fbpx
วิกิพีเดีย

Lateral Intraparietal Cortex

Lateral Intraparietal Cortex (ตัวย่อ LIP) อยู่ใน intraparietal sulcus ของสมอง เป็นไปได้มากว่า คอร์เทกซ์นี้มีบทบาทในการเคลื่อนไหวตา เพราะว่า การกระตุ้นเขตนี้ด้วยไฟฟ้ามีผลเป็น saccades คือการเคลื่อนไหวที่รวดเร็วของตา และเชื่อกันว่า คอร์เทกซ์นี้มีบทบาทกับหน่วยความจำใช้งาน (working memory ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวตา โดยทดสอบด้วยวิธีดังต่อไปนี้ (ซึ่งเรียกว่า การทดสอบ saccade แบบทิ้งช่วง หรือ delayed saccade task)

  1. ให้สัตว์ทดลองเพ่งที่จุดตรึงที่ตรงกลางของจอคอมพิวเตอร์
  2. แสดงรูปเป้าหมายเป็นรูปร่างอย่างใดอย่างหนึ่งที่รอบนอกของจอ
  3. เอารูปเป้าหมายออก ตามด้วยระยะเวลาแปรช่วงหนึ่งที่ไม่ทำอะไร (ระยะทิ้งช่วง)
  4. เอาจุดตรึงที่ตรงกลางของจอออก
  5. ให้สัตว์ทดลองเปลี่ยนการเพ่งไปที่รูปเป้าหมาย (ที่เอาออกไปแล้ว)

พบว่า นิวรอนใน LIP เริ่มตอบสนองตั้งแต่เริ่มแสดงรูปเป้าหมาย และก็ตอบสนองต่อไปเรื่อย ๆ แม้ในระยะทิ้งช่วงจนกระทั่งเอาจุดตรึงตรงกลางจอออก ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่นิวรอนหยุดการตอบสนอง และการเคลื่อนไหวตาแบบ saccades ก็เริ่มขึ้น และในที่สุดสัตว์ทดลองก็ทำการเพ่งที่จุดเป้าหมาย นอกจากนั้นแล้ว ยังมีหลักฐานด้วยว่านิวรอนใน LIP ทำการตอบสนองคือยิงศักยะงานเมื่อมีการเคลื่อนไหวแบบ saccades ในการทดสอบแบบ two-alternative forced choice ผลสรุปสำหรับการทดลองนี้ก็คือ นิวรอนใน LIP บันทึกข้อมูล (ในที่นี้คือตำแหน่งของจุดเป้าหมาย) ที่นำมาใช้เพื่อควบคุมนำทางการเคลื่อนไหวตาแบบ saccades นั่นก็คือ คอร์เทกซ์เขตนี้มีหน่วยความจำใช้งานที่จำเพาะเจาะจงต่อ Sensory modality คือการเห็น (และไม่มีจำเพาะเจาะจงกับ modality อื่น ๆ เช่นการได้ยินเป็นต้น)

นอจากคอร์เทกซ์นี้แล้ว ยังมีเขตอื่น ๆ ในสมองที่มีความจำเพาะเจาะจงต่อ sensory modality อื่น ๆ

เชิงอรรถและอ้างอิง

  1. Bear, Mark, Barry Connors, and Michael Paradiso. (2002). Neuroscience: Exploring the Brain. Lippincott Williams & Wilkins. pp. 757–758.CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  2. Saccade หมายถึงการเคลื่อนไหวอย่างเร็ว ๆ ของตา ของศีรษะ หรือของส่วนอื่นในร่างกาย หรือของอุปกรณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง และยังหมายถึงการเปลี่ยนความถี่อย่างรวดเร็วของสัญญาณส่ง หรือความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วอย่างอื่น ๆ ได้อีกด้วย Saccades (พหูพจน์) เป็นการเคลื่อนไหวตาทั้งสองข้างไปยังทิศทางเดียวกันอย่างรวดเร็ว
  3. หน่วยความจำใช้งาน (working memory) คือระบบความจำที่รองรับข้อมูลชั่วคราวซึ่งสมองใช้ในการประมวลผล เช่น จะจำเบอร์โทรศัพท์อย่างชั่วคราวได้ก็จะต้องใช้ระบบนี้
  4. Gnadt, J. W., & Andersen, R. A. (1988) . Memory related motor planning activity in posterior parietal cortex of macaque. Experimental Brain Research, 70 (1), 216-220.
  5. Pesaran, B., Pezaris, J. S., Sahani, M., Mitra, P. P., & Andersen, R. A. (2002) . Temporal structure in neuronal activity during working memory in macaque parietal cortex. Nature neuroscience, 5 (8), 805-811.
  6. two-alternative forced choice (2AFC) เป็นวิธีการทดสอบทางจิตฟิสิกส์ (psychophysics) เพื่อให้เกิดการตอบสนองต่อตัวกระตุ้นในสัตว์ทดลอง กล่าวโดยเฉพาะก็คือ 2AFC มักจะใช้ในการทดสอบความรวดเร็วและความแม่นยำของการเลือกตัวกระตุ้นระหว่างตัวกระตุ้น 2 ตัว มีขั้นตอนพื้นฐานคือ 1. แสดงตัวกระตุ้น 2 ตัวพร้อม ๆ กันเช่นตัวกระตุ้นทางตา 2. ทิ้งช่วงระยะเวลาหนึ่งให้กับสัตว์ทดลองในการตอบสนอง 3. สัตว์ทดลองตอบสนองด้วยการเลือกตัวกระตุ้นตัวใดตัวหนึ่ง
  7. Platt, Michael L. (1999-07-15). "Neural correlates of decision variables in parietal cortex". Nature. 400 (6741): 233–238. doi:10.1038/22268. ISSN 0028-0836. สืบค้นเมื่อ 2012-06-09. Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help)

lateral, intraparietal, cortex, วย, อย, ใน, intraparietal, sulcus, ของสมอง, เป, นไปได, มากว, คอร, เทกซ, บทบาทในการเคล, อนไหวตา, เพราะว, การกระต, นเขตน, วยไฟฟ, าม, ผลเป, saccades, อการเคล, อนไหวท, รวดเร, วของตา, และเช, อก, นว, คอร, เทกซ, บทบาทก, บหน, วยความจำใช. Lateral Intraparietal Cortex twyx LIP xyuin intraparietal sulcus khxngsmxng 1 epnipidmakwa khxrethksnimibthbathinkarekhluxnihwta ephraawa karkratunekhtnidwyiffamiphlepn saccades 2 khuxkarekhluxnihwthirwderwkhxngta aelaechuxknwa khxrethksnimibthbathkbhnwykhwamcaichngan working memory 3 thiekiywkhxngkbkarekhluxnihwta odythdsxbdwywithidngtxipni sungeriykwa karthdsxb saccade aebbthingchwng hrux delayed saccade task 4 5 ihstwthdlxngephngthicudtrungthitrngklangkhxngcxkhxmphiwetxr aesdngrupepahmayepnruprangxyangidxyanghnungthirxbnxkkhxngcx exarupepahmayxxk tamdwyrayaewlaaeprchwnghnungthiimthaxair rayathingchwng exacudtrungthitrngklangkhxngcxxxk ihstwthdlxngepliynkarephngipthirupepahmay thiexaxxkipaelw phbwa niwrxnin LIP erimtxbsnxngtngaeterimaesdngrupepahmay aelaktxbsnxngtxiperuxy aeminrayathingchwngcnkrathngexacudtrungtrngklangcxxxk sungepnchwngewlathiniwrxnhyudkartxbsnxng aelakarekhluxnihwtaaebb saccades kerimkhun aelainthisudstwthdlxngkthakarephngthicudepahmay nxkcaknnaelw yngmihlkthandwywaniwrxnin LIP thakartxbsnxngkhuxyingskyanganemuxmikarekhluxnihwaebb saccades inkarthdsxbaebb two alternative forced choice 6 7 phlsrupsahrbkarthdlxngnikkhux niwrxnin LIP bnthukkhxmul inthinikhuxtaaehnngkhxngcudepahmay thinamaichephuxkhwbkhumnathangkarekhluxnihwtaaebb saccades nnkkhux khxrethksekhtnimihnwykhwamcaichngan 3 thicaephaaecaacngtx Sensory modality khuxkarehn aelaimmicaephaaecaacngkb modality xun echnkaridyinepntn nxcakkhxrethksniaelw yngmiekhtxun insmxngthimikhwamcaephaaecaacngtx sensory modality xun echingxrrthaelaxangxing aekikh Bear Mark Barry Connors and Michael Paradiso 2002 Neuroscience Exploring the Brain Lippincott Williams amp Wilkins pp 757 758 CS1 maint multiple names authors list link Saccade hmaythungkarekhluxnihwxyangerw khxngta khxngsirsa hruxkhxngswnxuninrangkay hruxkhxngxupkrnxyangidxyanghnung aelaynghmaythungkarepliynkhwamthixyangrwderwkhxngsyyansng hruxkhwamepliynaeplngxyangrwderwxyangxun idxikdwy Saccades phhuphcn epnkarekhluxnihwtathngsxngkhangipyngthisthangediywknxyangrwderw 3 0 3 1 hnwykhwamcaichngan working memory khuxrabbkhwamcathirxngrbkhxmulchwkhrawsungsmxngichinkarpramwlphl echn cacaebxrothrsphthxyangchwkhrawidkcatxngichrabbni Gnadt J W amp Andersen R A 1988 Memory related motor planning activity in posterior parietal cortex of macaque Experimental Brain Research 70 1 216 220 Pesaran B Pezaris J S Sahani M Mitra P P amp Andersen R A 2002 Temporal structure in neuronal activity during working memory in macaque parietal cortex Nature neuroscience 5 8 805 811 two alternative forced choice 2AFC epnwithikarthdsxbthangcitfisiks psychophysics ephuxihekidkartxbsnxngtxtwkratuninstwthdlxng klawodyechphaakkhux 2AFC mkcaichinkarthdsxbkhwamrwderwaelakhwamaemnyakhxngkareluxktwkratunrahwangtwkratun 2 tw mikhntxnphunthankhux 1 aesdngtwkratun 2 twphrxm knechntwkratunthangta 2 thingchwngrayaewlahnungihkbstwthdlxnginkartxbsnxng 3 stwthdlxngtxbsnxngdwykareluxktwkratuntwidtwhnung Platt Michael L 1999 07 15 Neural correlates of decision variables in parietal cortex Nature 400 6741 233 238 doi 10 1038 22268 ISSN 0028 0836 subkhnemux 2012 06 09 Unknown parameter coauthors ignored author suggested help bthkhwamekiywkbkaywiphakhsastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi okhrngkarwikikaywiphakhsastrekhathungcak https th wikipedia org w index php title Lateral Intraparietal Cortex amp oldid 6042541, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม