fbpx
วิกิพีเดีย

แจ็กสัน พอลล็อก

พอล แจ็กสัน พอลล็อก (อังกฤษ: Paul Jackson Pollock) เป็นจิตรกรชาวอเมริกันยุคศตวรรษที่ 20 และเป็นผู้นำขบวนการเขียนภาพแบบสำแดงพลังอารมณ์แนวนามธรรม (abstract expressionism) ซึ่งเป็นการทำงานศิลปะโดยการหยด สาด หรือเทสีลงบนผ้าใบ โดยไม่ต้องคำนึงถึงองค์ประกอบศิลป์ หรือแบบแผนใด ๆ แต่ปล่อยให้จิตสำนึกเป็นผู้สร้างสรรค์ผลงานศิลปะชิ้นนั้น พอลล็อกได้รับสมญานามว่า "แจ็กเดอะดริปเปอร์" (Jack The Dripper) จากนิตยสารไทม์ ด้วยแบบอย่างการเขียนภาพที่เรียกว่า กัมมันตจิตรกรรม (action painting) ด้วยการสาด เท หยด สลัดสีลงบนผ้าใบขนาดใหญ่ แสดงถึงความเคลื่อนไหวว่องไวและมีพลัง ด้วยผลงานที่น่าสนใจและวิธีการซึ่งเป็นเอกลักษณ์นี้ ทำให้เขามีชื่อเสียง และผลงานของเขาหลาย ๆ ชิ้นมีราคาสูงหลายล้านดอลลาร์

แจ็กสัน พอลล็อก

ประวัติ

 
โรงนาที่แจ็กสัน พอลล็อก ใช้เป็นสตูดิโอสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ

แจ็กสัน พอลล็อก เกิดเมื่อวันที่ 28 มกราคม ค.ศ. 1912 ที่เมืองโคดี รัฐไวโอมิง สหรัฐอเมริกา เขาเป็นลูกคนสุดท้องในจำนวนพี่น้อง 5 คน ในปี ค.ศ. 1912 พอลล็อกเข้าเรียนไฮสกูล ที่ Losangles's Manual Arts High School ในลอสแอนเจลิส และในปี ค.ศ. 1930 เมื่ออายุได้ราว 17 ปี เขาได้ย้ายไปที่รัฐนิวยอร์กเพื่อเข้าศึกษาต่อที่ The Art Students League ภายใต้การสอนของทอมัส ฮาร์ต เบนตัน (Thomas Hart Benton) จิตรกรเขียนภาพฝาผนัง ผู้ซึ่งมีอิทธิพลต่อการวาดภาพของเขาในขณะนั้นเป็นอย่างมาก

ปี ค.ศ. 1936 พอลล็อกเข้าทำงานที่สตูดิโอของ Siqueiros ซึ่งเป็นศิลปินชาวเม็กซิกันที่ทำให้เขาได้รับอิทธิพลในการเขียนภาพในช่วงนี้ ซึ่งนิยมการแสดงออกอย่างรุนแรง และต่อมาได้รับแรงบันดาลใจจากปีกัสโซและศิลปินในลัทธิเหนือจริง (surrealism)

ในปี ค.ศ. 1941 พอลล็อกตกอยู่ในสภาพย่ำแย่ ติดสุราหนักงอมแงม เขาได้อาศัยอยู่กับพี่ชาย จนภรรยาของพี่ชายไม่พอใจ ต้องพาครอบครัวและแม่ย้ายหนีไป จุดเปลี่ยนของชีวิตพอลล็อกคือการได้พบกับลี แครสเนอร์ (Lee Krasner) จิตรกรหญิงผู้เชื่อมั่นในความสามารถของพอลล็อก จากนั้นทั้งสองก็ย้ายมาสร้างสตูดิโอทำงานศิลปะด้วยกันที่ลองไอแลนด์ นิวยอร์ก ทั้งสองได้แต่งงานกัน แต่มีข้อสัญญาตกลงกันว่าพอลล็อกจะต้องเลิกดื่มเหล้าและหันมาสร้างงานศิลปะอย่างจริงจัง

ในช่วงปี ค.ศ. 1938-1944 เขาได้เข้ารับการรักษาโรคพิษสุราเรื้อรัง และได้ศึกษาผลงานและทฤษฎีของคาร์ล ยุง (Carl Jung) นักจิตแพทย์ชาวสวิสที่ได้ชื่อว่าเป็นนักคิดที่ยิ่งใหญ่ที่สุดคนหนึ่ง ซึ่งทำให้พอลล็อกเกิดอิทธิพลกับงานของเขา งานของพอลล็อกในช่วงนี้จะแฝงไปด้วยความสงสัย และปริศนาต่าง ๆ หลังจากที่พอลล็อกกลับมาสร้างผลงานศิลปะอีกครั้ง ผลงานของเขาจึงไปเข้าตาเพ็กกี กุกเกนไฮม์ (Peggy Guggenheim) เจ้าของหอศิลป์ใหญ่ในนิวยอร์ก กุกเกนไฮม์ยอมจัดแสดงงานเดี่ยวให้พอลล็อก แม้จะขายภาพไม่ได้เลย แต่พอลล็อกก็เริ่มเป็นที่สนใจในวงการศิลปะ และเป็นจุดเริ่มต้นให้เขาได้ค้นพบวิธีการสร้างงานรูปแบบใหม่ เมื่อต้องไปวาดผนังบ้านพักของกุกเกนไฮม์เป็นค่าตอบแทนตามสัญญา อาการเครียดและอยากเก็บตัวเริ่มเกิดขึ้นกับพอลล็อกอีกครั้ง แครสเนอร์คอยให้กำลังใจพอลล็อกอยู่เสมอ ภายหลังทั้งคู่จึงตัดสินใจหลบความวุ่นวายในเมืองและย้ายไปหาความสงบในชนบท โดยใช้โรงนาเป็นสตูดิโอสร้างสรรค์งานศิลปะ

เมื่อพอลล็อกมีเวลาเต็มที่สำหรับสร้างสรรค์งานศิลปะ วันหนึ่งเขาค้นพบเทคนิคการเขียนภาพแบบใหม่โดยบังเอิญ ขณะกระป๋องสีล้มใส่ภาพที่เขากำลังเขียน ต่อมาเรียกเทคนิคแบบนี้ว่า กัมมันตจิตรกรรมหรือลัทธิสำแดงพลังอารมณ์แนวนามธรรม ซึ่งเป็นการสร้างงานศิลปะโดยการหยด สาด หรือ เทสีลงบนผ้าใบ โดยไม่ต้องคำนึงถึงองค์ประกอบศิลป์หรือแบบแผนใด ๆ แต่ปล่อยให้จิตสำนึกของศิลปินเป็นผู้สร้างสรรค์งานศิลปะชิ้นนั้น แต่พอลล็อกก็ยังยืนยันว่าผลงานศิลปะของเขาไม่ได้เกิดขึ้นโดยเหตุบังเอิญเพราะเขาสามารถควบคุมมันได้ รูปแบบงานของพอลล็อกเป็นแบบเฉพาะตัว ทำให้เขากลายเป็นศิลปินที่มีชื่อเสียง มีเงินทอง และชีวิตประจำวันที่เปลี่ยนแปลงไป แต่ความเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ ทำให้พอลล็อกรู้สึกหวั่นไหวและหวาดกลัว เขาเริ่มหันไปเที่ยวเตร่และติดเหล้างอมแงมอีกครั้ง ภายใต้ความเศร้าเสียใจที่ไม่สามารถมีลูกกับลี แครสเนอร์ได้ เพราะฝ่ายหญิงไม่ยอม เขาจึงทิ้งแครสเนอร์ และหันไปคว้าภรรยาคนใหม่ที่ชื่อ รูท หญิงสาวอ่อนวัยมาทดแทน แต่ความทุกข์ระทมในจิตใต้สำนึกของเขาก็ไม่เคยจางหาย

แจ็กสัน พอลล็อก ได้ถึงแก่กรรมในปี ค.ศ. 1956 จากอุบัติเหตุทางรถยนต์เมื่อเขาขับรถกลับบ้านด้วยอาการเมา ที่เซาแทมป์ตัน นิวยอร์ก ขณะมีอายุ 44 ปี

อุปนิสัย

 
No. 5, 1948

แจ็กสัน พอลล็อก ตลอดชีวิตเขาพบแต่ความผิดหวัง เขาเป็นคนขี้โมโห อารมณ์ร้อน และไม่อดทนต่อคำวิพากษ์วิจารณ์ จนครั้งหนึ่ง จิม สวีนีย์ แสดงความเห็นไว้ในบทความว่าพอลล็อกเป็นคนไม่มีหลักเกณฑ์ ทำให้พอลล็อกโมโหมาก จึงลงมือเขียนภาพ Search for a Symbol แล้วหิ้วภาพนี้ไปพบสวีนีย์ พร้อมกับพูดว่า "ผมต้องการให้คุณเห็นว่า ภาพที่ถูกต้องตามหลักเกณฑ์เป็นอย่างไร" แต่อย่างไรก็ตาม ด้วยความที่พอลล็อกเป็นคนขี้โมโห อารมณ์ร้อน และติดเหล้าอย่างหนัก ในระยะแรกก่อนที่เขาจะค้นพบตัวเอง เขาได้สร้างงานศิลปะขึ้นในแนวแอบสเตรคแต่ก็ไม่ประสบความสำเร็จ เมื่อผลงานไม่ประสบความสำเร็จ และไม่ได้รับการยอมรับ เขาจึงเก็บตัวเครียดและกินเหล้าอยู่เสมอ แต่ด้วยนิสัยส่วนตัวเช่นนี้นี่เอง ที่ทำให้พอลล็อกลงมือทำงานอย่างจริงจังเพื่อแสดงตัวตนและลบคำสบประมาท จนเขาได้รับการยกย่องยอมรับว่าเป็นผู้นำขบวนการเขียนภาพแบบสำแดงพลังอารมณ์แนวนามธรรม พร้อมกับเป็นต้นแบบเทคนิคการเขียนภาพที่เรียกว่ากัมมันตจิตรกรรม

รูปแบบการทำงาน

ในปี 1944 พอลล็อกได้กล่าวถึงอิทธิพลทางความคิดต่าง ๆ ที่เขาได้รับมา ไม่ว่าจาก โทมัส ฮาร์ต เบนตัน, ศิลปะของชนเผ่าอเมริกันพื้นเมืองหรืออินเดียนแดง ซึ่งมีวิธีการสร้างงานศิลปะบนพื้นทราย รวมไปถึงศิลปินชื่อดังอย่างปาโบล ปีกัสโซ และมักซ์ แอนสท์ ทำให้เขาได้แรงบันดาลใจในการสร้างงานศิลปะที่แหวกแนวสุด ๆ ในสมัยนั้น

เทคนิคการวาดภาพของเขานับว่าแปลกแหวกแนวที่สุด เขาไม่ชอบใช้แปรงหรือพู่กัน แต่นิมใช้สีกระป๋องหยดราดบนผืนผ้าใบซึ่งวางนอนราบกับพื้นห้อง ซึ่งเขามีแนวคิดว่า ไม่ต้องการความยุ่งยาก และสามารถทำให้เดินได้รอบ ๆ ผืนผ้าใบ ซึ่งวิธีการนี้คล้ายคลึงกับวิธีการของจิตรกรชาวพื้นเมืองอเมริกันทางซีกตะวันตก และกระทั่งใช้เครื่องมือต่าง ๆ เช่น ด้ามแปรง เกรียงขนาดใหญ่ มีด ฯลฯ

ผลงานของเขาเต็มไปด้วยความรุนแรง มีความเด็ดขาดและอิสระเสรีอย่างถึงที่สุด รอยทับซับซ้อนของสีที่ถูกโรยราดบนผืนผ้าก่อให้เกิดมิติต่าง ๆ แรงเหวี่ยงสะบัดทำให้เกิดความรุนแรงของลีลา สิ่งเหล่านี้ต่างเร้าอารมณ์ผู้ชมได้อย่างดียิ่ง ซึ่งผลงานของเขานั้นได้ทำให้เกิดการพัฒนาก้าวหน้าแก่ศิลปินอเมริกันในสมัยหลังเป็นอย่างมาก

ภาพยนตร์ชีวประวัติ

เรื่องราวของพอลล็อก ถูกนำมาสร้างเป็นหนังสารคดี 2 ครั้ง ในครั้งแรกคือ Jackson Pollock ปี 1987 โดยผู้กำกับคิม อีแวนส์ อีกเรื่องหนึ่งชื่อ Jackson Pollok : Love and death on Long Island ปี 1999 โดยเทรีซา กริฟฟิทส์ เป็นประวัติชีวิตและผลงาน รวมทั้งภาพการทำงานของพอลล็อก นอกจากนี้ยังมีบทสัมภาษณ์ของ ลี แครสเนอร์ และเพื่อน ๆ ศิลปินอีกด้วย

สำหรับ Pollock หนังเริ่มต้นในปี 1941 เมื่อพอลล็อก (แฮร์ริส) ตกอยู่ในสภาพย่ำแย่ ติดเหล้างอมแงม อาศัยอยู่กับแซนดี (รอเบิร์ต นอตต์) พี่ชาย จนภรรยาของแซนดี้ไม่พอใจ ต้องพาแซนดี้และแม่ย้ายหนีไป จุดเปลี่ยนของชีวิตพอลล็อกคือการได้พบลี แครสเนอร์ (มาร์เซีย เกย์ ฮาร์เดน) จิตรกรหญิงผู้เชื่อมั่นในความสามารถของพอลล็อก แครสเนอร์แต่งงานกับเขาโดยมีข้อตกลงว่าพอลล็อกต้องเลิกดื่มเหล้าและมุ่งมั่นสร้างงานศิลปะ ซึ่งนี่เป็นส่วนหนึ่งในภาพยนตร์ซึ่งยกมาจากชีวิตจริงของเขา

"คุณค่า" ของหนังแนวชีวประวัติอย่าง Pollock ไม่ใช่การสะท้อนภาพของศิลปินซึ่งเป็นที่สนใจของผู้ชมทั่วไป แต่เป็นการเผยแพร่ชื่อเสียงหรือแนะนำให้รู้จักเสียมากกว่า ซึ่งแฮร์ริสก็ทำในจุดนี้ได้ดี เพราะนอกจากผู้ชมจะได้รู้จักพอลล็อกแล้ว ยังได้เห็นวิธีการทำงานศิลปะซึ่งแปลกและแตกต่างจากศิลปินคนอื่น ๆ

หนังเรื่องนี้ได้รับความนิยมมากมายโดยเฉพาะถึงกับทำให้ผู้ชมติดตราตรึงใจ กับเอ็ด แฮร์ริส ผู้รับบทแสดงเป็น แจ็กสัน พอลล็อก จนหลายคนให้ทัศนคติว่า สองคนนี้ช่างมีทุกสิ่งอย่างที่คล้ายกันเหลือเกิน

ผลงานที่สำคัญ

  • (1942) "Male and Female" Philadelphia Museum of Art
  • (1943) "Moon-Woman Cuts the Circle"
  • (1942) "Stenographic Figure" The Museum of Modern Art
  • (1943) "The She-Wolf" The Museum of Modern Art
  • (1943) "Blue (Moby Dick)" Ohara Museum of Art
  • (1946) "Eyes in the Heat" Peggy Guggenheim Collection, Venice
  • (1946) "The Key" The Art Institute of Chicago
  • (1946) "The Tea Cup" Collection Frieder Burda
  • (1946) "Shimmering Substance", from "The Sounds In The Grass" The Museum of Modern Art
  • (1947) "Full Fathom Five" The Museum of Modern Art
  • (1947) "Cathedral"
  • (1947) "Enchanted Forest" Peggy Guggenheim Collection, Venice
  • (1948) "Painting"
  • (1948) "Number 5" (4ft x 8ft)
  • (1948) "Number 8"
  • (1948) "Summertime: Number 9A" Tate Modern
  • (1949) "Number 3"
  • (1950) "Number 1, 1950 (Lavender Mist)" National Gallery of Art
  • (1950) "Autumn Rhythm: No.30, 1950"
  • (1950) "One: No. 31, 1950" at the Museum of Modern Art (MoMA)
  • (1950) "No. 32"
  • (1951) "Number 7"
  • (1952) "Convergence" Albright-Knox Art Gallery
  • (1952) "Blue Poles: No. 11, 1952"
  • (1953) "Portrait and a Dream"
  • (1953) "Easter and the Totem" The Museum of Modern Art
  • (1953) "Ocean Greyness"
  • (1953) "The Deep"

อ้างอิง

  • กำจร สุนพงษ์ศรี. ศิลปะสมัยใหม่ (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554)หน้า 423-426.
  • จิระพัฒน์ พิตรปรีชา. โลกศิลปะศตวรรษที่ 20 (กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ, 2545).
  • บาร์บารา เฮสส์. แอ็บสแตรกต์ เอกซ์เพรสชั่นนิสม์. อนิมา ทัศจันทร์ แปลจาก Abstract Expressionism (เชียงใหม่ : ไฟน์อาร์ท, 2552).
  • Francis W. O’Connor. Jackson Pollock (Newyork: The Museum of Modern Art, 1967).

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Pollock-Krasner House and Study Center
  • Pollock-Krasner Foundation
  • Pollock collection at Guggenheim NY site
  • Jackson Pollock at The Art Story Foundation
  • Pollock on Museum Web Paris
  • Pollock and The Law
  • National Gallery of Art web feature, includes highlights of Pollock's career, numerous examples of his work, photographs and motion footage of Pollock, plus an in-depth discussion of his 1950 painting Lavender Mist.
  • Blue Poles at the NGA
  • One. Number 31, 1950 smARThistory
  • Jackson Pollock's Number One 1948; How Can We Be Abandoned and Accurate at the Same Time? by Lore Mariano
  • Fractal Expressionism - the fractal qualities of Pollock's drip paintings.
  • Understanding Abstract Art by Harley Hahn
  • Ed Pilkington, Pollock cache may have been painted after artist's death, The Guardian, November 30, 2007
  • Jackson Pollock Papers at the Smithsonian's Archives of American Art
  • Works by Jackson Pollock (public domain in Canada)

แจ, กส, พอลล, อก, พอล, งกฤษ, paul, jackson, pollock, เป, นจ, ตรกรชาวอเมร, นย, คศตวรรษท, และเป, นผ, นำขบวนการเข, ยนภาพแบบสำแดงพล, งอารมณ, แนวนามธรรม, abstract, expressionism, งเป, นการทำงานศ, ลปะโดยการหยด, สาด, หร, อเทส, ลงบนผ, าใบ, โดยไม, องคำน, งถ, งองค, ประก. phxl aecksn phxllxk xngkvs Paul Jackson Pollock epncitrkrchawxemriknyukhstwrrsthi 20 aelaepnphunakhbwnkarekhiynphaphaebbsaaedngphlngxarmnaenwnamthrrm abstract expressionism sungepnkarthangansilpaodykarhyd sad hruxethsilngbnphaib odyimtxngkhanungthungxngkhprakxbsilp hruxaebbaephnid aetplxyihcitsanukepnphusrangsrrkhphlngansilpachinnn phxllxkidrbsmyanamwa aeckedxadripepxr Jack The Dripper caknitysarithm dwyaebbxyangkarekhiynphaphthieriykwa kmmntcitrkrrm action painting dwykarsad eth hyd sldsilngbnphaibkhnadihy aesdngthungkhwamekhluxnihwwxngiwaelamiphlng dwyphlnganthinasnicaelawithikarsungepnexklksnni thaihekhamichuxesiyng aelaphlngankhxngekhahlay chinmirakhasunghlaylandxllaraecksn phxllxkbthkhwamniichrabbkhristskrach ephraaxangxingkhristskrachaelakhriststwrrs hruxxyangidxyanghnung enuxha 1 prawti 2 xupnisy 3 rupaebbkarthangan 4 phaphyntrchiwprawti 5 phlnganthisakhy 6 xangxing 7 aehlngkhxmulxunprawti aekikh orngnathiaecksn phxllxk ichepnstudioxsrangsrrkhphlngansilpa aecksn phxllxk ekidemuxwnthi 28 mkrakhm kh s 1912 thiemuxngokhdi rthiwoxming shrthxemrika ekhaepnlukkhnsudthxngincanwnphinxng 5 khn inpi kh s 1912 phxllxkekhaeriynihskul thi Losangles s Manual Arts High School inlxsaexneclis aelainpi kh s 1930 emuxxayuidraw 17 pi ekhaidyayipthirthniwyxrkephuxekhasuksatxthi The Art Students League phayitkarsxnkhxngthxms hart ebntn Thomas Hart Benton citrkrekhiynphaphfaphnng phusungmixiththiphltxkarwadphaphkhxngekhainkhnannepnxyangmakpi kh s 1936 phxllxkekhathanganthistudioxkhxng Siqueiros sungepnsilpinchawemksiknthithaihekhaidrbxiththiphlinkarekhiynphaphinchwngni sungniymkaraesdngxxkxyangrunaerng aelatxmaidrbaerngbndaliccakpiksosaelasilpininlththiehnuxcring surrealism inpi kh s 1941 phxllxktkxyuinsphaphyaaey tidsurahnkngxmaengm ekhaidxasyxyukbphichay cnphrryakhxngphichayimphxic txngphakhrxbkhrwaelaaemyayhniip cudepliynkhxngchiwitphxllxkkhuxkaridphbkbli aekhrsenxr Lee Krasner citrkrhyingphuechuxmninkhwamsamarthkhxngphxllxk caknnthngsxngkyaymasrangstudioxthangansilpadwyknthilxngixaelnd niwyxrk thngsxngidaetngngankn aetmikhxsyyatklngknwaphxllxkcatxngelikdumehlaaelahnmasrangngansilpaxyangcringcnginchwngpi kh s 1938 1944 ekhaidekharbkarrksaorkhphissuraeruxrng aelaidsuksaphlnganaelathvsdikhxngkharl yung Carl Jung nkcitaephthychawswisthiidchuxwaepnnkkhidthiyingihythisudkhnhnung sungthaihphxllxkekidxiththiphlkbngankhxngekha ngankhxngphxllxkinchwngnicaaefngipdwykhwamsngsy aelaprisnatang hlngcakthiphxllxkklbmasrangphlngansilpaxikkhrng phlngankhxngekhacungipekhataephkki kukeknihm Peggy Guggenheim ecakhxnghxsilpihyinniwyxrk kukeknihmyxmcdaesdngnganediywihphxllxk aemcakhayphaphimidely aetphxllxkkerimepnthisnicinwngkarsilpa aelaepncuderimtnihekhaidkhnphbwithikarsrangnganrupaebbihm emuxtxngipwadphnngbanphkkhxngkukeknihmepnkhatxbaethntamsyya xakarekhriydaelaxyakekbtwerimekidkhunkbphxllxkxikkhrng aekhrsenxrkhxyihkalngicphxllxkxyuesmx phayhlngthngkhucungtdsinichlbkhwamwunwayinemuxngaelayayiphakhwamsngbinchnbth odyichorngnaepnstudioxsrangsrrkhngansilpaemuxphxllxkmiewlaetmthisahrbsrangsrrkhngansilpa wnhnungekhakhnphbethkhnikhkarekhiynphaphaebbihmodybngexiy khnakrapxngsilmisphaphthiekhakalngekhiyn txmaeriykethkhnikhaebbniwa kmmntcitrkrrmhruxlththisaaedngphlngxarmnaenwnamthrrm sungepnkarsrangngansilpaodykarhyd sad hrux ethsilngbnphaib odyimtxngkhanungthungxngkhprakxbsilphruxaebbaephnid aetplxyihcitsanukkhxngsilpinepnphusrangsrrkhngansilpachinnn aetphxllxkkyngyunynwaphlngansilpakhxngekhaimidekidkhunodyehtubngexiyephraaekhasamarthkhwbkhummnid rupaebbngankhxngphxllxkepnaebbechphaatw thaihekhaklayepnsilpinthimichuxesiyng mienginthxng aelachiwitpracawnthiepliynaeplngip aetkhwamepliynaeplngehlani thaihphxllxkrusukhwnihwaelahwadklw ekhaerimhnipethiywetraelatidehlangxmaengmxikkhrng phayitkhwamesraesiyicthiimsamarthmilukkbli aekhrsenxrid ephraafayhyingimyxm ekhacungthingaekhrsenxr aelahnipkhwaphrryakhnihmthichux ruth hyingsawxxnwymathdaethn aetkhwamthukkhrathmincititsanukkhxngekhakimekhycanghayaecksn phxllxk idthungaekkrrminpi kh s 1956 cakxubtiehtuthangrthyntemuxekhakhbrthklbbandwyxakarema thiesaaethmptn niwyxrk khnamixayu 44 pixupnisy aekikh No 5 1948 aecksn phxllxk tlxdchiwitekhaphbaetkhwamphidhwng ekhaepnkhnkhiomoh xarmnrxn aelaimxdthntxkhawiphakswicarn cnkhrnghnung cim swiniy aesdngkhwamehniwinbthkhwamwaphxllxkepnkhnimmihlkeknth thaihphxllxkomohmak cunglngmuxekhiynphaph Search for a Symbol aelwhiwphaphniipphbswiniy phrxmkbphudwa phmtxngkarihkhunehnwa phaphthithuktxngtamhlkeknthepnxyangir aetxyangirktam dwykhwamthiphxllxkepnkhnkhiomoh xarmnrxn aelatidehlaxyanghnk inrayaaerkkxnthiekhacakhnphbtwexng ekhaidsrangngansilpakhuninaenwaexbsetrkhaetkimprasbkhwamsaerc emuxphlnganimprasbkhwamsaerc aelaimidrbkaryxmrb ekhacungekbtwekhriydaelakinehlaxyuesmx aetdwynisyswntwechnniniexng thithaihphxllxklngmuxthanganxyangcringcngephuxaesdngtwtnaelalbkhasbpramath cnekhaidrbkarykyxngyxmrbwaepnphunakhbwnkarekhiynphaphaebbsaaedngphlngxarmnaenwnamthrrm phrxmkbepntnaebbethkhnikhkarekhiynphaphthieriykwakmmntcitrkrrmrupaebbkarthangan aekikhinpi 1944 phxllxkidklawthungxiththiphlthangkhwamkhidtang thiekhaidrbma imwacak othms hart ebntn silpakhxngchnephaxemriknphunemuxnghruxxinediynaedng sungmiwithikarsrangngansilpabnphunthray rwmipthungsilpinchuxdngxyangpaobl piksos aelamks aexnsth thaihekhaidaerngbndalicinkarsrangngansilpathiaehwkaenwsud insmynnethkhnikhkarwadphaphkhxngekhanbwaaeplkaehwkaenwthisud ekhaimchxbichaeprnghruxphukn aetnimichsikrapxnghydradbnphunphaibsungwangnxnrabkbphunhxng sungekhamiaenwkhidwa imtxngkarkhwamyungyak aelasamarththaihedinidrxb phunphaib sungwithikarnikhlaykhlungkbwithikarkhxngcitrkrchawphunemuxngxemriknthangsiktawntk aelakrathngichekhruxngmuxtang echn damaeprng ekriyngkhnadihy mid lphlngankhxngekhaetmipdwykhwamrunaerng mikhwameddkhadaelaxisraesrixyangthungthisud rxythbsbsxnkhxngsithithukoryradbnphunphakxihekidmititang aerngehwiyngsabdthaihekidkhwamrunaerngkhxnglila singehlanitangeraxarmnphuchmidxyangdiying sungphlngankhxngekhannidthaihekidkarphthnakawhnaaeksilpinxemrikninsmyhlngepnxyangmakphaphyntrchiwprawti aekikheruxngrawkhxngphxllxk thuknamasrangepnhnngsarkhdi 2 khrng inkhrngaerkkhux Jackson Pollock pi 1987 odyphukakbkhim xiaewns xikeruxnghnungchux Jackson Pollok Love and death on Long Island pi 1999 odyethrisa kriffiths epnprawtichiwitaelaphlngan rwmthngphaphkarthangankhxngphxllxk nxkcakniyngmibthsmphasnkhxng li aekhrsenxr aelaephuxn silpinxikdwysahrb Pollock hnngerimtninpi 1941 emuxphxllxk aehrris tkxyuinsphaphyaaey tidehlangxmaengm xasyxyukbaesndi rxebirt nxtt phichay cnphrryakhxngaesndiimphxic txngphaaesndiaelaaemyayhniip cudepliynkhxngchiwitphxllxkkhuxkaridphbli aekhrsenxr maresiy eky haredn citrkrhyingphuechuxmninkhwamsamarthkhxngphxllxk aekhrsenxraetngngankbekhaodymikhxtklngwaphxllxktxngelikdumehlaaelamungmnsrangngansilpa sungniepnswnhnunginphaphyntrsungykmacakchiwitcringkhxngekha khunkha khxnghnngaenwchiwprawtixyang Pollock imichkarsathxnphaphkhxngsilpinsungepnthisnickhxngphuchmthwip aetepnkarephyaephrchuxesiynghruxaenanaihruckesiymakkwa sungaehrriskthaincudniiddi ephraanxkcakphuchmcaidruckphxllxkaelw yngidehnwithikarthangansilpasungaeplkaelaaetktangcaksilpinkhnxun hnngeruxngniidrbkhwamniymmakmayodyechphaathungkbthaihphuchmtidtratrungic kbexd aehrris phurbbthaesdngepn aecksn phxllxk cnhlaykhnihthsnkhtiwa sxngkhnnichangmithuksingxyangthikhlayknehluxekinphlnganthisakhy aekikh 1942 Male and Female Philadelphia Museum of Art 1943 Moon Woman Cuts the Circle 1942 Stenographic Figure The Museum of Modern Art 1943 The She Wolf The Museum of Modern Art 1943 Blue Moby Dick Ohara Museum of Art 1946 Eyes in the Heat Peggy Guggenheim Collection Venice 1946 The Key The Art Institute of Chicago 1946 The Tea Cup Collection Frieder Burda 1946 Shimmering Substance from The Sounds In The Grass The Museum of Modern Art 1947 Full Fathom Five The Museum of Modern Art 1947 Cathedral 1947 Enchanted Forest Peggy Guggenheim Collection Venice 1948 Painting 1948 Number 5 4ft x 8ft 1948 Number 8 1948 Summertime Number 9A Tate Modern 1949 Number 3 1950 Number 1 1950 Lavender Mist National Gallery of Art 1950 Autumn Rhythm No 30 1950 1950 One No 31 1950 at the Museum of Modern Art MoMA 1950 No 32 1951 Number 7 1952 Convergence Albright Knox Art Gallery 1952 Blue Poles No 11 1952 1953 Portrait and a Dream 1953 Easter and the Totem The Museum of Modern Art 1953 Ocean Greyness 1953 The Deep xangxing aekikhkacr sunphngssri silpasmyihm krungethph sankphimphaehngculalngkrnmhawithyaly 2554 hna 423 426 ciraphthn phitrpricha olksilpastwrrsthi 20 krungethph emuxngobran 2545 barbara ehss aexbsaetrkt exksephrschnnism xnima thscnthr aeplcak Abstract Expressionism echiyngihm ifnxarth 2552 Francis W O Connor Jackson Pollock Newyork The Museum of Modern Art 1967 aehlngkhxmulxun aekikhPollock Krasner House and Study Center Pollock Krasner Foundation Pollock collection at Guggenheim NY site Jackson Pollock at The Art Story Foundation Pollock on Museum Web Paris Pollock and The Law National Gallery of Art web feature includes highlights of Pollock s career numerous examples of his work photographs and motion footage of Pollock plus an in depth discussion of his 1950 painting Lavender Mist Blue Poles at the NGA One Number 31 1950 smARThistory Jackson Pollock s Number One 1948 How Can We Be Abandoned and Accurate at the Same Time by Lore Mariano Fractal Expressionism the fractal qualities of Pollock s drip paintings Understanding Abstract Art by Harley Hahn Ed Pilkington Pollock cache may have been painted after artist s death The Guardian November 30 2007 Jackson Pollock Papers at the Smithsonian s Archives of American Art Works by Jackson Pollock public domain in Canada ekhathungcak https th wikipedia org w index php title aecksn phxllxk amp oldid 8777125, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม