fbpx
วิกิพีเดีย

ภูเขาไฟเอเรบัส

ภูเขาไฟเอเรบัส (อังกฤษ: Mount Erebus) เป็นภูเขาไฟมีพลังที่อยู่ใต้สุดของโลกและเป็นสูงเป็นอันดับ 2 ในทวีปแอนตาร์กติการองจากภูเขาไฟซีย์เล ภูเขาลูกนี้เป็นภูเขาบนเกาะที่สูงเป็นอันดับ 6 ของโลก สูง 3,794 เมตรตั้งอยู่บนเกาะรอสส์ที่เป็นที่ตั้งของภูเขาดับสนิทอย่างภูเขาเทเรอะและภูเขาเบิรด์

ภูเขาไฟเอเรบัส
ภูเขาไฟเอเรบัส พ.ศ. 2515
จุดสูงสุด
ความสูง
เหนือระดับน้ำทะเล
3,794 เมตร (12,448 ฟุต) 
ความสูง
ส่วนยื่นจากฐาน
3,794 เมตร (12,448 ฟุต) 
Ranked 34th
รายชื่อUltra
พิกัด77°31′47″S 167°09′12″E / 77.52972°S 167.15333°E / -77.52972; 167.15333พิกัดภูมิศาสตร์: 77°31′47″S 167°09′12″E / 77.52972°S 167.15333°E / -77.52972; 167.15333
ข้อมูลทางภูมิศาสตร์
ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Location_map บรรทัดที่ 522: Unable to find the specified location map definition: "Module:Location map/data/Antarctica" does not exist
ที่ตั้งเกาะรอสส์ แอนตาร์กติกา
(ส่วนหนึ่งของรอสส์ดีเพนเดนซีอ้างสิทธิโดยนิวซีแลนด์)
แผนที่ภูมิประเทศเกาะรอสส์
ข้อมูลทางธรณีวิทยา
อายุหิน1.3 ล้านปี
ประเภทภูเขากรวยภูเขาไฟสลับชั้น
การปะทุครั้งล่าสุดพ.ศ. 2515 ถึงปัจจุบัน
การพิชิต
พิชิตครั้งแรกเอจเวิร์ด เดวิดและคณะ ใน พ.ศ. 2451
เส้นทางง่ายสุดเบสิคสโนว์ & ปีนน้ำแข็ง

ภูเขาลูกนี้เริ่มปะทุเมื่อประมาณ 1.3 ล้านปีที่แล้ว และภูเขาลูกนี้ยังเป็นที่ตั้งของที่สังเกตการณ์ที่ดูแลโดยสถาบันเหมืองแร่และเทคโนโลยีแห่งรัฐนิวเม็กซิโก

ธรณีวิทยาและวิทยาภูเขาไฟ

ภูเขาไฟเอเรบัสเป็นภูเขาไฟที่มีกิจกรรมทางภูเขาไฟมากที่สุดในแอนตาร์กติกาและยังเป็นจุดปะทุของจุดร้อนเอเรบัสในปัจจุบัน ยอดปล่องภูเขาไฟมีทะเลสาบหินโฟโนไลต์หลอมเหลวซึ่งเป็นหนึ่งในห้าของทะเลสาบลาวาที่อยู่ถาวรบนโลก เอเรบัสเป็นภูเขาไฟที่ประทุแบบสตรอมโบเลียนตามทะเลสาบลาวาหรือตามรอยแตกทั้งหมดของปล่องภูเขาไฟ ภูเขาไฟลูกนี้มีความโดดเด่นทางวิทยาศาสตร์เนื่องจากกิจกรรมการปะทุต่อเนื่องอยู่ในระดับต่ำและผิดปกติทำให้ช่วยให้ศึกษาการประทุแบบสตรอมโบเลียนได้อย่างใกล้ชิด ภูเขาลูกนี้มีลักษณะเฉพาะร่วมกับภูเขาไฟบนโลกเพียงไม่กี่แห่ง เช่นภูเขาไฟสตรอมโบลีในประเทศอิตาลี การศึกษาทางวิทยาศาสตร์ของภูเขาไฟลูกนี้ค่อนข้างสะดวกเนื่องจากอยู่ห่างจากที่ตั้งของฐานสกอตของนิวซีแลนด์และสถานีแม็คเมอร์โดของสหรัฐเพียง 35 กม.

ภูเขาไฟเอเรบัสจัดเป็นกรวยภูเขาไฟสลับชั้นโดยครึ่งล่างเป็นรูปโล่ด้านบนเป็นกรวยภูเขาไฟสลับชั้น ส่วนประกอบที่ปะทุออกมาจากเอเรบัสจะเป็นพวกผลึกดอก อะนอร์โทเคลส เทไฟร์ทและหินโฟโนไลต์ซึ่งเป็นส่วนประกอบของลาวาในภูเขาไฟ ส่วนประกอบของการระเบิดที่เก่าแก่ที่สุดมีส่วนประกอบไม่ต่างกันแต่จะมีหินบาซาไนต์หลอมเหลวที่หนืดซึ่งเป็นส่วนที่ทำให้เป็นรูปโล่บริเวณตีนเขา หินบาซาไนต์และหินโฟโนไลต์หลอมเหลวจำนวนเล็กน้อยทำให้เกิดสันเขาแฟรงและสถานที่อื่น ๆ รอบภูเขาไฟเอเรบัส ภูเขาไฟเอเรบัสเป็นภูเขาไฟที่ปะทุโฟโนไลต์เพียงแห่งเดียวในโลกในปัจจุบัน

ประวัติ

ชื่อและการค้นพบ

เจมส์ คลาร์ก รอสส์ค้นพบภูเขาลูกนี้ในวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2384 (เห็นระหว่างการปะทุ) อีกทั้งยังตั้งชื่อให้ภูเขาลูกนี้และภูเขาเทเรอะตามชื่อเรือหลวงเอเรบัสและเรือหลวงเทเรอะ

อ้างอิง

  1. "Mount Erebus". Global Volcanism Program, Smithsonian Institution. สืบค้นเมื่อ 2008-12-29.
  2. "Mount Erebus". Geographic Names Information System, U.S. Geological Survey. สืบค้นเมื่อ 2011-07-30.
  3. "Antarctic explorers". Australian Antarctic Division. สืบค้นเมื่อ 2008-12-29.
  4. . Mt. Erebus Volcano Observatory (MEVO). คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ March 12, 2012. สืบค้นเมื่อ January 11, 2015. Unknown parameter |deadurl= ignored (help)
  5. . New Mexico Tech. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2007-07-02. สืบค้นเมื่อ 2008-12-29. Unknown parameter |dead-url= ignored (help)
  6. Kyle, P. R., บ.ก. (1994). Volcanological and Environmental Studies of Mount Erebus, Antarctica. Antarctic Research Series. Washington DC: American Geophysical Union. ISBN 0-87590-875-6.
  7. Aster, R.; Mah, S.; Kyle, P.; McIntosh, W.; Dunbar, N.; Johnson, J. (2003). "Very long period oscillations of Mount Erebus volcano". J. Geophys. Res. 108: 2522. doi:10.1029/2002JB002101.
  8. Burgisser, Alain; Oppenheimer, Clive, Alletti, Marina; Kyle, Phillip R.; Scaillet, Bruno; Carroll, Michael R. (November 2012). "Backward Tracking of gas chemistry measurements at Erebus volcano". Geochemistry Geophysics Geosystems. 13 (11): 24. doi:10.1029/2012GC004243.CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  9. Ross, Voyage to the Southern Seas, vol. i, pp. 216–8.

เขาไฟเอเรบ, งกฤษ, mount, erebus, เป, นภ, เขาไฟม, พล, งท, อย, ใต, ดของโลกและเป, นส, งเป, นอ, นด, ในทว, ปแอนตาร, กต, การองจากภ, เขาไฟซ, เล, เขาล, กน, เป, นภ, เขาบนเกาะท, งเป, นอ, นด, ของโลก, เมตรต, งอย, บนเกาะรอสส, เป, นท, งของภ, เขาด, บสน, ทอย, างภ, เขาเทเรอะแล. phuekhaifexerbs xngkvs Mount Erebus epnphuekhaifmiphlngthixyuitsudkhxngolkaelaepnsungepnxndb 2 inthwipaexntarktikarxngcakphuekhaifsiyel phuekhalukniepnphuekhabnekaathisungepnxndb 6 khxngolk 1 sung 3 794 emtrtngxyubnekaarxssthiepnthitngkhxngphuekhadbsnithxyangphuekhaetherxaaelaphuekhaebirdphuekhaifexerbsphuekhaifexerbs ph s 2515cudsungsudkhwamsungehnuxradbnathael3 794 emtr 12 448 fut 1 khwamsungswnyuncakthan3 794 emtr 12 448 fut 1 Ranked 34thraychuxUltraphikd77 31 47 S 167 09 12 E 77 52972 S 167 15333 E 77 52972 167 15333 phikdphumisastr 77 31 47 S 167 09 12 E 77 52972 S 167 15333 E 77 52972 167 15333 2 khxmulthangphumisastrkhxphidphlad Lua in mxdul Location map brrthdthi 522 Unable to find the specified location map definition Module Location map data Antarctica does not existthitngekaarxss aexntarktika swnhnungkhxngrxssdiephnednsixangsiththiodyniwsiaelnd aephnthiphumipraethsekaarxsskhxmulthangthrniwithyaxayuhin1 3 lanpipraephthphuekhakrwyphuekhaifslbchnkarpathukhrnglasudph s 2515 thungpccubnkarphichitphichitkhrngaerkexcewird edwidaelakhna in ph s 2451 3 esnthangngaysudebsikhsonw amp pinnaaekhngphuekhaluknierimpathuemuxpraman 1 3 lanpithiaelw 4 aelaphuekhalukniyngepnthitngkhxngthisngektkarnthiduaelodysthabnehmuxngaeraelaethkhonolyiaehngrthniwemksiok 5 enuxha 1 thrniwithyaaelawithyaphuekhaif 2 prawti 2 1 chuxaelakarkhnphb 3 xangxingthrniwithyaaelawithyaphuekhaif aekikhphuekhaifexerbsepnphuekhaifthimikickrrmthangphuekhaifmakthisudinaexntarktikaaelayngepncudpathukhxngcudrxnexerbsinpccubn yxdplxngphuekhaifmithaelsabhinofonilthlxmehlwsungepnhnunginhakhxngthaelsablawathixyuthawrbnolk exerbsepnphuekhaifthiprathuaebbstrxmobeliyntamthaelsablawahruxtamrxyaetkthnghmdkhxngplxngphuekhaif 6 7 phuekhaifluknimikhwamoddednthangwithyasastrenuxngcakkickrrmkarpathutxenuxngxyuinradbtaaelaphidpktithaihchwyihsuksakarprathuaebbstrxmobeliynidxyangiklchid phuekhaluknimilksnaechphaarwmkbphuekhaifbnolkephiyngimkiaehng echnphuekhaifstrxmobliinpraethsxitali karsuksathangwithyasastrkhxngphuekhaifluknikhxnkhangsadwkenuxngcakxyuhangcakthitngkhxngthanskxtkhxngniwsiaelndaelasthaniaemkhemxrodkhxngshrthephiyng 35 km phuekhaifexerbscdepnkrwyphuekhaifslbchnodykhrunglangepnrupoldanbnepnkrwyphuekhaifslbchn swnprakxbthipathuxxkmacakexerbscaepnphwkphlukdxk xanxrothekhls ethifrthaelahinofoniltsungepnswnprakxbkhxnglawainphuekhaif swnprakxbkhxngkarraebidthiekaaekthisudmiswnprakxbimtangknaetcamihinbasainthlxmehlwthihnudsungepnswnthithaihepnrupolbriewntinekha hinbasaintaelahinofonilthlxmehlwcanwnelknxythaihekidsnekhaaefrngaelasthanthixun rxbphuekhaifexerbs phuekhaifexerbsepnphuekhaifthipathuofoniltephiyngaehngediywinolkinpccubn 8 prawti aekikhchuxaelakarkhnphb aekikh ecms khlark rxsskhnphbphuekhalukniinwnthi 27 mkrakhm ph s 2384 9 ehnrahwangkarpathu xikthngyngtngchuxihphuekhalukniaelaphuekhaetherxatamchuxeruxhlwngexerbsaelaeruxhlwngetherxaxangxing aekikh 1 0 1 1 1 2 Mount Erebus Global Volcanism Program Smithsonian Institution subkhnemux 2008 12 29 Mount Erebus Geographic Names Information System U S Geological Survey subkhnemux 2011 07 30 Antarctic explorers Australian Antarctic Division subkhnemux 2008 12 29 Mt Erebus Mt Erebus Volcano Observatory MEVO khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux March 12 2012 subkhnemux January 11 2015 Unknown parameter deadurl ignored help Mount Erebus Volcano Observatory New Mexico Tech khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2007 07 02 subkhnemux 2008 12 29 Unknown parameter dead url ignored help Kyle P R b k 1994 Volcanological and Environmental Studies of Mount Erebus Antarctica Antarctic Research Series Washington DC American Geophysical Union ISBN 0 87590 875 6 Aster R Mah S Kyle P McIntosh W Dunbar N Johnson J 2003 Very long period oscillations of Mount Erebus volcano J Geophys Res 108 2522 doi 10 1029 2002JB002101 Burgisser Alain Oppenheimer Clive Alletti Marina Kyle Phillip R Scaillet Bruno Carroll Michael R November 2012 Backward Tracking of gas chemistry measurements at Erebus volcano Geochemistry Geophysics Geosystems 13 11 24 doi 10 1029 2012GC004243 CS1 maint multiple names authors list link Ross Voyage to the Southern Seas vol i pp 216 8 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title phuekhaifexerbs amp oldid 9316467, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม