fbpx
วิกิพีเดีย

นิโคไล เชาเชสกู

นิโคไล เชาเชสกู (โรมาเนีย: Nicolae Ceauşescu, ออกเสียง: [nikoˈla.e tʃe̯a.uˈʃesku] ( ฟังเสียง); 5 กุมภาพันธ์ [ตามปฎิทินเก่า: 23 มกราคม] ค.ศ. 1918 – 25 ธันวาคม ค.ศ. 1989) เป็นนักการเมืองและเผด็จการคอมมิวนิสต์ชาวโรมาเนีย ดำรงตำแหน่งเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์โรมาเนียระหว่างค.ศ. 1965 ถึง 1989 เป็นผู้นำในระบอบคอมมิวนิสต์คนที่สองและคนสุดท้ายของประเทศโรมาเนีย เขายังเป็นประมุขแห่งรัฐตั้งแต่ปีค.ศ. 1967 ในตำแหน่งประธานคณะมนตรีแห่งรัฐ และหลังปีค.ศ. 1974 ในตำแหน่งประธานาธิบดี เชาเชสกูถูกโค่นล้มและถูกยิงประหารชีวิตในช่วงการปฏิวัติโรมาเนียเมื่อค.ศ. 1989 ซึ่งเป็นเหตุการณ์สืบเนื่องจากการล่มสลายของระบอบคอมมิวนิสต์ในยุโรปตะวันออก

นิโคไล เชาเชสกู
Nicolae Ceaușescu
เชาเชสกู ค.ศ. 1988
เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์โรมาเนีย
ดำรงตำแหน่ง
22 มีนาคม ค.ศ. 1965 – 22 ธันวาคม ค.ศ. 1989
ก่อนหน้า กีออร์เก กีออร์กีอู-เดจ
ถัดไป ไม่มี; คอมมิวนิสต์ล่มสลาย
ประธานาธิบดีโรมาเนีย คนที่ 1
ดำรงตำแหน่ง
28 มีนาคม ค.ศ. 1974 – 22 ธันวาคม ค.ศ. 1989
ถัดไป แนวร่วมปลดปล่อยโรมาเนีย
ประธานคณะมนตรีแห่งรัฐ
ดำรงตำแหน่ง
9 ธันวาคม ค.ศ. 1967 – 22 ธันวาคม ค.ศ. 1989
ก่อนหน้า ชีวู ชตอยคา
ถัดไป ไม่มี; คอมมิวนิสต์ล่มสลาย
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด 26 มกราคม ค.ศ. 1918(1918-01-26)
สกอร์นีเชสตี ราชอาณาจักรโรมาเนีย
เสียชีวิต 25 ธันวาคม ค.ศ. 1989(1989-12-25) (71 ปี)
ตีร์โกวิชเต สาธารณรัฐสังคมนิยมโรมาเนีย
สาเหตุการเสียชีวิต การประหารชีวิตด้วยการยิงเป็นชุด
พรรค พรรคคอมมิวนิสต์ (1932-1989)
ลายมือชื่อ

ประวัติ

นิโคไลเกิดในหมู่บ้านขนาดเล็กชื่อ สกอร์นีเชสตี (Scornicești) เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1918 เป็นบุตรคนที่สามในจำนวนเก้าคนของครอบครัวชาวไร่ยากจนเคร่งศาสนา บิดาของเขามีที่ดินขนาดยี่สิบไร่ใช้ปลูกผักและเลี้ยงแกะ นิโคไลหาแบ่งเบาภาระครอบครัวใหญ่ของเขาด้วยการช่วยตัดเสื้อ นิโคไลศึกษาที่โรงเรียนของหมู่บ้านจนถึงอายุสิบเอ็ดปี แล้วจึงย้ายไปยังกรุงบูคาเรสต์ เหตุผลของการย้ายไม่เป็นที่แน่ชัด บางสำนักข่าวระบุว่าเขาหนีจากความเข้มงวดของครอบครัว

 
เชาเชสกูต้อนรับกองทัพแดงยกพลเข้ากรุงบูคาเรสต์ สิงหาคม ค.ศ. 1944

ที่กรุงบูคาเรสต์ เขาทำงานในโรงงานรองเท้าอเล็กซันดรู ซันดูเลสกู (Alexandru Săndulescu) สมาชิกคนหนึ่งของพรรคคอมมิวนิสต์ซึ่งขณะนั้นถือเป็นพรรคการเมืองนอกกฎหมาย และแล้วเชาเชสกูก็เข้าไปมีส่วนร่วมกับกิจกรรมต่างๆของพรรคคอมมิวนิสต์ (เข้าเป็นสมาชิกในค.ศ. 1932) เนื่องจากเชาเชสกูอายุยังน้อย จึงไม่ได้รับมอบหมายหน้าที่สำคัญ เชาเชสกูถูกจับกุมครั้งแรกในค.ศ. 1933 ขณะมีอายุสิบห้าปี ฐานทะเลาะวิวาทบนท้องถนนในช่วงการนัดหยุดงาน และถูกจับกุมอีกหลายครั้งจากการทำกิจกรรมสังคมนิยม และกลายเป็นหนึ่งในนักกิจกรรมคอมมิวนิสต์ที่ทางการจับตามอง

ครองอำนาจ

 
เติ้ง เสี่ยวผิง, เชาเชสกู และเลโอนิด เบรจเนฟ กรุงบูคาเรสต์ ค.ศ. 1965

ภายหลังประเทศโรมาเนียตกอยู่ภายใต้การปกครองของระบอบคอมมิวนิสต์เมื่อค.ศ. 1947 เชาเชสกูได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการเกษตร, รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ต่อมาในค.ศ. 1952 ได้เป็นสมาชิกคณะกรรมการกลางพรรคคอมมิวนิสต์ ต่อมาเมื่อนายกีออร์เก กีออร์กีอู-เดจ เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์โรมาเนีย ถึงแก่อสัญกรรมในค.ศ. 1965 เชาเชสกูได้รับเลือกเป็นเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์คนที่สอง

ช่วงแรกของการครองอำนาจ เชาเชสกูมีนโยบายต่อต้านอิทธิพลของสหภาพโซเวียต ทำให้เขาได้รับความนิยมจากชาวโรมาเนียและจากชาติตะวันตก เขาอนุมัติกฎหมายเซ็นเซอร์สื่อและประกาศว่าโรมาเนียจะยุติบทบาทในกติกาสัญญาวอร์ซอ แต่ยังคงสถานะสมาชิกภาพอยู่ เขาประณามอย่างเปิดเผยต่อการบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอในค.ศ. 1968 ซึ่งส่งผลให้ความนิยมของเขาพุ่งสูง เชาเชสกูมีความทะเยอทะยานนำพาประเทศโรมาเนียเป็นมหาอำนาจของยุโรป นโยบายของเขาด้านเศรษฐกิจ, การต่างประเทศ และกิจการในประเทศต่างถูกออกแบบมาเพื่อบรรลุเป้าหมายนั้น เชาเชสกูดำเนินนโยบายต่างประเทศเข้าหาสหรัฐและชาติยุโรปตะวันตก โรมาเนียกลายเป็นประเทศแรกในกติกาสัญญาวอร์ซอที่ยอมรับอิทธิพลของเยอรมนีตะวันตกและเข้าร่วมกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ต่อมาในค.ศ. 1971 โรมาเนียกลายเป็นสมาชิกในความตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า ประเทศโรมาเนียกับประเทศยูโกสลาเวียเป็นเพียงสองชาติในยุโรปตะวันออกที่เข้าร่วมความตกลงทางการค้ากับประชาคมเศรษฐกิจยุโรปก่อนการล่มสลายของกลุ่มตะวันออก ซึ่งในค.ศ. 1973 เชาเชสกูเป็นผู้นำชาติยุโรปตะวันออกคนแรกที่ได้ต้อนรับการมาเยือนของประธานาธิบดีสหรัฐ

 
หลัง ค.ศ. 1971 เชาเชสกูจัดตั้งลัทธิเชิดชูตัวเอง

แม้ว่าเชาเชสกูมีนโยบายออกห่างโซเวียตและเข้าหาชาติเสรี แต่ในเวลาไม่กี่ปี รัฐบาลของเขากลายเป็นเผด็จการเบ็ดเสร็จและถูกกล่าวขานว่าเป็นรัฐบาลกดขี่ที่สุดในประเทศกลุ่มตะวันออก หลังค.ศ. 1971 เขาเริ่มออกโฆษณาชวนเชื่อและจัดตั้งลัทธิเชิดชูท่านผู้นำ มีรูปภาพของเขาติดอยู่ในทุกสถานที่ ตำรวจลับและฝ่ายความมั่นคงดำเนินการสอดแนมมวลชนและปราบปรามฝ่ายต่อต้าน มีการละเมิดสิทธิมนุษยชน มีการควบคุมคุกคามสื่อมวลชน

ความล้มเหลวในการร่วมทุนด้านกิจการน้ำมันในทศวรรษที่ 1970 นำไปสู่การพุ่งทะยานของหนี้ต่างประเทศ ส่งผลให้ในปีค.ศ. 1982 ประธานาธิบดีเชาเชสกูสั่งการให้รัฐบาลประกาศใช้มาตรการรัดเข็มขัดในประเทศโรมาเนีย คริสต์ทศวรรษ 1980 เพิ่มการส่งออกผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเพื่อหาเงินมาใช้หนี้ต่างประเทศ คุณภาพชีวิตของชาวโรมาเนียตกต่ำลงอย่างมาก

ถูกโค่นอำนาจ

ดูบทความหลักที่: การปฏิวัติโรมาเนีย

22 ธันวาคม ค.ศ. 1989 เชาเชสกูกล่าวสุนทรพจน์โฆษณาความสำเร็จของระบอบคอมมิวนิสต์ต่อฝูงชนราวหนึ่งแสนคนที่อาคารพรรคคอมมิวนิสต์ในกรุงบูคาเรสต์อย่างเช่นทุกครั้ง เมื่อกล่าวสุนทรพจน์ได้แปดนาที มวลชนเริ่มส่งเสียงโห่และร้องตะโกน เขาชูมือเพื่อปราม ความสงบกลับคืนมาอีกครั้ง เขาเริ่มกล่าวสุนทรพจน์ต่อ สีหน้าตื่นตระหนกของเขาตอนถูกโห่และตะโกนใส่ถูกถ่ายทอดสดไปทั่วยุโรปตะวันออก แต่แล้วเหตุการณ์ก็เริ่มควบคุมไม่ได้ เกิดเสียงปืนดังขึ้น เขาเข้าไปหลบภายในอาคารและประกาศกฎอัยการศึก มีการชุมนุมใหญ่ที่จัตุรัสมหาวิทยาลัยและถูกปราบปรามโดยกำลังตำรวจ มีผู้ถูกจับกุมหลายร้อยคน

การปราบปรามประชาชนทำให้เหตุการณ์ลุกลามไปในหลายเมืองใหญ่ทั่วประเทศ รัฐมนตรีกลาโหม-วาซีลี มีเลีย (Vasile Milea) เสียชีวิตอย่างปริศนา ทางการประกาศว่ามีเลียฆ่าตัวตาย หลังจากนั้น ประธานาธิบดีเชาเชสกูประกาศเป็นผู้นำกองทัพด้วยตนเอง ทหารจำนวนมากเชื่อว่ารัฐมนตรีกลาโหมถูกฆาตกรรม จึงพากันย้ายข้างมาเข้ากับฝ่ายประชาชนปฏิวัติ ถึงจุดนี้ นายทหารระดับสูงเห็นว่าเชาเชสกูหมดความชอบธรรมและไม่ต้องการรับใช้รัฐบาลเชาเชสกูอีกแล้ว เชาเชสกูดิ้นรนครั้งสุดท้ายโดยการออกมาเกลี้ยกล่อมฝูงชนที่หน้าอาคารแต่ถูกขว้างปาสิ่งของใส่ และแล้วเขาก็ตัดสินใจหลบหนีด้วยเฮลิคอปเตอร์

ถูกประหารชีวิต

เชาเชสกูและพวกหนีออกจากเมืองหลวงโดยเฮลิคอปเตอร์ ฝ่ายปฏิวัติประกาศชัยชนะและประกาศจัดตั้งคณะรัฐบาลเฉพาะกาล เมื่อเฮลิคอปเตอร์ของเชาเชสกูไปถึงบริเวณเมืองตีมีชวาราก็จำเป็นต้องร่อนลงจอดและทิ้งเครื่องไว้เนื่องจากกองทัพประกาศให้ทั้งประเทศเป็นเขตห้ามบิน เชาเชสกูถูกตำรวจจับกุมและส่งตัวให้แก่กองทัพ ในวันคริสมาสต์ เขาเข้ารับการพิจารณาคดีโดยศาล ตามคำสั่งของของแนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติ (คณะรัฐบาลเฉพาะกาล) ศาลพิพากษาว่าเขามีความผิดฐานยักยอกเงินรัฐและกระทำพันธฆาต เขาถูกประหารชีวิตด้วยการยิงโดยแถวทหาร

อ้างอิง

  1. . Jurnalul Național. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 June 2018. สืบค้นเมื่อ 8 September 2016.
  2. Gruia, Cătălin (29 July 2013). The Man They Killed on Christmas Day. United Kingdom: Createspace Independent Pub. p. 42. ISBN 978-1492282594.
  3. Gruia, p. 43
  4. Crampton, Richard Eastern Europe In the Twentieth Century-And After, London: Routledge, 1997 page 355.
  5. Martin Sajdik, Michaël Schwarzinger (2008). European Union enlargement: background, developments, facts. New Jersey, USA: Transaction Publishers. p. 10. ISBN 978-1-4128-0667-1.{{cite book}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  6. Sebetsyen, Victor (2009). Revolution 1989: The Fall of the Soviet Empire. New York City: Pantheon Books. ISBN 978-0-375-42532-5.
  7. "Nicolae Ceaușescu". Biography.com.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Nicolae Ceaușescu's last speech in public
  • Romania's Demographic Policy
  • Gheorghe Brătescu, ("A failed scheme") (In Romanian)
  • Death of the Father: Nicolae Ceaușescu Focuses on his death, but also discusses other matters. Many photos.
  • วิดีโอ ที่ยูทูบ, Video of the trial and execution of Nicolae and Elena Ceaușescu.

โคไล, เชาเชสก, โรมาเน, nicolae, ceauşescu, ออกเส, ยง, nikoˈla, tʃe, uˈʃesku, งเส, ยง, มภาพ, นธ, ตามปฎ, นเก, มกราคม, 1918, นวาคม, 1989, เป, นน, กการเม, องและเผด, จการคอมม, วน, สต, ชาวโรมาเน, ดำรงตำแหน, งเลขาธ, การพรรคคอมม, วน, สต, โรมาเน, ยระหว, างค, 1965, 1989. niokhil echaechsku ormaeniy Nicolae Ceausescu xxkesiyng nikoˈla e tʃe a uˈʃesku fngesiyng 5 kumphaphnth tampdithineka 23 mkrakhm kh s 1918 1 25 thnwakhm kh s 1989 epnnkkaremuxngaelaephdckarkhxmmiwnistchawormaeniy darngtaaehnngelkhathikarphrrkhkhxmmiwnistormaeniyrahwangkh s 1965 thung 1989 epnphunainrabxbkhxmmiwnistkhnthisxngaelakhnsudthaykhxngpraethsormaeniy ekhayngepnpramukhaehngrthtngaetpikh s 1967 intaaehnngprathankhnamntriaehngrth aelahlngpikh s 1974 intaaehnngprathanathibdi echaechskuthukokhnlmaelathukyingpraharchiwitinchwngkarptiwtiormaeniyemuxkh s 1989 sungepnehtukarnsubenuxngcakkarlmslaykhxngrabxbkhxmmiwnistinyuorptawnxxkniokhil echaechskuNicolae Ceaușescuechaechsku kh s 1988elkhathikarphrrkhkhxmmiwnistormaeniydarngtaaehnng 22 minakhm kh s 1965 22 thnwakhm kh s 1989kxnhna kixxrek kixxrkixu edcthdip immi khxmmiwnistlmslayprathanathibdiormaeniy khnthi 1darngtaaehnng 28 minakhm kh s 1974 22 thnwakhm kh s 1989thdip aenwrwmpldplxyormaeniyprathankhnamntriaehngrthdarngtaaehnng 9 thnwakhm kh s 1967 22 thnwakhm kh s 1989kxnhna chiwu chtxykhathdip immi khxmmiwnistlmslaykhxmulswnbukhkhlekid 26 mkrakhm kh s 1918 1918 01 26 skxrniechsti rachxanackrormaeniyesiychiwit 25 thnwakhm kh s 1989 1989 12 25 71 pi tirokwichet satharnrthsngkhmniymormaeniysaehtukaresiychiwit karpraharchiwitdwykaryingepnchudphrrkh phrrkhkhxmmiwnist 1932 1989 laymuxchux enuxha 1 prawti 2 khrxngxanac 3 thukokhnxanac 3 1 thukpraharchiwit 4 xangxing 5 aehlngkhxmulxunprawti aekikhniokhilekidinhmubankhnadelkchux skxrniechsti Scornicești emuxwnthi 8 kumphaphnth kh s 1918 epnbutrkhnthisamincanwnekakhnkhxngkhrxbkhrwchawiryakcnekhrngsasna bidakhxngekhamithidinkhnadyisibirichplukphkaelaeliyngaeka niokhilhaaebngebapharakhrxbkhrwihykhxngekhadwykarchwytdesux 2 niokhilsuksathiorngeriynkhxnghmubancnthungxayusibexdpi aelwcungyayipyngkrungbukhaerst ehtuphlkhxngkaryayimepnthiaenchd bangsankkhawrabuwaekhahnicakkhwamekhmngwdkhxngkhrxbkhrw echaechskutxnrbkxngthphaedngykphlekhakrungbukhaerst singhakhm kh s 1944 thikrungbukhaerst ekhathanganinorngnganrxngethaxelksndru snduelsku Alexandru Săndulescu smachikkhnhnungkhxngphrrkhkhxmmiwnistsungkhnannthuxepnphrrkhkaremuxngnxkkdhmay aelaaelwechaechskukekhaipmiswnrwmkbkickrrmtangkhxngphrrkhkhxmmiwnist ekhaepnsmachikinkh s 1932 enuxngcakechaechskuxayuyngnxy cungimidrbmxbhmayhnathisakhy echaechskuthukcbkumkhrngaerkinkh s 1933 khnamixayusibhapi thanthaelaawiwathbnthxngthnninchwngkarndhyudngan aelathukcbkumxikhlaykhrngcakkarthakickrrmsngkhmniym 3 aelaklayepnhnunginnkkickrrmkhxmmiwnistthithangkarcbtamxngkhrxngxanac aekikh eting esiywphing echaechsku aelaeloxnid ebrcenf krungbukhaerst kh s 1965 phayhlngpraethsormaeniytkxyuphayitkarpkkhrxngkhxngrabxbkhxmmiwnistemuxkh s 1947 echaechskuiddarngtaaehnngrthmntriwakarkrathrwngkarekstr rthmntrichwywakarkrathrwngklaohm txmainkh s 1952 idepnsmachikkhnakrrmkarklangphrrkhkhxmmiwnist txmaemuxnaykixxrek kixxrkixu edc elkhathikarphrrkhkhxmmiwnistormaeniy thungaekxsykrrminkh s 1965 echaechskuidrbeluxkepnelkhathikarphrrkhkhxmmiwnistkhnthisxngchwngaerkkhxngkarkhrxngxanac echaechskuminoybaytxtanxiththiphlkhxngshphaphosewiyt thaihekhaidrbkhwamniymcakchawormaeniyaelacakchatitawntk ekhaxnumtikdhmayesnesxrsuxaelaprakaswaormaeniycayutibthbathinktikasyyawxrsx aetyngkhngsthanasmachikphaphxyu ekhapranamxyangepidephytxkarbukkhrxngechoksolwaekiykhxngfayktikasyyawxrsxinkh s 1968 sungsngphlihkhwamniymkhxngekhaphungsung echaechskumikhwamthaeyxthayannaphapraethsormaeniyepnmhaxanackhxngyuorp noybaykhxngekhadanesrsthkic kartangpraeths aelakickarinpraethstangthukxxkaebbmaephuxbrrluepahmaynn 4 echaechskudaeninnoybaytangpraethsekhahashrthaelachatiyuorptawntk ormaeniyklayepnpraethsaerkinktikasyyawxrsxthiyxmrbxiththiphlkhxngeyxrmnitawntkaelaekharwmkxngthunkarenginrahwangpraeths IMF txmainkh s 1971 ormaeniyklayepnsmachikinkhwamtklngthwipwadwyphasisulkakraelakarkha praethsormaeniykbpraethsyuokslaewiyepnephiyngsxngchatiinyuorptawnxxkthiekharwmkhwamtklngthangkarkhakbprachakhmesrsthkicyuorpkxnkarlmslaykhxngklumtawnxxk 5 sunginkh s 1973 echaechskuepnphunachatiyuorptawnxxkkhnaerkthiidtxnrbkarmaeyuxnkhxngprathanathibdishrth hlng kh s 1971 echaechskucdtnglththiechidchutwexng aemwaechaechskuminoybayxxkhangosewiytaelaekhahachatiesri aetinewlaimkipi rthbalkhxngekhaklayepnephdckarebdesrcaelathukklawkhanwaepnrthbalkdkhithisudinpraethsklumtawnxxk hlngkh s 1971 ekhaerimxxkokhsnachwnechuxaelacdtnglththiechidchuthanphuna mirupphaphkhxngekhatidxyuinthuksthanthi tarwclbaelafaykhwammnkhngdaeninkarsxdaenmmwlchnaelaprabpramfaytxtan mikarlaemidsiththimnusychn mikarkhwbkhumkhukkhamsuxmwlchnkhwamlmehlwinkarrwmthundankickarnamninthswrrsthi 1970 naipsukarphungthayankhxnghnitangpraeths sngphlihinpikh s 1982 prathanathibdiechaechskusngkarihrthbalprakasichmatrkarrdekhmkhdinpraethsormaeniy khristthswrrs 1980 ephimkarsngxxkphlitphnththangkarekstraelaxutsahkrrmephuxhaenginmaichhnitangpraeths khunphaphchiwitkhxngchawormaeniytktalngxyangmakthukokhnxanac aekikhdubthkhwamhlkthi karptiwtiormaeniy 22 thnwakhm kh s 1989 echaechskuklawsunthrphcnokhsnakhwamsaerckhxngrabxbkhxmmiwnisttxfungchnrawhnungaesnkhnthixakharphrrkhkhxmmiwnistinkrungbukhaerstxyangechnthukkhrng emuxklawsunthrphcnidaepdnathi mwlchnerimsngesiyngohaelarxngtaokn ekhachumuxephuxpram khwamsngbklbkhunmaxikkhrng ekhaerimklawsunthrphcntx sihnatuntrahnkkhxngekhatxnthukohaelataoknisthukthaythxdsdipthwyuorptawnxxk 6 aetaelwehtukarnkerimkhwbkhumimid ekidesiyngpundngkhun ekhaekhaiphlbphayinxakharaelaprakaskdxykarsuk mikarchumnumihythictursmhawithyalyaelathukprabpramodykalngtarwc miphuthukcbkumhlayrxykhnkarprabpramprachachnthaihehtukarnluklamipinhlayemuxngihythwpraeths rthmntriklaohm wasili mieliy Vasile Milea esiychiwitxyangprisna thangkarprakaswamieliykhatwtay hlngcaknn prathanathibdiechaechskuprakasepnphunakxngthphdwytnexng thharcanwnmakechuxwarthmntriklaohmthukkhatkrrm cungphaknyaykhangmaekhakbfayprachachnptiwti thungcudni naythharradbsungehnwaechaechskuhmdkhwamchxbthrrmaelaimtxngkarrbichrthbalechaechskuxikaelw echaechskudinrnkhrngsudthayodykarxxkmaekliyklxmfungchnthihnaxakharaetthukkhwangpasingkhxngis aelaaelwekhaktdsinichlbhnidwyehlikhxpetxr thukpraharchiwit aekikh echaechskuaelaphwkhnixxkcakemuxnghlwngodyehlikhxpetxr fayptiwtiprakaschychnaaelaprakascdtngkhnarthbalechphaakal emuxehlikhxpetxrkhxngechaechskuipthungbriewnemuxngtimichwarakcaepntxngrxnlngcxdaelathingekhruxngiwenuxngcakkxngthphprakasihthngpraethsepnekhthambin echaechskuthuktarwccbkumaelasngtwihaekkxngthph inwnkhrismast ekhaekharbkarphicarnakhdiodysal tamkhasngkhxngkhxngaenwrwmpldplxyaehngchati khnarthbalechphaakal salphiphaksawaekhamikhwamphidthanykyxkenginrthaelakrathaphnthkhat ekhathukpraharchiwitdwykaryingodyaethwthhar 7 xangxing aekikh Ceausescu intre legendă si adevăr data nasterii si alegerea numelui de botez Jurnalul Național khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 12 June 2018 subkhnemux 8 September 2016 Gruia Cătălin 29 July 2013 The Man They Killed on Christmas Day United Kingdom Createspace Independent Pub p 42 ISBN 978 1492282594 Gruia p 43 Crampton Richard Eastern Europe In the Twentieth Century And After London Routledge 1997 page 355 Martin Sajdik Michael Schwarzinger 2008 European Union enlargement background developments facts New Jersey USA Transaction Publishers p 10 ISBN 978 1 4128 0667 1 a href E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book html title aemaebb Cite book cite book a CS1 maint uses authors parameter lingk Sebetsyen Victor 2009 Revolution 1989 The Fall of the Soviet Empire New York City Pantheon Books ISBN 978 0 375 42532 5 Nicolae Ceaușescu Biography com aehlngkhxmulxun aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb niokhil echaechskuwikikhakhmmikhakhmekiywkb niokhil echaechskuwikisxrs mingantnchbbekiywkb Transcript of the closed trial of Nicolae and Elena CeausescuNicolae Ceaușescu s last speech in public Romania s Demographic Policy Gheorghe Brătescu Clipa 638 Un complot ratat A failed scheme In Romanian Death of the Father Nicolae Ceaușescu Focuses on his death but also discusses other matters Many photos widiox thiyuthub Video of the trial and execution of Nicolae and Elena Ceaușescu bthkhwamekiywkbchiwprawtiniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmul ekhathungcak https th wikipedia org w index php title niokhil echaechsku amp oldid 10443407, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม