fbpx
วิกิพีเดีย

นอติลอยด์

นอติลอยด์
ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: 495–0Ma แคมเบรียนตอนต้น - ปัจจุบัน
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Mollusca
ชั้น: Cephalopoda
ชั้นย่อย: Nautiloidea
Agassiz, 1847
Orders

Palcephalopoda

  • †Plectronocerida
  • †Ellesmerocerida
  • †Actinocerida
  • †Pseudorthocerida
  • †Endocerida
  • †Tarphycerida
  • †Oncocerida
  • †Discosorida
  • Nautilida

Neocephalopoda (in part)

  • †Orthocerida
  • †Ascocerida
  • †Bactritida

นอติลอยด์ คือกลุ่มของหอยทะเล (ไฟลั่มมอลลัสก้า) ในชั้นย่อย นอติลอยดี ที่มีเปลือกห่อหุ้มภายนอกที่รู้จักกันดีคือหอยงวงช้างในปัจจุบัน (Nautilus spp.) พบปรากฏโดดเด่นในช่วงต้นของมหายุคพาลีโอโซอิกในฐานะสัตว์นักล่าโดยได้พัฒนาเปลือกกระดองทั้งรูปแบบและรูปร่างที่หลากหลาย พบเป็นซากดึกดำบรรพ์ประมาณ 2,500 ชนิด แต่อยู่รอดมาจนถึงปัจจุบันเพียง 6 ชนิดเท่านั้น

ความสัมพันธ์ทางอนุกรมวิธาน

นอติลอยด์คือกลุ่มของสัตว์ทั้งหลายที่เรียกกันว่าเซฟาโลพอด (ชั้นเซฟาโลโพดา) ซึ่งรวมถึงแอมโมนอยด์ เบเลมนอยด์ และกลุ่มของสัตว์ปัจจุบันพวกโคลอยด์ อย่างเช่น หมึกยักษ์และปลาหมึก เซฟาโลพอดเป็นชั้นที่มีพัฒนาการก้าวหน้าของสัตว์ทะเลกลุ่มใหญ่กลุ่มหนึ่งที่เรียกว่าหอย (ไฟลั่มมอลลัสก้า) ที่รวมถึงหอยกาบเดี่ยวและหอยกาบคู่ด้วย

โดยทั่วไปได้มีการจำแนกเซฟาโลพอดออกเป็น 3 กลุ่มย่อยได้แก่ นอติลอยด์ แอมโมนอยด์ และโคลอยด์ ในบทความนี้จะใช้ชื่อนอติลอยด์เป็นนัยกว้างๆ ซึ่งบางครั้งก็ใช้คำว่านอติลอยดี

นอติลอยด์เป็นกลุ่มของหอยที่มีลักษณะร่วมที่เก่าแก่โบราณ (เพลซิโอมอร์ฟี) ที่ไม่พบในกลุ่มอื่นๆของเซฟาโลพอด หรือกล่าวได้อีกอย่างหนึ่งในเชิงระดับวิวัฒนาการได้ว่า นอติลอยด์เป็นกลุ่มที่มีลักษณะเก่าแก่ที่วิวัฒนาการให้แอมโมนอยด์และโคลอยด์ ทั้งแอมโมนอยด์และโคลอยด์ถูกคิดว่าสืบทอดลูกหลานมาจากแบคทริติดาที่สืบทอดมาจากนอติลอยด์ที่มีเปลือกกระดองตรง (orthocone)

แอมโมนอยด์ (ประกอบไปด้วยแอมโมไนต์และโกนิเอไทต์) เป็นลูกหลานของนอติลอยด์ได้สูญพันธุ์ไปแล้วที่วิวัฒนาการขึ้นมาในช่วงต้นของยุคดีโวเนียนหรือประมาณ 400 ล้านปีมาแล้ว และในช่วงยุคดีโวเนียนหรือยุคคาร์บอนิเฟอรัสตอนต้นนั้นเองที่พวกแบคทริติดส์ได้วิวัฒนาการแตกแขนงออกมาเป็นโคลอยด์เป็นครั้งแรกในรูปแบบของเบเลมนอยด์รุ่นแรกๆ ดังนั้นเซฟาโลพอดทั้งหมดที่ดำรงชีวิตอยู่ในปัจจุบันได้วิวัฒนาการมาจากนอติลอยด์มาตั้งแต่มหายุคพาลีโอโซอิกแล้ว

บางคนใช้ชื่อนอติลอยดีให้หมายถึงกลุ่มที่มีความเฉพาะมากยิ่งขึ้นโดยเขียนว่านอติลอยดี “sensu stricto” โดยให้หอยกลุ่มนี้ประกอบไปด้วยอันดับที่เปรียบเทียบได้อย่างชัดเจนกับหอยงวงช้างปัจจุบันเท่านั้น จำนวนสมาชิกค่อนข้างหลากหลายขึ้นอยู่กับผู้ศึกษาแต่ปรกติแล้วประกอบไปด้วยอันดับทาร์ฟายเซอริดา ออนโคเซอริดา และนอติลิดา

รูปร่างลักษณะ

เปลือกกระดองของนอติลอยด์มีลักษณะที่สำคัญ 3 ประการ คือห้องด้านใน ไซฟังเคิล และเส้นรอยเชื่อมบนเปลือกกระดองซึ่งเป็นลักษณะที่พบได้ในแอมโมนอยด์ด้วย

ผนังบางๆที่กั้นห้องด้านใน (คาเมอรา) ของเปลือกกระดองเรียกว่า “เซฟต้า” เมื่อนอติลอยด์เจริญเติบโตขึ้นมันจะคลายตัวเองออกจากผนังกั้นของเปลือกหอยแล้วขยับตัวเองไปทางด้านหน้า จากนั้นก็จะสร้างผนังกั้นแผ่นใหม่ขึ้นมาทางด้านหลังของมัน ผนังกั้นห้องแต่ละแผ่นที่สร้างเพิ่มขึ้นมานั้นจะทำให้เกิดห้องคาเมอราห้องใหม่ขึ้นมา ตัวหอยนอติลอยด์เองซึ่งเป็นเนื้อเยื่ออ่อนนุ่มจะอาศัยอยู่ในห้องสุดท้ายของเปลือกหอยที่เรียกกันว่า “บอดี้แชมเบอร์” หรือ ”ลิฟวิ่งแชมเบอร์”

ผนังกั้นห้องจะมีท่อไซฟังเคิลเป็นท่อยาวร้อยผ่านผนังกั้นและผ่านห้องด้านในของเปลือกกระดองทั้งหมด โดยรอบๆของท่อไซฟังเคิลเป็นโครงสร้างที่ทำจากแร่อะราโกไนต์ คอผนัง และวงแหวนเชื่อมต่อ (อะราโกไนต์เป็นโพลีมอร์ฟหนึ่งของแคลเซียมคาร์บอเนตซึ่งเมื่อกลายเป็นซากดึกดำบรรพ์จะเปลี่ยนไปเป็นแร่แคลไซต์) ในห้องด้านในที่ว่างเปล่าของนอติลอยด์รุ่นแรกบางชนิดจะมีตะกรันของสารแคลเซียมคาร์บอเนตตกสะสมอยู่ (เรียกว่า cameral deposits) หรือภายในท่อไซฟังเคิล (เรียกว่า endosiphuncular deposits) ซึ่งเป็นกระบวนการหนึ่งที่อาจเกี่ยวข้องกับการควบคุมการลอยตัวของตัวหอย ธรรมชาติของท่อไซฟังเคิลและตำแหน่งของมันภายในเปลือกกระดองมีความสำคัญในการจำแนกนอติลอยด์

เส้นรอยเชื่อมเห็นได้เป็นชุดของลายเส้นแคบๆที่คดโค้งไปมาบนผิวของเปลือกกระดองซึ่งจะเป็นตำแหน่งที่ผนังกั้นห้องแต่ละแผ่นไปเชื่อมสัมผัสกับผนังของเปลือกกระดองด้านนอก เส้นรอยเชื่อมของนอติลอยด์นี้จะมีรูปร่างลักษณะง่ายๆอาจเป็นเพียงเส้นตรงหรือโค้งเว้าเล็กน้อย นี้แตกต่างไปจากลักษณะเส้นรอยเชื่อมที่เป็นแบบซิกแซ๊กของโกนิเอไทต์และจะมีความซับซ้อนมากยิ่งขึ้นในเส้นรอยเชื่อมของแอมโมไนต์

นอติลอยด์ปัจจุบัน

เราจะรู้จักซากดึกดำบรรพ์ของนอติลอยด์ได้มากน้อยเพียงใดจะขึ้นอยู่กับว่าเราได้รู้จักนอติลอยด์ปัจจุบันมากน้อยเพียงใดด้วย อย่างเช่นหอยงวงช้างแชมเบอร์ (chambered nautilus) ที่พบทางด้านตะวันตกเฉียงใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิกจากหมู่เกาะซามัวไปจนถึงฟิลิปปินส์และในมหาสมุทรอินเดียนอกชายฝั่งออสเตรเลีย โดยปรกติแล้วเราจะไม่พบหอยงวงช้างในน้ำที่มีความลึกน้อยกว่า 100 เมตร แต่จะพบได้ที่ระดับความลึกระหว่าง 500 ถึง 700 เมตรทีเดียว

หอยงวงช้างเป็นสัตว์ที่ว่ายน้ำได้อย่างอิสระที่ประกอบด้วยส่วนหัวที่มีตาสองดวงโดยเป็นตาที่ปราศจากเลนส์ตาและมีหนวด หอยงวงช้างมีเปลือกกระดองเป็นผิวเรียบมีห้องลำตัวขนาดใหญ่ที่ถูกแบ่งออกเป็นห้องๆที่บรรจุก๊าซเฉื่อย (คล้ายอากาศแต่ประกอบด้วยก๊าซไนโตรเจนเป็นส่วนใหญ่และมีออกซิเจนในปริมาณน้อย) ที่ทำให้หอยงวงช้างสามารถลอยตัวอยู่ในน้ำได้ หอยงวงช้างมีหนวดได้มากถึง 90 เส้นเรียงเป็นแถววงกลมสองแถวโดยรอบปากของมัน หอยงวงช้างมีขากรรไกรที่มีลักษณะคล้ายจะงอย เป็นนักล่า โดยหลักๆแล้วเหยื่อจะเป็นพวกครัสตาเชียน

เปลือกกระดองของหอยงวงช้างที่ว่างเปล่าอาจถูกพัดพาไปได้เป็นระยะทางไกล เคยได้รับรายงานว่ามีการค้นพบเปลือกกระดองในญี่ปุ่น อินเดีย และแอฟริกาด้วย อย่างไม่ต้องสงสัยว่านี้สามารถนำไปอธิบายถึงเปลือกกระดองของซากดึกดำบรรพ์นอติลอยด์ได้ที่ว่าเมื่อหอยตายลงแล้วก๊าซที่อยู่ภายในห้องด้านในจะยังคงทำให้เปลือกหอยลอยตัวอยู่สักระยะเวลาหนึ่ง ดังนั้นเปลือกหอยเปล่าๆหลังจากที่หอยตายไปแล้วจะสามารถถูกพัดพาไปจากตำแหน่งที่มันอาศัยอยู่ด้วยระยะทางหนึ่ง แล้วท้ายสุดก็จะจมลงสู่พื้นท้องทะเล

หอยงวงช้างขับเคลื่อนตัวเองด้วยการพ่นน้ำออกจากท่อยาวๆที่เรียกว่าไฮโปโนมที่สามารถชี้ออกไปในทิศทางต่างๆเพื่อควบคุมทิศทางการเคลื่อนที่ได้ หอยงวงช้างไม่มีถุงหมึกเหมือนอย่างที่พบในเบเลมไนต์และในเซฟาโลพอดอื่นๆบางชนิด และก็ไม่มีหลักฐานที่จะบ่งชี้ว่านอติลอยด์ชนิดที่สูญพันธุ์ไปแล้วจะมีถุงหมึกด้วยหรือเปล่า หอยงวงช้างในปัจจุบันไม่มีแผ่นปิดช่องเปิดเปลือกกระดองเหมือนกับในแอมโมไนต์ที่สูญพันธุ์ไปแล้วและก็ไม่พบในนอติลอยด์ที่สูญพันธุ์ไปแล้วด้วย

สีสันของเปลือกกระดองของหอยงวงช้างปัจจุบันมีความโดดเด่นชัดเจนทีเดียว และแม้ว่าจะเป็นสิ่งยากแต่ก็รายงานการค้นพบลวดลายสีสันบนเปลือกกระดองของซากดึกดำบรรพ์นอติลอยด์ด้วย ปรกติจะพบรูปแบบสีสันบนด้านหลังของเปลือกกระดองเท่านั้นซึ่งเข้าใจได้ได้ว่าหอยมีการว่ายน้ำไปในทิศทางในแนวระนาบ

ซากดึกดำบรรพ์

 
ซากดึกดำบรรพ์นอติลอยด์ Trilacinoceras ยุคออร์โดวิเชียนจากประเทศจีน
 
ซากดึกดำบรรพ์นอติลอยด์ที่มีเปลือกกระดองชนิดออร์โธคองส์ยุคออร์โดวิเชียน พบในเคนทัคกี รอยพิมพ์ด้านในแสดงลักษณะของไซฟังเคิลและห้องด้านในมีสารปูนสะสมตัวอยู่ครึ่งห้อง

นอติลอยด์จะพบมากในหินที่มีอายุในช่วงแรกๆของมหายุคพาลีโอโซอิก (พบน้อยในชั้นตะกอนปัจจุบัน) เปลือกกระดองของซากดึกดำบรรพ์มีลักษณะหลายรูปแบบ ที่มีลักษณะเป็นแท่งตรงเช่น ออร์โธเชอแรสและเลยอนโนเซอแรส ที่เป็นแท่งโค้ง เช่น เซอโตเซอแรส ที่ขดม้วน เช่น ซีโนเซอแรส หรือที่ขดม้วนเป็นเกลียว เช่น ลอริเออเซอแรส ผิวของเปลือกกระดองบางชนิดโดยเฉพาะอย่างยิ่งนอติลอยด์ในช่วงปลายมหายุคพาลีโอโซอิกและช่วงต้นมหายุคมีโซโซอิกจะมีลวดลายประดับด้วยหนามและลายเส้น

หินยุคออร์โดวิเชียนในทะเลบอลติกและส่วนของสหรัฐอเมริกาจะพบนอติลอยด์อย่างหลากหลายอย่างเช่นดิสซิโตเซอแรสและเลยอนโนเซอแรสอาจพบในหินปูนยุคคาร์บอนิเฟอรัสในสาธารณรัฐไอร์แลนด์ หินที่สะสมตัวในทะเลยุคจูแรสซิกในสหราชอาณาจักรมักพบซีโนเซอแรส และนอติลอยด์อย่างเช่นยูเทรโฟเซอแรสก็อาจพบในหมวดหินปิแอร์เชลยุคครีเทเชียสในทางตอนกลางถึงตอนเหนือของสหรัฐอเมริกา

ตัวอย่างของนอติลอยด์ “เอนโดเชอแรส”ยุคออร์โดวิเชียนพบว่ามีความยาวถึง 3.5 เมตร และ”[คาเมอโรเซอแรส]]” ที่ประมาณว่าอาจจะมีขนาดได้ถึง 11 เมตร นอติลอยด์ขนาดใหญ่เหล่านี้จะต้องเป็นสัตว์นักล่าที่น่าสะพรึงกลัวของเหล่าสัตว์ทะเลอื่นๆในยุคนั้นอย่างแน่นอน

ในบางแห่งอย่างเช่นสแกนดิเนเวียและโมรอคโคพบนอติลอยด์ที่มีเปลือกกระดองแบบออร์โธโคนสะสมตัวเป็นจะนวนมากเกิดเป็นชั้นหินปูนออร์โธเซอแรส แม้ว่าคำว่า “ออร์โธเซอแรส”ในปัจจุบันจะอ้างถึงสกุลที่พบในทะเลบอลติกยุคออร์โดวิเชียนเท่านั้น แต่ก่อนหน้านั้นได้ถูกใช้กับนอติลอยด์พวกออร์โธโคนทั้งหมดที่อาศัยอยู่ระหว่างยุคออร์โดวิเชียนถึงยุคไทรแอสซิก (แต่พบได้ทั่วไปในช่วงต้นของมหายุคพาลีโอโซอิก)

ประวัติวิวัฒนาการ

นอติลอยด์พบปรากฏขึ้นครั้งแรกจากหมวดหินเฝิ่งซานยุคแคมเบรียนทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศจีนที่ซึ่งดูเหมือนจะพบอย่างหลากหลาย (เป็นช่วงเวลาที่เป็นทะเลตื้นอากาศอบอุ่นที่อุดมไปด้วยสิ่งมีชีวิตทะเล) อย่างไรก็ตาม แม้ว่าจะมีรายงานจำนวนชนิดไว้มากถึง 131 ชนิดอยู่ในจำนวน 4 อันดับ แต่ดูเหมือนว่าไม่ค่อยจะมีความแน่นอนว่าจะได้รับการยอมรับ และจริงๆแล้วดูเหมือนว่าจำนวนชนิดดังกล่าวค่อยข้างจะมีการแยกแยะชนิดมากจนเกินไป

นอติลอยด์ยุคแรกๆได้สูญพันธุ์ไปเกือบทั้งหมด มีเพียงวงศ์เดียวคือเอลเลสเมอโรเซอราทิดีที่รอดพ้นไปจนถึงช่วงต้นของยุคออร์โดวิเชียนที่ซึ่งทำให้เกิดเซฟาโลพอดรุ่นหลังๆต่อมาทั้งหมด ในยุคออร์โดวิเชียนตอนต้นถึงตอนกลางนอติลอยด์ต้องพบกับการแตกแขนงวิวัฒนาการครั้งใหญ่ที่อาจเป็นผลสืบเนื่องมาจากได้เกิดแหล่งนิเวศวิทยาใหม่ๆที่เกิดขึ้นจากการสูญพันธุ์ไปของแอโนมาโลคาริสเมื่อสิ้นสุดยุคแคมเบรียน โดยได้เกิดอันดับใหม่มากถึง 8 อันดับทีมีลักษณะโครงสร้างและชนิดของเปลือกกระดองรวมทั้งการดำรงชีวิตทางนิเวศวิทยาที่ครอบคลุมอย่างหลากหลาย

นอติลอยด์ได้คงไว้ซึ่งขอบเขตของการปรับตัวเองอย่างสูงและมีความหลากหลายในรูปแบบตลอดช่วงยุคออร์โดวิเชียนและยุคดีโวเนียนด้วยรูปแบบของเปลือกกระดองที่เป็นทั้งแบบแท่งตรง โค้ง และม้วนขดที่ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในช่วงเวลานั้นๆ นอติลอยด์อันดับที่เกิดในช่วงแรกๆหลายอันดับได้สูญพันธุ์ไปแต่อันดับอื่นๆก็ได้เกิดขึ้นเข้ามาโดดเด่นแทนที่

นอติลอยด์เริ่มลดจำนวนลงในช่วงยุคดีโวเนียนซึ่งอาจเป็นผลสืบเนื่องมาจากการแข่งขันกับลูกหลานที่สืบทอดมาอย่างแอมโมนอยด์และโคลอยด์โดยมีเพียงนอติลิดาเท่านั้นที่ยังคงหลงเหลืออยู่ (และจริงๆแล้วกำลังเพิ่มขึ้นในความหลากหลาย) เปลือกกระดองของมันมีการเพิ่มการขดม้วนชิดกันแน่นมากขึ้นขณะที่ทั้งจำนวนและความหลากหลายของพวกที่ไม่ใช่นอติลิดาได้ลดจำนวนลงอย่างต่อเนื่องตลอดยุคคาร์บอนิเฟอรัสและยุคเพอร์เมียน

การสูญพันธุ์ครั้งใหญ่เมื่อสิ้นสุดยุคเพอร์เมียนส่งผลกระทบต่อนอติลอยด์น้อยกว่าสิ่งมีชีวิตอื่นๆ และมีเพียงไม่กี่กลุ่มเท่านั้นที่รอดพ้นเข้าไปในมหายุคมีโซโซอิกได้แก่ซูเดอร์โธเซอริด แบคทรีติด และนอติลิด และอาจรวมไปถึงออร์โธเซอริด รูปแบบเปลือกกระดองที่เป็นแท่งตรงยังคงรอดพ้นอยู่ได้ไปจนสิ้นสุดที่ยุคไทรแอสซิก แต่ออร์โธเซอริดอาจพบได้ในหินยุคครีเทเชียสด้วยเหมือนกัน มีเพียงอันดับย่อยของนอติลอยด์เพียงอันดับย่อยเดียวเท่านั้นคือนอติลินาที่รอดพ้นไปจนตลอดมหายุคมีโซโซอิกที่ได้มีชีวิตร่วมกับลูกหลานอย่างแอมโมนอยด์ที่มีลักษณะพิเศษมากกว่า ทั้งหมดของนอติลอยด์เหล่านี้มีลักษณะที่แตกต่างจากหอยงวงช้างในปัจจุบันเพียงเล็กน้อย มันได้ฟื้นคืนสภาพขึ้นมาเล็กน้อยในช่วงต้นๆของยุคเทอร์เชียรี (อาจจะเป็นเพื่อการเติมพื้นที่อาศัยที่ว่างลงโดยแอมโมนอยด์จากเหตุการณ์สูญพันธุ์ยุคครีเทเชียส-เทอร์เชียรี) และได้รักษาการกระจายพันธุ์ไปทั่วโลกจนถึงช่วงกลางของมหายุคซีโนโซอิก ด้วยภูมิอากาศโลกที่เย็นลงในช่วงสมัยไมโอซีนและสมัยไพลโอซีนได้ทำให้การกระจายพันธุ์หดหายไปและก็ได้ลดความหลากหลายลงอีกครั้ง ในปัจจุบันพบนอติลอยด์เพียง 6 ชนิดเท่านั้นทั้งหมดอยู่ใน 2 สกุล คือ “สกุลนอติลุส” และ “สกุลอัลโลนอติลุส”

การจำแนก

ดูเพิ่มเติมที่: List of nautiloids

การจำแนกต่อไปนี้จัดทำขึ้นโดยเคิร์ต เทเชิร์ต ในปี ค.ศ. 1988 โดยได้ปรับปรุงจากฉบับปี ค.ศ. 1964 ใน Treatise on Invertebrate Paleontology และอาศัยลักษณะของโครงสร้างเปลือกกระดอง (Teichert 1988, p.19)

  • ชั้นย่อย Endoceratoidea Teichert, 1933
    • อันดับ Endocerida Teichert, 1933 (ยุคออร์โดวิเชียน ถึง ยุคไซลูเรียน)
    • อันดับ Injetocerida Balashov, 1960 (ยุคออร์โดวิเชียน)
  • ชั้นย่อย Nautiloidea Agassiz, 1847
    • อันดับ Discosorida Flower, 1950 (ยุคออร์โดวิเชียน ถึง ยุคดีโวเนียน)
    • อันดับ Nautilida Agassiz, 1847
      • อันดับย่อย Rutocerina Shimanskiy, 1957 (ยุคดีโวเนียน ถึง ยุคไทรแอสซิก)
      • อันดับย่อย Lirocerina Shimanskiy, 1957 (ยุคคาร์บอนิเฟอรัส ถึง ยุคไทรแอสซิก)
      • อันดับย่อย Nautilina Agassiz, 1847 (ยุคไทรแอสซิก ถึง ณ.ปัจจุบันนี้)
    • อันดับ Oncocerida Flower, 1950 (ยุคออร์โดวิเชียน ถึง ยุคคาร์บอนิเฟอรัส)
    • อันดับ Tarphycerida Flower, 1950
      • อันดับย่อย Barrandeocerina Flower (ยุคออร์โดวิเชียน ถึง ยุคดีโวเนียน )
      • อันดับย่อย Tarphycerina Flower, 1950 (ยุคออร์โดวิเชียน ถึง ยุคไซลูเรียน)
  • ชั้นย่อย Orthoceratoidea Kuhn, 1940
    • อันดับ Ascocerida Kuhn, 1949 (ยุคออร์โดวิเชียน ถึง ยุคไซลูเรียน)
    • อันดับ Ellesmerocerida Flower, 1950
      • อันดับย่อย Ellesmerocerina Flower, 1950 (ยุคแคมเบรียน ถึง ยุคออร์โดวิเชียน)
      • อันดับย่อย Cyrtocerina Flower, 1964 (ยุคออร์โดวิเชียน)
    • อันดับ Orthocerida Kuhn, 1940 (ยุคออร์โดวิเชียน ถึง ยุคไทรแอสซิก)
    • อันดับ Plectronocerida Flower, 1964 (ยุคแคมเบรียน)
    • อันดับ Protactinocerida Chen & Qi, 1979 (ยุคแคมเบรียน)
    • อันดับ Yanhecerida Chen & Qi, 1979 (ยุคแคมเบรียน)

อันดับเพิ่มเติมอีกอันดับหนึ่งคือแบคทรีติดาซึ่งบางทีก็พิจารณาให้เป็นนอติลอยด์ที่มีความใกล้ชิดกับออร์โธเซอริดา บางที่ก็จัดให้เป็นแอมโมนอยด์รุ่นเก่าแก่มากๆ และบางทีก็ถูกจัดให้อยู่ในชั้นย่อยของตัวมันเองที่ชื่อว่าแบคทรีตอยดี

ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1988 เป็นต้นมา มีบางคนได้เพิ่มอันดับเพิ่มเติมอีก 2 อันดับ คือซูเดอร์โธเซอริดา และดิสซิโดเซอริดาซึ่งทั้ง สองอันดับนี้เดิมทีถูกจัดไว้ในออร์โธเซอริดา

มีการวิเคราะห์ครั้งล่าสุดโดยธีโอ เอนเกสเซอร์ (Engeser 1997-1998) ได้ให้ความเห็นว่านอติลอยด์และเซฟาโลพอดจริงโดยทั่วไปนั้นแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ พัลเซฟาโลโพดา (รวมนอติลอยด์ทั้งหมด ยกเว้นออร์โธเซอริดาและแอสโคเซอริดา) และนีโอเซฟาโลโพดา (ที่เหลือของเซฟาโลพอดทั้งหมด)

ฟอสซิลนอติลอยด์ในประเทศไทย

มีการพบหอยงวงช้างในประเทศไทยเป็นสกุลและชนิดใหม่ของโลกคือ Siamnautilus ruchae Ishibashi et al., 1994 เป็นหอยงวงช้างอยู่ในวงศ์ Tainoceratidae จากหินดินดานเนื้อประสานปูนของหมวดหินห้วยทาก ยุคเพอร์เมียนตอนกลาง บริเวณเชิงดอยผาพลึง อำเภองาว จังหวัดลำปาง เป็นชนิดใหม่ตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่ นางรุจา อิงคะวัต เฮลมเก้

มีขนาดปานกลาง ขดม้วนมีคลาวิบนผิวเรียงกันเป็น 4 แถว แถวของคลาวิบนบ่าด้านข้างล้ำไปทางด้านบนมีขนาดใหญ่กว่าแถวของคลาวิบนบ่าทางด้านสะดือ แต่แถวของคลาวิบนบ่าด้านข้างล้ำไปทางด้านบนแถวเดียวเท่านั้นที่เรียงรายต่อเนื่องไปจนถึงผิวของห้องลำตัว ตัวหอยมีขนาดปานกลางด้วยขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 9 ซม. ขดม้วนในแนวด้านข้าง ด้านบนโค้งและเรียบ สะดือแคบมีขนาดประมาณหนึ่งในสี่ของขนาดเปลือกหอยทั้งหมด ผิวเปลือกมีคลาวิรูปวงรีเรียงเป็นแถวจำนวน 4 แถวทางด้านข้างของเปลือกหอยมีขนาดเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องไปทางด้านห้องลำตัว คลาวิมีขนาดชัดเจนทางด้านข้างเยื้องไปทางด้านบนเรียงรายต่อเนื่องจนไปสิ้นสุดบนผิวของห้องลำตัว ส่วนคลาวิอีก 3 แถวที่เหลือไม่พบบนผิวของห้องลำตัว (ดูภาพประกอบ - วิฆเนศ ทรงธรรม และคณะ 2549)

หมายเหตุ: ชิ้นส่วนตัวอย่างที่พบมีลักษณะเหมือนกับ Hefengnautilus pernodosus Xu โดยมีปุ่มปมเรียงเป็นแถวทางด้านข้าง แต่ชนิดหลังนี้มีลักษณะเป็นปุ่มปมแทนที่จะเป็นคลาวิ นอกจากนี้ Tylonautilus permicus บรรยายโดย Hayasaka (1957) จากหมวดหินทากากูรายามายุคเพอร์เมียนตอนกลาง จังหวัดฟูกูชิมา ประเทศญี่ปุ่นมีลักษณะเหมือนกับตัวอย่างที่พบนี้โดยมีปมเรียงเป็นแถวจำนวน 4 หรือ 5 แถวซึ่งโดดเด่นชัดเจนบนห้องด้านนอก

อ้างอิง

  • Doguzhaeva, Larisa. (1994) An Early Cretaceous orthocerid cephalopod from north-western Caucasus. Palaeontology 37(4): 889-899.
  • Engeser, T., (1997-1998) The Palcephalopoda/Neocephalopoda Hypothesis
  • Teichert, C. (1988) "Main Features of Cephalopod Evolution", in The Mollusca vol.12, Paleontology and Neontology of Cephalopods, ed. by M.R. Clarke & E.R. Trueman, Academic Press, Harcourt Brace Jovanovich,
  • วิฆเนศ ทรงธรรม และคณะ (2549) ทำเนียบซากดึกดำบรรพ์ไทย นามยกย่องบุคคล กรมทรัพยากรธรณี 99 หน้า

เชื่อมต่อภายนอก

แม่แบบ:CephBase Subclass

ดูเพิ่ม

นอต, ลอยด, วงเวลาท, ตอย, preꞒ, nแคมเบร, ยนตอนต, จจ, นการจำแนกช, นทางว, ทยาศาสตร, อาณาจ, กร, animaliaไฟล, molluscaช, cephalopodaช, นย, อย, nautiloidea, agassiz, 1847orderspalcephalopoda, plectronocerida, ellesmerocerida, actinocerida, pseudorthocerida, endoceri. nxtilxydchwngewlathimichiwitxyu 495 0Ma PreꞒ Ꞓ O S D C P T J K Pg Naekhmebriyntxntn pccubnkarcaaenkchnthangwithyasastrxanackr Animaliaiflm Molluscachn Cephalopodachnyxy Nautiloidea Agassiz 1847OrdersPalcephalopoda Plectronocerida Ellesmerocerida Actinocerida Pseudorthocerida Endocerida Tarphycerida Oncocerida Discosorida NautilidaNeocephalopoda in part Orthocerida Ascocerida Bactritida nxtilxyd khuxklumkhxnghxythael iflmmxllska inchnyxy nxtilxydi thimiepluxkhxhumphaynxkthiruckkndikhuxhxyngwngchanginpccubn Nautilus spp phbpraktoddedninchwngtnkhxngmhayukhphalioxosxikinthanastwnklaodyidphthnaepluxkkradxngthngrupaebbaelaruprangthihlakhlay phbepnsakdukdabrrphpraman 2 500 chnid aetxyurxdmacnthungpccubnephiyng 6 chnidethann enuxha 1 khwamsmphnththangxnukrmwithan 2 rupranglksna 3 nxtilxydpccubn 4 sakdukdabrrph 5 prawtiwiwthnakar 6 karcaaenk 7 fxssilnxtilxydinpraethsithy 8 xangxing 9 echuxmtxphaynxk 10 duephimkhwamsmphnththangxnukrmwithan aekikhnxtilxydkhuxklumkhxngstwthnghlaythieriykknwaesfaolphxd chnesfaolophda sungrwmthungaexmomnxyd ebelmnxyd aelaklumkhxngstwpccubnphwkokhlxyd xyangechn hmukyksaelaplahmuk esfaolphxdepnchnthimiphthnakarkawhnakhxngstwthaelklumihyklumhnungthieriykwahxy iflmmxllska thirwmthunghxykabediywaelahxykabkhudwyodythwipidmikarcaaenkesfaolphxdxxkepn 3 klumyxyidaek nxtilxyd aexmomnxyd aelaokhlxyd inbthkhwamnicaichchuxnxtilxydepnnykwang sungbangkhrngkichkhawanxtilxydinxtilxydepnklumkhxnghxythimilksnarwmthiekaaekobran ephlsioxmxrfi thiimphbinklumxunkhxngesfaolphxd hruxklawidxikxyanghnunginechingradbwiwthnakaridwa nxtilxydepnklumthimilksnaekaaekthiwiwthnakarihaexmomnxydaelaokhlxyd thngaexmomnxydaelaokhlxydthukkhidwasubthxdlukhlanmacakaebkhthritidathisubthxdmacaknxtilxydthimiepluxkkradxngtrng orthocone aexmomnxyd prakxbipdwyaexmomintaelaokniexitht epnlukhlankhxngnxtilxydidsuyphnthuipaelwthiwiwthnakarkhunmainchwngtnkhxngyukhdioweniynhruxpraman 400 lanpimaaelw aelainchwngyukhdioweniynhruxyukhkharbxniefxrstxntnnnexngthiphwkaebkhthritidsidwiwthnakaraetkaekhnngxxkmaepnokhlxydepnkhrngaerkinrupaebbkhxngebelmnxydrunaerk dngnnesfaolphxdthnghmdthidarngchiwitxyuinpccubnidwiwthnakarmacaknxtilxydmatngaetmhayukhphalioxosxikaelwbangkhnichchuxnxtilxydiihhmaythungklumthimikhwamechphaamakyingkhunodyekhiynwanxtilxydi sensu stricto odyihhxyklumniprakxbipdwyxndbthiepriybethiybidxyangchdecnkbhxyngwngchangpccubnethann canwnsmachikkhxnkhanghlakhlaykhunxyukbphusuksaaetprktiaelwprakxbipdwyxndbtharfayesxrida xxnokhesxrida aelanxtilidarupranglksna aekikhepluxkkradxngkhxngnxtilxydmilksnathisakhy 3 prakar khuxhxngdanin isfngekhil aelaesnrxyechuxmbnepluxkkradxngsungepnlksnathiphbidinaexmomnxyddwyphnngbangthiknhxngdanin khaemxra khxngepluxkkradxngeriykwa esfta emuxnxtilxydecriyetibotkhunmncakhlaytwexngxxkcakphnngknkhxngepluxkhxyaelwkhybtwexngipthangdanhna caknnkcasrangphnngknaephnihmkhunmathangdanhlngkhxngmn phnngknhxngaetlaaephnthisrangephimkhunmanncathaihekidhxngkhaemxrahxngihmkhunma twhxynxtilxydexngsungepnenuxeyuxxxnnumcaxasyxyuinhxngsudthaykhxngepluxkhxythieriykknwa bxdiaechmebxr hrux lifwingaechmebxr phnngknhxngcamithxisfngekhilepnthxyawrxyphanphnngknaelaphanhxngdaninkhxngepluxkkradxngthnghmd odyrxbkhxngthxisfngekhilepnokhrngsrangthithacakaerxaraokint khxphnng aelawngaehwnechuxmtx xaraokintepnophlimxrfhnungkhxngaekhlesiymkharbxentsungemuxklayepnsakdukdabrrphcaepliynipepnaeraekhlist inhxngdaninthiwangeplakhxngnxtilxydrunaerkbangchnidcamitakrnkhxngsaraekhlesiymkharbxenttksasmxyu eriykwa cameral deposits hruxphayinthxisfngekhil eriykwa endosiphuncular deposits sungepnkrabwnkarhnungthixacekiywkhxngkbkarkhwbkhumkarlxytwkhxngtwhxy thrrmchatikhxngthxisfngekhilaelataaehnngkhxngmnphayinepluxkkradxngmikhwamsakhyinkarcaaenknxtilxydesnrxyechuxmehnidepnchudkhxnglayesnaekhbthikhdokhngipmabnphiwkhxngepluxkkradxngsungcaepntaaehnngthiphnngknhxngaetlaaephnipechuxmsmphskbphnngkhxngepluxkkradxngdannxk esnrxyechuxmkhxngnxtilxydnicamirupranglksnangayxacepnephiyngesntrnghruxokhngewaelknxy niaetktangipcaklksnaesnrxyechuxmthiepnaebbsikaeskkhxngokniexithtaelacamikhwamsbsxnmakyingkhuninesnrxyechuxmkhxngaexmomintnxtilxydpccubn aekikheracarucksakdukdabrrphkhxngnxtilxydidmaknxyephiyngidcakhunxyukbwaeraidrucknxtilxydpccubnmaknxyephiyngiddwy xyangechnhxyngwngchangaechmebxr chambered nautilus thiphbthangdantawntkechiyngitkhxngmhasmuthraepsifikcakhmuekaasamwipcnthungfilippinsaelainmhasmuthrxinediynxkchayfngxxsetreliy odyprktiaelweracaimphbhxyngwngchanginnathimikhwamluknxykwa 100 emtr aetcaphbidthiradbkhwamlukrahwang 500 thung 700 emtrthiediywhxyngwngchangepnstwthiwaynaidxyangxisrathiprakxbdwyswnhwthimitasxngdwngodyepntathiprascakelnstaaelamihnwd hxyngwngchangmiepluxkkradxngepnphiweriybmihxnglatwkhnadihythithukaebngxxkepnhxngthibrrcukasechuxy khlayxakasaetprakxbdwykasinotrecnepnswnihyaelamixxksiecninprimannxy thithaihhxyngwngchangsamarthlxytwxyuinnaid hxyngwngchangmihnwdidmakthung 90 esneriyngepnaethwwngklmsxngaethwodyrxbpakkhxngmn hxyngwngchangmikhakrrikrthimilksnakhlaycangxy epnnkla odyhlkaelwehyuxcaepnphwkkhrstaechiynepluxkkradxngkhxnghxyngwngchangthiwangeplaxacthukphdphaipidepnrayathangikl ekhyidrbraynganwamikarkhnphbepluxkkradxnginyipun xinediy aelaaexfrikadwy xyangimtxngsngsywanisamarthnaipxthibaythungepluxkkradxngkhxngsakdukdabrrphnxtilxydidthiwaemuxhxytaylngaelwkasthixyuphayinhxngdanincayngkhngthaihepluxkhxylxytwxyuskrayaewlahnung dngnnepluxkhxyeplahlngcakthihxytayipaelwcasamarththukphdphaipcaktaaehnngthimnxasyxyudwyrayathanghnung aelwthaysudkcacmlngsuphunthxngthaelhxyngwngchangkhbekhluxntwexngdwykarphnnaxxkcakthxyawthieriykwaihoponmthisamarthchixxkipinthisthangtangephuxkhwbkhumthisthangkarekhluxnthiid hxyngwngchangimmithunghmukehmuxnxyangthiphbinebelmintaelainesfaolphxdxunbangchnid aelakimmihlkthanthicabngchiwanxtilxydchnidthisuyphnthuipaelwcamithunghmukdwyhruxepla hxyngwngchanginpccubnimmiaephnpidchxngepidepluxkkradxngehmuxnkbinaexmomintthisuyphnthuipaelwaelakimphbinnxtilxydthisuyphnthuipaelwdwysisnkhxngepluxkkradxngkhxnghxyngwngchangpccubnmikhwamoddednchdecnthiediyw aelaaemwacaepnsingyakaetkrayngankarkhnphblwdlaysisnbnepluxkkradxngkhxngsakdukdabrrphnxtilxyddwy prkticaphbrupaebbsisnbndanhlngkhxngepluxkkradxngethannsungekhaicididwahxymikarwaynaipinthisthanginaenwranabsakdukdabrrph aekikh sakdukdabrrphnxtilxyd Trilacinoceras yukhxxrodwiechiyncakpraethscin sakdukdabrrphnxtilxydthimiepluxkkradxngchnidxxrothkhxngsyukhxxrodwiechiyn phbinekhnthkhki rxyphimphdaninaesdnglksnakhxngisfngekhilaelahxngdaninmisarpunsasmtwxyukhrunghxng nxtilxydcaphbmakinhinthimixayuinchwngaerkkhxngmhayukhphalioxosxik phbnxyinchntakxnpccubn epluxkkradxngkhxngsakdukdabrrphmilksnahlayrupaebb thimilksnaepnaethngtrngechn xxrothechxaersaelaelyxnonesxaers thiepnaethngokhng echn esxotesxaers thikhdmwn echn sionesxaers hruxthikhdmwnepnekliyw echn lxriexxesxaers phiwkhxngepluxkkradxngbangchnidodyechphaaxyangyingnxtilxydinchwngplaymhayukhphalioxosxikaelachwngtnmhayukhmiososxikcamilwdlaypradbdwyhnamaelalayesnhinyukhxxrodwiechiyninthaelbxltikaelaswnkhxngshrthxemrikacaphbnxtilxydxyanghlakhlayxyangechndissiotesxaersaelaelyxnonesxaersxacphbinhinpunyukhkharbxniefxrsinsatharnrthixraelnd hinthisasmtwinthaelyukhcuaerssikinshrachxanackrmkphbsionesxaers aelanxtilxydxyangechnyuethrofesxaerskxacphbinhmwdhinpiaexrechlyukhkhriethechiysinthangtxnklangthungtxnehnuxkhxngshrthxemrikatwxyangkhxngnxtilxyd exnodechxaers yukhxxrodwiechiynphbwamikhwamyawthung 3 5 emtr aela khaemxoresxaers thipramanwaxaccamikhnadidthung 11 emtr nxtilxydkhnadihyehlanicatxngepnstwnklathinasaphrungklwkhxngehlastwthaelxuninyukhnnxyangaennxninbangaehngxyangechnsaekndienewiyaelaomrxkhokhphbnxtilxydthimiepluxkkradxngaebbxxrothokhnsasmtwepncanwnmakekidepnchnhinpunxxrothesxaers aemwakhawa xxrothesxaers inpccubncaxangthungskulthiphbinthaelbxltikyukhxxrodwiechiynethann aetkxnhnannidthukichkbnxtilxydphwkxxrothokhnthnghmdthixasyxyurahwangyukhxxrodwiechiynthungyukhithraexssik aetphbidthwipinchwngtnkhxngmhayukhphalioxosxik prawtiwiwthnakar aekikhnxtilxydphbpraktkhunkhrngaerkcakhmwdhinefingsanyukhaekhmebriynthangtawnxxkechiyngehnuxkhxngpraethscinthisungduehmuxncaphbxyanghlakhlay epnchwngewlathiepnthaeltunxakasxbxunthixudmipdwysingmichiwitthael xyangirktam aemwacamirayngancanwnchnidiwmakthung 131 chnidxyuincanwn 4 xndb aetduehmuxnwaimkhxycamikhwamaennxnwacaidrbkaryxmrb aelacringaelwduehmuxnwacanwnchniddngklawkhxykhangcamikaraeykaeyachnidmakcnekinipnxtilxydyukhaerkidsuyphnthuipekuxbthnghmd miephiyngwngsediywkhuxexlelsemxoresxrathidithirxdphnipcnthungchwngtnkhxngyukhxxrodwiechiynthisungthaihekidesfaolphxdrunhlngtxmathnghmd inyukhxxrodwiechiyntxntnthungtxnklangnxtilxydtxngphbkbkaraetkaekhnngwiwthnakarkhrngihythixacepnphlsubenuxngmacakidekidaehlngniewswithyaihmthiekidkhuncakkarsuyphnthuipkhxngaexonmaolkharisemuxsinsudyukhaekhmebriyn odyidekidxndbihmmakthung 8 xndbthimilksnaokhrngsrangaelachnidkhxngepluxkkradxngrwmthngkardarngchiwitthangniewswithyathikhrxbkhlumxyanghlakhlaynxtilxydidkhngiwsungkhxbekhtkhxngkarprbtwexngxyangsungaelamikhwamhlakhlayinrupaebbtlxdchwngyukhxxrodwiechiynaelayukhdioweniyndwyrupaebbkhxngepluxkkradxngthiepnthngaebbaethngtrng okhng aelamwnkhdthidarngchiwitxyurwmkninchwngewlann nxtilxydxndbthiekidinchwngaerkhlayxndbidsuyphnthuipaetxndbxunkidekidkhunekhamaoddednaethnthinxtilxyderimldcanwnlnginchwngyukhdioweniynsungxacepnphlsubenuxngmacakkaraekhngkhnkblukhlanthisubthxdmaxyangaexmomnxydaelaokhlxydodymiephiyngnxtilidaethannthiyngkhnghlngehluxxyu aelacringaelwkalngephimkhuninkhwamhlakhlay epluxkkradxngkhxngmnmikarephimkarkhdmwnchidknaennmakkhunkhnathithngcanwnaelakhwamhlakhlaykhxngphwkthiimichnxtilidaidldcanwnlngxyangtxenuxngtlxdyukhkharbxniefxrsaelayukhephxremiynkarsuyphnthukhrngihyemuxsinsudyukhephxremiynsngphlkrathbtxnxtilxydnxykwasingmichiwitxun aelamiephiyngimkiklumethannthirxdphnekhaipinmhayukhmiososxikidaeksuedxrothesxrid aebkhthritid aelanxtilid aelaxacrwmipthungxxrothesxrid rupaebbepluxkkradxngthiepnaethngtrngyngkhngrxdphnxyuidipcnsinsudthiyukhithraexssik aetxxrothesxridxacphbidinhinyukhkhriethechiysdwyehmuxnkn miephiyngxndbyxykhxngnxtilxydephiyngxndbyxyediywethannkhuxnxtilinathirxdphnipcntlxdmhayukhmiososxikthiidmichiwitrwmkblukhlanxyangaexmomnxydthimilksnaphiessmakkwa thnghmdkhxngnxtilxydehlanimilksnathiaetktangcakhxyngwngchanginpccubnephiyngelknxy mnidfunkhunsphaphkhunmaelknxyinchwngtnkhxngyukhethxrechiyri xaccaepnephuxkaretimphunthixasythiwanglngodyaexmomnxydcakehtukarnsuyphnthuyukhkhriethechiys ethxrechiyri aelaidrksakarkracayphnthuipthwolkcnthungchwngklangkhxngmhayukhsionosxik dwyphumixakasolkthieynlnginchwngsmyimoxsinaelasmyiphloxsinidthaihkarkracayphnthuhdhayipaelakidldkhwamhlakhlaylngxikkhrng inpccubnphbnxtilxydephiyng 6 chnidethannthnghmdxyuin 2 skul khux skulnxtilus aela skulxlolnxtilus karcaaenk aekikhduephimetimthi List of nautiloids karcaaenktxipnicdthakhunodyekhirt ethechirt inpi kh s 1988 odyidprbprungcakchbbpi kh s 1964 in Treatise on Invertebrate Paleontology aelaxasylksnakhxngokhrngsrangepluxkkradxng Teichert 1988 p 19 chnyxy Actinoceratoidea Teichert 1933 xndb Actinocerida Teichert 1933 yukhxxrodwiechiyn thung yukhkharbxniefxrs chnyxy Endoceratoidea Teichert 1933 xndb Endocerida Teichert 1933 yukhxxrodwiechiyn thung yukhislueriyn xndb Injetocerida Balashov 1960 yukhxxrodwiechiyn chnyxy Nautiloidea Agassiz 1847 xndb Discosorida Flower 1950 yukhxxrodwiechiyn thung yukhdioweniyn xndb Nautilida Agassiz 1847 xndbyxy Rutocerina Shimanskiy 1957 yukhdioweniyn thung yukhithraexssik xndbyxy Lirocerina Shimanskiy 1957 yukhkharbxniefxrs thung yukhithraexssik xndbyxy Nautilina Agassiz 1847 yukhithraexssik thung n pccubnni xndb Oncocerida Flower 1950 yukhxxrodwiechiyn thung yukhkharbxniefxrs xndb Tarphycerida Flower 1950 xndbyxy Barrandeocerina Flower yukhxxrodwiechiyn thung yukhdioweniyn xndbyxy Tarphycerina Flower 1950 yukhxxrodwiechiyn thung yukhislueriyn chnyxy Orthoceratoidea Kuhn 1940 xndb Ascocerida Kuhn 1949 yukhxxrodwiechiyn thung yukhislueriyn xndb Ellesmerocerida Flower 1950 xndbyxy Ellesmerocerina Flower 1950 yukhaekhmebriyn thung yukhxxrodwiechiyn xndbyxy Cyrtocerina Flower 1964 yukhxxrodwiechiyn xndb Orthocerida Kuhn 1940 yukhxxrodwiechiyn thung yukhithraexssik xndb Plectronocerida Flower 1964 yukhaekhmebriyn xndb Protactinocerida Chen amp Qi 1979 yukhaekhmebriyn xndb Yanhecerida Chen amp Qi 1979 yukhaekhmebriyn xndbephimetimxikxndbhnungkhuxaebkhthritidasungbangthikphicarnaihepnnxtilxydthimikhwamiklchidkbxxrothesxrida bangthikcdihepnaexmomnxydrunekaaekmak aelabangthikthukcdihxyuinchnyxykhxngtwmnexngthichuxwaaebkhthritxyditngaetpi kh s 1988 epntnma mibangkhnidephimxndbephimetimxik 2 xndb khuxsuedxrothesxrida aeladissiodesxridasungthng sxngxndbniedimthithukcdiwinxxrothesxridamikarwiekhraahkhrnglasudodythiox exneksesxr Engeser 1997 1998 idihkhwamehnwanxtilxydaelaesfaolphxdcringodythwipnnaebngxxkidepn 2 klum khux phlesfaolophda rwmnxtilxydthnghmd ykewnxxrothesxridaaelaaexsokhesxrida aelanioxesfaolophda thiehluxkhxngesfaolphxdthnghmd fxssilnxtilxydinpraethsithy aekikhmikarphbhxyngwngchanginpraethsithyepnskulaelachnidihmkhxngolkkhux Siamnautilus ruchae Ishibashi et al 1994 epnhxyngwngchangxyuinwngs Tainoceratidae cakhindindanenuxprasanpunkhxnghmwdhinhwythak yukhephxremiyntxnklang briewnechingdxyphaphlung xaephxngaw cnghwdlapang epnchnidihmtngchuxephuxepnekiyrtiaek nangruca xingkhawt ehlmekmikhnadpanklang khdmwnmikhlawibnphiweriyngknepn 4 aethw aethwkhxngkhlawibnbadankhanglaipthangdanbnmikhnadihykwaaethwkhxngkhlawibnbathangdansadux aetaethwkhxngkhlawibnbadankhanglaipthangdanbnaethwediywethannthieriyngraytxenuxngipcnthungphiwkhxnghxnglatw twhxymikhnadpanklangdwykhnadesnphasunyklangpraman 9 sm khdmwninaenwdankhang danbnokhngaelaeriyb saduxaekhbmikhnadpramanhnunginsikhxngkhnadepluxkhxythnghmd phiwepluxkmikhlawirupwngrieriyngepnaethwcanwn 4 aethwthangdankhangkhxngepluxkhxymikhnadephimkhunxyangtxenuxngipthangdanhxnglatw khlawimikhnadchdecnthangdankhangeyuxngipthangdanbneriyngraytxenuxngcnipsinsudbnphiwkhxnghxnglatw swnkhlawixik 3 aethwthiehluximphbbnphiwkhxnghxnglatw duphaphprakxb wikhens thrngthrrm aelakhna 2549 hmayehtu chinswntwxyangthiphbmilksnaehmuxnkb Hefengnautilus pernodosus Xu odymipumpmeriyngepnaethwthangdankhang aetchnidhlngnimilksnaepnpumpmaethnthicaepnkhlawi nxkcakni Tylonautilus permicus brryayody Hayasaka 1957 cakhmwdhinthakakurayamayukhephxremiyntxnklang cnghwdfukuchima praethsyipunmilksnaehmuxnkbtwxyangthiphbniodymipmeriyngepnaethwcanwn 4 hrux 5 aethwsungoddednchdecnbnhxngdannxkxangxing aekikhDoguzhaeva Larisa 1994 An Early Cretaceous orthocerid cephalopod from north western Caucasus Palaeontology 37 4 889 899 Engeser T 1997 1998 The Palcephalopoda Neocephalopoda Hypothesis Teichert C 1988 Main Features of Cephalopod Evolution in The Mollusca vol 12 Paleontology and Neontology of Cephalopods ed by M R Clarke amp E R Trueman Academic Press Harcourt Brace Jovanovich wikhens thrngthrrm aelakhna 2549 thaeniybsakdukdabrrphithy namykyxngbukhkhl krmthrphyakrthrni 99 hnaechuxmtxphaynxk aekikhNautiloids The First Cephalopods TONMO com Palaeos Archived 2005 03 28 thi ewyaebkaemchchinaemaebb CephBase Subclassduephim aekikhAmmonoidea Belemnoidea Lituites ekhathungcak https th wikipedia org w index php title nxtilxyd amp oldid 9570201, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม