นอักษรโรมันแบบเฮปเบิร์น
  • ⁂ — อักษรสีเขียว ไม่มีการใช้หรือใช้น้อยมากในภาษาญี่ปุ่นปัจจุบันแล้ว

อ้างอิง

  1. Sant, John Van; Mauch, Peter; Sugita, Yoneyuki (January 29, 2007). Historical Dictionary of United States-Japan Relations. Scarecrow Press. p. 104. ISBN 978-0-8108-6462-7.
  2. Seeley, Christopher (April 1, 2000). A History of Writing in Japan. University of Hawaii Press. pp. 139–140. ISBN 978-0-8248-2217-0.
  3. Nishiyama, Kunio; Kishimoto, Hideki; Aldridge, Edith, บ.ก. (December 15, 2018). Topics in Theoretical Asian Linguistics: Studies in Honor of John B. Whitman. John Benjamins Publishing Company. p. 292. ISBN 978-90-272-6329-2.
  4. Hadamitzky, Wolfgang; Spahn, Mark (October 2005). "Romanization systems". Wolfgang Hadamitzky: Japan-related Textbooks, Dictionaries, and Reference Works. สืบค้นเมื่อ August 10, 2017.
  5. 和英語林集成第三版 [Digital 'Japanese English Forest Collection']. Meiji Gakuin University Library (ภาษาญี่ปุ่น). Meiji Gakuin University. March 2010 [2006]. สืบค้นเมื่อ August 10, 2017.
  6. . Meijigakuin.ac.jp. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ December 16, 2013. สืบค้นเมื่อ June 29, 2012.
  7. Kudo, Yoko (January 28, 2011). "Modified Hepburn Romanization System in Japanese Language Cataloging: Where to Look, What to Follow" (pdf). Cataloging & Classification Quarterly. 49 (2): 97–120. doi:10.1080/01639374.2011.536751. S2CID 62560768.
  8. "UHM Library : Japan Collection Online Resources". Hawaii.edu. October 6, 2005. สืบค้นเมื่อ June 29, 2012.
  9. . Homepage1.nifty.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ March 1, 2012. สืบค้นเมื่อ July 13, 2012.
  10. 道路標識のローマ字(ヘボン式) の綴り方 [How to spell Roman letters (Hepburn style) of road signs]. Kictec (ภาษาญี่ปุ่น). June 14, 2012. สืบค้นเมื่อ August 10, 2017.
  11. "ヘボン式ローマ字綴方表". Ministry of Foreign Affairs of Japan. สืบค้นเมื่อ May 16, 2022.
  12. James Curtis Hepburn (1872). A Japanese-English And English-Japanese Dictionary (2nd ed.). American Presbyterian mission press. pp. 286–290. สืบค้นเมื่อ December 16, 2013.
  13. Hepburn, J. C. (James Curtis) (December 10, 1872). "Japanese-English and English-Japanese dictionary". Shanghai, American Presbyterian mission press – โดยทาง Internet Archive.
  14. James Curtis Hepburn (1886). A Japanese-English And English-Japanese Dictionary (Third ed.). Z. P Maruyama & Co. สืบค้นเมื่อ April 12, 2011.
  15. Kenkyusha's New Japanese-English Dictionary (Fourth ed.). Kenkyūsha. 1974.
  16. "標準式ローマ字つづり―引用". สืบค้นเมื่อ February 27, 2016.[แหล่งข้อมูลที่ตีพิมพ์เอง]
  17. Cabinet of Japan (November 16, 1946). [Japanese Cabinet Order No.33 in 1946 - Modern kana usage] (ภาษาญี่ปุ่น). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ October 6, 2001. สืบค้นเมื่อ May 25, 2011.
  18. Cabinet of Japan (July 1, 1986). [Japanese Cabinet Order No.1 in 1986 - Modern kana usage] (ภาษาญี่ปุ่น). Ministry of Education, Culture, Sports, Science and Technology. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ May 24, 2011. สืบค้นเมื่อ May 25, 2011.
  19. Fujino Katsuji (1909). ローマ字手引き [RÔMAJI TEBIKI] (ภาษาญี่ปุ่น). Rômaji-Hirome-kai.
  20. Cabinet of Japan. [Japanese cabinet order No.2 (June 28, 1991):The notation of loanword]. Ministry of Education, Culture, Sports, Science and Technology. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 6, 2019. สืบค้นเมื่อ May 25, 2011.
  21. "米国規格(ANSI Z39.11-1972)―要約". สืบค้นเมื่อ February 27, 2016.[แหล่งข้อมูลที่ตีพิมพ์เอง]
  22. "英国規格(BS 4812 : 1972)―要約". สืบค้นเมื่อ February 27, 2016.[แหล่งข้อมูลที่ตีพิมพ์เอง]

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Preface of first edition of Hepburn's original dictionary, explaining romanization
  • Preface of third edition of Hepburn's original dictionary, explaining romanization

การถอดเป, นอ, กษรโรม, นแบบเฮปเบ, ヘボン式ローマ字, โรมาจ, hebon, shiki, rōmaji, กษรโรม, นแบบเฮปเบ, เป, นระบบการถอดเป, นอ, กษรโรม, นสำหร, บภาษาญ, เผยแพร, คร, งแรกใน, 1867, โดยม, ชช, นนาร, ชาวอเมร, เจมส, เคอร, เฮปเบ, เพ, อเป, นมาตรฐานในพจนาน, กรมภาษาญ, ภาษาอ, งกฤษ, ฉบ, . karthxdepnxksrormnaebbehpebirn yipun ヘボン式ローマ字 ormaci Hebon shiki rōmaji xksrormnaebbehpebirn epnrabbkarthxdepnxksrormnsahrbphasayipun ephyaephrkhrngaerkin kh s 1867 odymichchnnarichawxemrikn ecms ekhxrtis ehpebirn ephuxepnmatrthaninphcnanukrmphasayipun phasaxngkvs chbbaerkkhxngekha 1 rabbniaetktangcakwithikarthxdepnxksrormnxun xyangchdecnthikarichxkkhrwithiphasaxngkvsinkarthxdesiyngtamhlksthsastr echn sra ɕi し rhs jpn eluxnradbepnrhs ja thxdepn shi aela tɕa ちゃ rhs jpn eluxnradbepnrhs ja thxdepn cha sungsathxnihehnthungkarsakdaebbphasaxngkvskhxngrabbni emuxepriybethiybkbkarthxdepn si aela tya inrabbnihngchikiaelakhunerchikithimikhwamepnrabbmakkwa 2 ecms ekhxrtis ehpebirn phukhidkhnkarthxdepnxksrormnaebbehpebirn in kh s 1886 ehpebirntiphimphphcnanukrmchbbthisamkhxngekha odycdraebiybaebbthbthwnihmsungepnthiruckinthukwnnikhux ehpebirnaebbdngedim aelain kh s 1908 ekhatiphimphaebbthbthwnephimetimhruxthiruckkninchux ehpebirnaebbaekikhephimetim 3 aemwakarthxdepnxksrormnaebbkhunerchikicaidrbkaryxmrbodyrthbalyipun aetehpebirnyngkhngepnwithikarthxdepnxksrormnkhxngphasayipunthiepnthiniymmakthisud mikareriynkarsxnodyichrabbehpebirninnkeriynphasatangchati aelamikarichrabbniinkarthxdchux sthanthi aelakhxmulxun epnxksrormn xathi tarangkaredinrthifaelapaythnn enuxngdwyrabbniichxkkhrwithithixingcakxkkhrwithiphasaxngkvsaethnkarkarthxdesiyngxyangepnrabbcakchudtwhnngsuxphyangkhphasayipun phuphudthisamarthphudidaetphasaxngkvshruxklumphasaormans oprdkhyaykhwam caphudidxyangthuktxngkwaemuxtxngxxkesiyngkhathiimkhunekhydwykarthxdesiyngaebbehpebirn emuxepriybethiybkbrabbxun 4 enuxha 1 aebb 1 1 aebbphnsmyaelw 1 1 1 runsxng 1 1 2 runaerk 2 lksna 2 1 khayum 2 2 khachwy 2 3 phyangkh n 2 4 phyychnaesiyngyaw 3 tarangkarthxdepnxksrormn 3 1 khatakanaesiyngkhwbkla 4 xangxing 5 aehlngkhxmulxunaebb aekikhmikarthxdepnxksrormnaebbehpebirnhlayaebb odysxngaebbthwipkhux ehpebirnaebbdngedim Traditional Hepburn tamniyaminphcnanukrmkhxngehpebirnhlaychbb odyinchbbthisam kh s 1886 5 rabuwakarthxdaebbdngedimepnthiyxmrbaelaechuxthuxid 6 aemwatxngrbphidchxbkarepliynkhxngkarichkhana ehpebirnaebbdngedimmiexklksnthikaraethnphyangkh n dwy m kxnhnaphyychna b m aela p echn Shimbashi sahrbkhawa 新橋 ehpebirnaebbaekikhephimetim Modified Hepburn hrux ehpebirnthbthwnihm Revised Hepburn ykelikkaraethnphyangkh n dwy m kxnhnabangphyychna Shinbashi sahrbkhawa 新橋 karthxdaebbaekikhephimetimthuktiphimphinchbbthisam kh s 1954 aelachbbthdmakhxngphcnanukrmphasayipun phasaxngkvsihmkhxngekhngkiwcha mkepnthiyxmrbaelaechuxthuxid 7 ehpebirnaebbaekikhephimetimepnaebbthiepnthiniymaelathuknaipichmakthisud 8 inpraethsyipun mikarkahndaebbxyangepnthangkarbangswnephuxnaipichinhlakhlaykarichngan matrthankarrthif 鉄道掲示基準規程 Railway Standard 9 ehmuxnehpebirnaekikhephimetim aetkaraethnphyangkh n yngkhngehmuxnaebbdngedim klumbristhrthifyipunaelabristhihbrikarrthifrayihyxun naipichepnchuxsthani paythnnormaci ehpebirn 道路標識のローマ字 Road Sign Romaji Hepburn ichsahrbpaybnthnn ehmuxnehpebirnaebbaekikhephimetim aetrabuxyangchdecnwacaimichekhruxnghmaykakbesiyng macron 10 matrthanhnngsuxedinthangkrathrwngkartangpraeths 外務省旅券規定 Ministry of Foreign Affairs Passport Standard 11 aethnphyangkh n dwy m kxnhnaphyychna b m aela p sraesiyngyawcaimmisylksnkakb echn sraesiyngyaw ō cathxdepnxksrormndwy oh oo hrux ou Satoh Satoo hrux Satou sahrbkhawa 佐藤 aebbphnsmyaelw aekikh runsxng aekikh エ aela ヱ ekhiynepn ye Yedo ズ aela ヅ ekhiynepn dzu kudzu tsudzuku キャ キョ aela キュ ekhiynepn kiya kiyo aela kiu クヮ pccubn カ ekhiynepn kuwa 12 runaerk aekikh inrunaerknnmikarepliynaeplngephimetimcakrunsxng 13 ス ekhiynepn sz ツ ekhiynepn tsz ズ aela ヅ ekhiynepn dulksna aekikhinkarthxdepnxksrormnaebbehpebirn sraphsmthisrangesiynglakyawmkekhiynaemkhrxn prakxb sraprachid adjacent vowel xun thithukaeykdwykhxbekhthnwykha morpheme boundary caekhiynaeykkn srathimihnwykhaediywkn inehpebirndngedim 14 inehpebirnaekikhephimetim 15 A A aa お婆 ばあ さん obaasan ya yay ba a a お婆 ばあ さん obasan ya yay ba a I I ii 新 にい 潟 がた Niigata ni i U U u 数 すう 学 がく sugaku khnitsastr su u E E ee お姉 ねえ さん oneesan phisaw ne e e お姉 ねえ さん onesan phisaw ne e O O ō 遠 とお 回 まわ り tōmawari thangebiyng to o O U ō 勉 べん 強 きょう benkyō kareriyn kyo u srathimihnwykhaaeykkn inehpebirnaebbdngedim 14 aelaaebbaekikhephimetim 15 A A aa 邪 じゃ 悪 あく ja aku jaaku chwray I I ii 灰 はい 色 いろ hai iro haiiro sietha U U uu 湖 みずうみ mizu umi mizuumi thaelsab E E ee 濡 ぬ れ縁 えん nure en nureen echliyngaebbepid O O oo 小 こ 躍 おど り ko odori koodori karetnxyangmikhwamsukh O U ou 仔 こ 牛 うし ko ushi koushi lukww sraphsmxun ekhiynaeykknthnghmd E I 制 せい 服 ふく sei fuku seifuku ekhruxngaebb aem E I mkxxkesiyngepn E yaw U I 軽 かる い karu i karui eba O I 甥 おい oi oi hlanchay khayum aekikh inkhayumtangpraeths sraesiyngyawthitamdwy ochxngpu ー caekhiynaemkhrxnprakxb セーラー se ー ra ー sera chud kalasi タクシー ta ku shi ー takushi aethksi コンクール ko n ku ー ru konkuru karaekhngkhn バレーボール ba re ー bo ー ru barebōru wxlelybxl ソール so ー ru sōru faetha sraprachidinkhayumcaekhiynaeykkn バレエ ba re e baree blelt ミイラ mi i ra miira mmmi ソウル so u ru souru wiyyan osl khachwy aekikh inehpebirnaebbdngedimaelaaekikhephimetim emux は thahnathiepnkhachwy caekhiynepn wainehpebirnaebbdngedim emux へ thahnathiepnkhachwy ehpebirnekhyaenanaihich ye 14 imichkarsakdaebbniaelw aelamkekhiynepn e aethn 16 emux を thahnathiepnkhachwy ekhiynepn wo 14 inehpebirnaebbaekikhephimetim 15 emux へ thahnathiepnkhachwy ekhiynepn e emux を thahnathiepnkhachwy ekhiynepn ophyangkh n aekikh inehpebirnaebbdngedim 14 phyangkh n ん ekhiynepn n kxnhnaphyychna aetekhiynepn m kxn phyychnaesiyngrimfipak b m aela p bangkhrngekhiynepn n miytiphngkh kxnhnasra aela y ephuxhlikeliyngkhwamsbsnrahwangthngsxng echn んあ n a aela な na aela んや n ya and にゃ nya 案内 あんない annai karnathang 群馬 ぐんま Gumma kumma 簡易 かんい kan i khwameriybngay 信用 しんよう shin yō khwamechuxicinehpebirnaebbaekikhephimetim 15 ykelikkarekhiyndwy m kxnhnaphyychnaesiyngrimfipak aelaaethndwykarekhiynepn n aelayngekhiyn n mixaphxsthrxfi kxnhnasraaela y案内 あんない annai karnathang 群馬 ぐんま Gunma kumma 簡易 かんい kan i khwameriybngay 信用 しんよう shin yō khwamechuxicphyychnaesiyngyaw aekikh esiyngsaphyychna geminate consonant sound casaphyychnatwkhanghnathitamdwyoskuxng っ sahrbphyychnathiepnthwixksr digraph inehpebirn sh ch ts casaaekhphyychnatwaerkethann ykewn ch caaethndwy tch 14 15 結果 けっか kekka phllphth さっさと sassato xyangrwderw ずっと zutto tlxd 切符 きっぷ kippu tw 雑誌 ざっし zasshi nitysar 一緒 いっしょ issho dwykn こっち kotchi imich kocchi thangni 抹茶 まっちゃ matcha imich maccha mtca 三つ みっつ mittsu samtarangkarthxdepnxksrormn aekikhokcuxng oyxngあ ア a い イ i う ウ u え エ e お オ oか カ ka き キ ki く ク ku け ケ ke こ コ ko きゃ キャ kya きゅ キュ kyu きょ キョ kyoさ サ sa し シ shi す ス su せ セ se そ ソ so しゃ シャ sha しゅ シュ shu しょ ショ shoた タ ta ち チ chi つ ツ tsu て テ te と ト to ちゃ チャ cha ちゅ チュ chu ちょ チョ choな ナ na に ニ ni ぬ ヌ nu ね ネ ne の ノ no にゃ ニャ nya にゅ ニュ nyu にょ ニョ nyoは ハ ha ひ ヒ hi ふ フ fu へ ヘ he ほ ホ ho ひゃ ヒャ hya ひゅ ヒュ hyu ひょ ヒョ hyoま マ ma み ミ mi む ム mu め メ me も モ mo みゃ ミャ mya みゅ ミュ myu みょ ミョ myoや ヤ ya ゆ ユ yu よ ヨ yoら ラ ra り リ ri る ル ru れ レ re ろ ロ ro りゃ リャ rya りゅ リュ ryu りょ リョ ryoわ ワ wa ゐ ヰ i ゑ ヱ e を ヲ o ん ン n n が ガ ga ぎ ギ gi ぐ グ gu げ ゲ ge ご ゴ go ぎゃ ギャ gya ぎゅ ギュ gyu ぎょ ギョ gyoざ ザ za じ ジ ji ず ズ zu ぜ ゼ ze ぞ ゾ zo じゃ ジャ ja じゅ ジュ ju じょ ジョ joだ ダ da ぢ ヂ ji づ ヅ zu で デ de ど ド do ぢゃ ヂャ ja ぢゅ ヂュ ju ぢょ ヂョ joば バ ba び ビ bi ぶ ブ bu べ ベ be ぼ ボ bo びゃ ビャ bya びゅ ビュ byu びょ ビョ byoぱ パ pa ぴ ピ pi ぷ プ pu ぺ ペ pe ぽ ポ po ぴゃ ピャ pya ぴゅ ピュ pyu ぴょ ピョ pyoaetlachxngprakxbdwy hirangana khatakana aelakarthxdepnxksrormnaebbehpebirn tamladb xksrsiaedng epntwxksrinxditaelaimmikarichinphasayipunpccubnaelw 17 18 inkarthxdepnxksrormnaebbehpebirnpccubn imphbhlkeknthkarthxdxyangchdecn 15 xksrsinaengin mkimphbehninhnathixunnxkcakkarthahnathiepnkhachwyinphasayipunpccubn 19 karthxdepnxksrormnepniptamkddanbnkhatakanaesiyngkhwbkla aekikh karphsmehlanimkichephuxaethnesiynginkhaphasaxunthwixksrthimiphunhlngsism epnthwixksrthimikarichodythwipinkhayumhruxsthanthihruxchuxtangpraeths thwixksrthimiphunhlngsinaengin thukichephuxkarthxdxksrkhxngesiyngtangchatiihthuktxngthisud sungthngsxngnikrathrwngsuksathikar wthnthrrm kila withyasastr aelaethkhonolyiphayitkhnarthmntriyipunepnphuesnx 20 khatanakakhwbklathimiphunhlngsiebc sthabnmatrthanaehngchatixemrikn 21 aela sthabnmatrthanxngkvs epnphuesnxihepnxikhnungthangeluxkthisamarthichid 22 thwixksrthimiphunhlngsimwng praktxyuinkarthxdepnxksrormnaebbehiywcun chiki kh s 1974 khxngehpebirn 16 イィ yi イェ yeウァ wa ウィ wi ウゥ wu ウェ we ウォ woウュ wyuヴァ va ヴィ vi ヴ vu ヴェ ve ヴォ voヴャ vya ヴュ vyu ヴィェ vye ヴョ vyoキェ kyeギェ gyeクァ kwa クィ kwi クェ kwe クォ kwoクヮ kwaグァ gwa グィ gwi グェ gwe グォ gwoグヮ gwaシェ sheジェ jeスィ siズィ ziチェ cheツァ tsa ツィ tsi ツェ tse ツォ tsoツュ tsyuティ ti トゥ tuテュ tyuディ di ドゥ duデュ dyuニェ nyeヒェ hyeビェ byeピェ pyeファ fa フィ fi フェ fe フォ foフャ fya フュ fyu フィェ fye フョ fyoホゥ huミェ myeリェ ryeラ la リ li ル lu レ le ロ loヷ va ヸ vi ヹ ve ヺ vo karich ウ thngsxngkrniniephuxaethnesiyng w phbehnidyakinphasayipunpccubn ewnaetcaepnsaelngxinethxrentaelaichephuxkarthxdesiynglatin w ihepnkhatakana echn ミネルウァ Mineruwa mienxrwa caklatin MINERVA mɪˈnɛrwa ウゥルカーヌス Wurukanusu wlaekhn caklatin VVLCANVS Vulcanus wʊlˈkaːnʊs esiyngphasatangpraethscaphwk wa echn watt hrux white inphasaxngkvs mkthxdesiyngepn ワ wa khnathi esiyngcaphwk wu echn wood hrux woman inphasaxngkvs thxdesiyngepn ウ u hrux ウー u ヴ miruphiranganathiphbehnidyakkhux ゔ ekhiynepn vu inrabbkarthxdepnxksrormnaebbehpebirn xksrsiekhiyw immikarichhruxichnxymakinphasayipunpccubnaelw 17 18 xangxing aekikh Sant John Van Mauch Peter Sugita Yoneyuki January 29 2007 Historical Dictionary of United States Japan Relations Scarecrow Press p 104 ISBN 978 0 8108 6462 7 Seeley Christopher April 1 2000 A History of Writing in Japan University of Hawaii Press pp 139 140 ISBN 978 0 8248 2217 0 Nishiyama Kunio Kishimoto Hideki Aldridge Edith b k December 15 2018 Topics in Theoretical Asian Linguistics Studies in Honor of John B Whitman John Benjamins Publishing Company p 292 ISBN 978 90 272 6329 2 Hadamitzky Wolfgang Spahn Mark October 2005 Romanization systems Wolfgang Hadamitzky Japan related Textbooks Dictionaries and Reference Works subkhnemux August 10 2017 和英語林集成第三版 Digital Japanese English Forest Collection Meiji Gakuin University Library phasayipun Meiji Gakuin University March 2010 2006 subkhnemux August 10 2017 明治学院大学図書館 和英語林集成 デジタルアーカイブス Meijigakuin ac jp khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux December 16 2013 subkhnemux June 29 2012 Kudo Yoko January 28 2011 Modified Hepburn Romanization System in Japanese Language Cataloging Where to Look What to Follow pdf Cataloging amp Classification Quarterly 49 2 97 120 doi 10 1080 01639374 2011 536751 S2CID 62560768 UHM Library Japan Collection Online Resources Hawaii edu October 6 2005 subkhnemux June 29 2012 鉄道掲示基準規程 Homepage1 nifty com khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux March 1 2012 subkhnemux July 13 2012 道路標識のローマ字 ヘボン式 の綴り方 How to spell Roman letters Hepburn style of road signs Kictec phasayipun June 14 2012 subkhnemux August 10 2017 ヘボン式ローマ字綴方表 Ministry of Foreign Affairs of Japan subkhnemux May 16 2022 James Curtis Hepburn 1872 A Japanese English And English Japanese Dictionary 2nd ed American Presbyterian mission press pp 286 290 subkhnemux December 16 2013 Hepburn J C James Curtis December 10 1872 Japanese English and English Japanese dictionary Shanghai American Presbyterian mission press odythang Internet Archive 14 0 14 1 14 2 14 3 14 4 14 5 James Curtis Hepburn 1886 A Japanese English And English Japanese Dictionary Third ed Z P Maruyama amp Co subkhnemux April 12 2011 15 0 15 1 15 2 15 3 15 4 15 5 Kenkyusha s New Japanese English Dictionary Fourth ed Kenkyusha 1974 16 0 16 1 標準式ローマ字つづり 引用 subkhnemux February 27 2016 aehlngkhxmulthitiphimphexng 17 0 17 1 Cabinet of Japan November 16 1946 昭和21年内閣告示第33号 現代かなづかい Japanese Cabinet Order No 33 in 1946 Modern kana usage phasayipun khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux October 6 2001 subkhnemux May 25 2011 18 0 18 1 Cabinet of Japan July 1 1986 昭和61年内閣告示第1号 現代仮名遣い Japanese Cabinet Order No 1 in 1986 Modern kana usage phasayipun Ministry of Education Culture Sports Science and Technology khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux May 24 2011 subkhnemux May 25 2011 Fujino Katsuji 1909 ローマ字手引き ROMAJI TEBIKI phasayipun Romaji Hirome kai Cabinet of Japan 平成3年6月28日内閣告示第2号 外来語の表記 Japanese cabinet order No 2 June 28 1991 The notation of loanword Ministry of Education Culture Sports Science and Technology khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux January 6 2019 subkhnemux May 25 2011 米国規格 ANSI Z39 11 1972 要約 subkhnemux February 27 2016 aehlngkhxmulthitiphimphexng 英国規格 BS 4812 1972 要約 subkhnemux February 27 2016 aehlngkhxmulthitiphimphexng aehlngkhxmulxun aekikhPreface of first edition of Hepburn s original dictionary explaining romanization Preface of third edition of Hepburn s original dictionary explaining romanization ekhathungcak https th wikipedia org w index php title karthxdepnxksrormnaebbehpebirn amp oldid 10491859, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม