fbpx
วิกิพีเดีย

ปืนรางไฟฟ้า

ปืนรางไฟฟ้า (อังกฤษ: Railgun) หรือ ปืนแม่เหล็กไฟฟ้าแบบรางคู่ขนาน เป็นเครื่องยิงกระสุนพลังแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งมีการทำงานบนพื้นฐานของหลักการที่คล้ายกับมอเตอร์ขั้วเดี่ยว ปืนแม่เหล็กไฟฟ้าแบบรางคู่ขนานประกอบด้วยคู่ของรางขนานเป็นสื่อในการทำงาน, เป็นเครื่องยิงวัตถุ (ในที่นี้เปรียบได้กับตัวอาร์เมเจอร์ในมอเตอร์) ด้วยพลังแม่เหล็กไฟฟ้าโดยประกอบด้วยรางนำไฟฟ้าชนิดเดียวกัน 2 แท่งมาติดตั้งในรูปแบบขนาน และมีวัตถุที่เคลื่อนและถูกเร่งโดยพลังแม่เหล็กไฟฟ้า ที่เกิดจากการปล่อยกระแสไฟฟ้าจากรางด้านหนึ่งผ่านวัตถุไปสู่รางอีกด้านหนึ่ง โดยจะเกิดการเหนี่ยวนำ ทำให้เกิดแรง และวัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร่งคงที่ค่าหนึ่ง โดยรางหรืออาร์เมเจอร์นั้นสามารถสร้างในแนววิถึหรือเป็นส่วนแยกทางไฟฟ้า ซึ่งไม่ว่าจะเป็น สารกึ่งโลหะ, พลาสมา หรือของแข็งใด ๆ ก็สามารถสร้างเป็นอาร์เมเจอร์ได้ และเมื่อยิงวัตถุพ้นออกจากรางแล้ว วัตถุจะเคลื่อนที่อย่างอิสระโดยมีความเร็วต้นเท่ากับขณะที่หลุดพ้นออกจากช่วงรางเหนี่ยวนำนั้นเอง

แผนภาพของปืนแม่เหล็กไฟฟ้า
พื้นผิวของเรือรบถูกยิงทดสอบที่ศูนย์การทดสอบในเดือนมกราคม ปี ค.ศ. 2008 พวยไฟที่เกิดขึ้นเบื้องหลังกระสุนเกิดจากเปลวเพลิงและสิ่งที่ไม่ใช่พลาสมา ซึ่งขัดกับความเชื่อแต่เดิมของทฤษฎีที่มี

ตัวอาร์เมเจอร์อาจจะเป็นส่วนหนึ่งของกระสุนปืน

ประวัติ

 
แผนภาพปืนแม่เหล็กไฟฟ้าของเยอรมัน

ในปี ค.ศ. 1918, หลุยส์ ออกแตฟว์ ฟุชง-วีเลฟพลี (Louis Octave Fauchon-Villeplee) นักประดิษฐ์ชาวฝรั่งเศส ได้คิดค้นปืนใหญ่ไฟฟ้าซึ่งเป็นรูปแบบแรกของปืนแม่เหล็กไฟฟ้าขึ้น เขาได้ยื่นจดสิทธิบัตรในสหรัฐอเมริกาเมื่อวันที่ 1 เมษายน ปี ค.ศ. 1919 ซึ่งออกมาในเดือนกรกฎาคม ปี ค.ศ. 1922 เป็นสิทธิบัตรหมายเลข 1,421,435 ในหัวข้อว่า "อุปกรณ์ไฟฟ้าสำหรับการขับเคลื่อนลูกกระสุนปืน" ในอุปกรณ์ของเขามีแถบตัวนำไฟฟ้า (busbars) สองแถบขนานเชื่อมต่อกันด้วยปีกของลูกกระสุนปืน, และอุปกรณ์ทั้งหมดที่ล้อมรอบไปด้วยสนามแม่เหล็ก โดยการผ่านกระแสไฟฟ้าผ่านแถบตัวนำนี้ และตัวลูกกระสุนปืน, แรงเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้าที่เกิดขึ้นนั้นจะผลักดันกระสุนให้เคลื่อนที่ออกไป

ในช่วงระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองแนวความคิดนี้ก็ได้ถูกรื้อฟื้นขึ้นมาใหม่โดย โยอาคิม เฮนสเลอร์ (Joachim Hänsler) ของสำนักงานกรมสรรพาวุธของเยอรมนี และเขาได้นำเสนอปืนต่อต้านอากาศยานไฟฟ้าขึ้น ช่วงปลายปี ค.ศ. 1944 ทฤษฎีการทำงานมีมากเพียงพอที่จะได้รับการนำออกไปใช้งานเพื่อให้กองบัญชาการต่อสู้อากาศยานแห่งกองทัพอากาศเยอรมัน (Luftwaffe's Flak Command) ในการที่จะออกข้อกำหนดคุณสมบัติจำเพาะ ซึ่งต้องการความเร็วที่ออกจากปากกระบอกปืน 2,000 เมตรต่อวินาที (6,600 ฟุตต่อวินาที) และกระสุนปืนที่มีขนาด 0.5 กิโลกรัม (1.1 ปอนด์) ที่บรรจุวัตถุระเบิดอยู่ภายใน ปืนจะติดตั้งแบตเตอรีหกลูกต่อการยิงสิบสองรอบต่อนาที และมันก็จะถูกติดตั้งได้อย่างพอดิบพอดีเข้ากับปืนต่อสู้อากาศยานแบบ 12.8 ซม. แฟล็ก 40 (12.8 cm FlaK 40) ที่มีใช้อยู่ มันยังไม่เคยถูกสร้างขึ้นเลย รายละเอียดที่ถูกค้นพบหลังจากที่สงครามสงบได้กระตุ้นความสนใจเขาเป็นอย่างมาก และเขาก็ได้ทำการศึกษารายละเอียดเพิ่มเติม ซึ่งได้รายงานในปี ค.ศ. 1947 โดยให้ข้อสรุปว่ามันมีความเป็นไปได้ในทางทฤษฎี แต่ว่าปืนนั้นจำเป็นจะต้องใช้พลังงานที่มาก พอ ๆ กับที่จะใช้กับไฟฟ้าแสงสว่างถึงขนาดประมาณครึ่งหนึ่งของเมืองชิคาโกเลยทีเดียว

ในช่วงปี ค.ศ. 1950 เซอร์มาร์ก โอลิแฟนต์ (Sir Mark Oliphant), นักฟิสิกส์ชาวออสเตรเลียและผู้อำนวยการคนแรกของวิทยาลัยการวิจัยวิทยาศาสตร์กายภาพ ที่มหาวิทยาลัยแห่งชาติออสเตรเลียแห่งใหม่, ได้ริเริ่มการออกแบบและก่อสร้างเครื่องกำเนิดไฟฟ้าขั้วเหมือน (Homopolar generator) ที่ใหญ่ที่สุดของโลกขึ้น (500 เมกะจูล) เครื่องนี้ได้รับการดำเนินการมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1962 และถูกนำมาใช้ในภายหลังเพื่อใช้เป็นแหล่งพลังงานให้แก่ปืนรางแม่เหล็กไฟฟ้าขนาดใหญ่ (large-scale rail gun) ที่ใช้ในการทดลองทางวิทยาศาสตร์

การออกแบบสร้างปืนแม่เหล็กไฟฟ้าแบบรางคู่ขนาน (Railgun)

ทฤษฎี

ปืนแม่เหล็กไฟฟ้าแบบรางคู่ ประกอบด้วยคู่รางโลหะขนานกัน 2 ราง (เพราะฉะนั้นจึงได้ชื่อว่า ปืนแบบรางคู่ - Railgun) ที่เชื่อมต่อกับแหล่งจ่ายไฟฟ้า เมื่อส่วนที่เป็นกระสุนปืนที่เป็นสื่อตัวนำกระแสไฟฟ้าได้ถูกแทรกตัวลงในระหว่างรางคู่ขนาน (ที่ปลายของรางเชื่อมต่อกับแหล่งจ่ายไฟ) มันจึงได้กลายเป็นวงจรไฟฟ้าอย่างที่เรียกว่า "ครบวงจร" อย่างสมบูรณ์ กระแสอิเล็กตรอนที่ไหลออกจากขั้วลบของแหล่งจ่ายพลังงานไฟฟ้า จะไหลเข้าสู่ตัวรางข้างที่เป็นขั้วลบและผ่านข้ามตัวกระสุนปืนและไหลผ่านออกไปยังตัวรางด้านที่เป็นขั้วบวกกลับไปที่แหล่งจ่ายไฟ

กระแสนี้จะทำให้ปืนแม่เหล็กไฟฟ้าแบบรางคู่ประพฤติตัวเป็นแม่เหล็กไฟฟ้า, สร้างสนามแม่เหล็กภายในวงปิดให้เกิดขึ้นโดยความยาวของรางขึ้นอยู่กับตำแหน่งของอาร์มาเจอร์ โดยที่สอดคล้องกับกฎมือขวา (right-hand rule), สนามแม่เหล็กจะไหลเวียนเป็นวงกลมรอบตัวนำ เนื่องจากกระแสไฟฟ้าจะไหลไปในทิศสวนทางตรงกันข้ามกันไปตามรางในแต่ละข้าง, สนามแม่เหล็กสุทธิระหว่างราง (B) จะถูกกำหนดทิศทางให้อยู่ในทิศที่มาจากแนวขวางของระนาบที่เกิดขึ้นจากแกนกลางของรางและอาร์มาเจอร์ กระแส (I) ในอาร์มาเจอร์นี้จะช่วยสร้างแรงลอเรนซ์ซึ่งจะเร่งกระสุนปืนให้พุ่งออกไปตามรางที่อยู่ห่างจากแหล่งจ่ายไฟ นอกจากนี้ยังมีแรงลอเรนซ์กระทำบนรางและพยายามที่จะผลักดันพวกมันให้แยกออกจากกัน แต่เนื่องจากรางได้ถูกติดตั้งอย่างมั่นคง จึงทำให้พวกมันไม่สามารถเคลื่อนย้ายไปไหนได้

สูตรทางคณิตศาสตร์

ขนาดของเวกเตอร์แรงสามารถกำหนดได้จากรูปแบบของกฎของบีโอต์-ซาวารต์ (Biot–Savart law) และผลของแรงลอเรนซ์ (Lorentz force) มันสามารถแสดงได้ในทางคณิตศาสตร์ในแง่ของค่าความซึมซาบแม่เหล็กในอวกาศ (permeability constant) ( ), รัศมีของราง (ซึ่งจะถือว่าเป็นวงกลมในภาคตัดขวาง) ( ), ระยะห่างระหว่างจุดศูนย์กลาง (centrepoints) ของราง ( ) และกระแส ในหน่วยแอมแปร์ที่ไหลผ่านระบบ ( ) ดังต่อไปนี้

สามารถแสดงได้จากกฎของบีโอต์-ซาวารต์ ได้ว่าที่ปลายด้านหนึ่งของลวดตัวนำกระแสที่มีความยาวกึ่งอนันต์ (ยาวเกือบไม่มีที่สิ้นสุด) สนามแม่เหล็กที่ระยะทางตั้งฉาก (s) จากปลายสายจะกำหนดได้โดย:

 

หมายเหตุ นี้คือถ้าลวดวิ่งจากที่ตั้งของอาร์มาเจอร์เช่น จาก x = 0 กลับไปที่  

ดังนั้นถ้าอาร์มาเจอร์เชื่อมต่อปลายของทั้งสองของเส้นลวด มีความยาวกึ่งหนึ่งของความยาวไม่มีที่สิ้นสุดดังกล่าว แยกจากกันโดยระยะทาง   สนามแม่เหล็กรวมจากเส้นลวดทั้งสองที่จุดใดก็ตามในอาร์มาเจอร์คือ:

 

ดูเพิ่ม

  • Coilgun [en]
  • Electromagnetic projectile devices (fiction) [en]
  • Homopolar generator [en]
  • Kinetic energy penetrator [en]
  • Light gas gun [en]
  • List of caseless firearms [en]
  • Mass driver [en]
  • Non-rocket spacelaunch [en]
  • Project Babylon [en]
  • Ram accelerator [en]
  • Scram cannon [en]
  • Space gun [en]

อ้างอิง

  1. http://www.popsci.com/military-aviation-space/article/2008-02/navy-tests-32-megajoule-railgun
  2. C. S. Rashleigh and R. A. Marshall, Electromagnetic Acceleration of Macroparticles to High Velocities, J. Appl. Phys. 49(4), April 1978.
  3. Fauchon-Villeplee, André Louis Octave (1922). "US Patent 1,421,435 "Electric Apparatus for Propelling Projectiles"".
  4. Hogg, Ian V. (1969). The Guns: 1939/45. Macdonald.
  5. http://physics.anu.edu.au/fire_in_the_belly/Fire_in_the_Belly03.pdf
  6. J. P. Barber, Ph.D Thesis, The Acceleration of Macroparticles and a Hypervelocity Electromagnetic Accelerator, The Australian National University, March 1972.
  7. Harris, William. "How Rail Guns Work", 11 October 2005. HowStuffWorks.com. 25 March 2011.

นรางไฟฟ, งกฤษ, railgun, หร, นแม, เหล, กไฟฟ, าแบบรางค, ขนาน, เป, นเคร, องย, งกระส, นพล, งแม, เหล, กไฟฟ, าซ, งม, การทำงานบนพ, นฐานของหล, กการท, คล, ายก, บมอเตอร, วเด, ยว, นแม, เหล, กไฟฟ, าแบบรางค, ขนานประกอบด, วยค, ของรางขนานเป, นส, อในการทำงาน, เป, นเคร, องย, ง. punrangiffa xngkvs Railgun hrux punaemehlkiffaaebbrangkhukhnan epnekhruxngyingkrasunphlngaemehlkiffasungmikarthanganbnphunthankhxnghlkkarthikhlaykbmxetxrkhwediyw punaemehlkiffaaebbrangkhukhnanprakxbdwykhukhxngrangkhnanepnsuxinkarthangan epnekhruxngyingwtthu inthiniepriybidkbtwxaremecxrinmxetxr dwyphlngaemehlkiffaodyprakxbdwyrangnaiffachnidediywkn 2 aethngmatidtnginrupaebbkhnan aelamiwtthuthiekhluxnaelathukerngodyphlngaemehlkiffa thiekidcakkarplxykraaesiffacakrangdanhnungphanwtthuipsurangxikdanhnung 2 odycaekidkarehniywna thaihekidaerng aelawtthuekhluxnthidwykhwamerngkhngthikhahnung odyranghruxxaremecxrnnsamarthsranginaenwwithuhruxepnswnaeykthangiffa sungimwacaepn sarkungolha phlasma hruxkhxngaekhngid ksamarthsrangepnxaremecxrid aelaemuxyingwtthuphnxxkcakrangaelw wtthucaekhluxnthixyangxisraodymikhwamerwtnethakbkhnathihludphnxxkcakchwngrangehniywnannexngaephnphaphkhxngpunaemehlkiffa phunphiwkhxngeruxrbthukyingthdsxbthisunykarthdsxbineduxnmkrakhm pi kh s 2008 phwyifthiekidkhunebuxnghlngkrasunekidcakeplwephlingaelasingthiimichphlasma sungkhdkbkhwamechuxaetedimkhxngthvsdithimi 1 twxaremecxrxaccaepnswnhnungkhxngkrasunpun enuxha 1 prawti 2 karxxkaebbsrangpunaemehlkiffaaebbrangkhukhnan Railgun 2 1 thvsdi 2 2 sutrthangkhnitsastr 3 duephim 4 xangxingprawti aekikh aephnphaphpunaemehlkiffakhxngeyxrmn inpi kh s 1918 hluys xxkaetfw fuchng wielfphli Louis Octave Fauchon Villeplee nkpradisthchawfrngess idkhidkhnpunihyiffasungepnrupaebbaerkkhxngpunaemehlkiffakhun ekhaidyuncdsiththibtrinshrthxemrikaemuxwnthi 1 emsayn pi kh s 1919 sungxxkmaineduxnkrkdakhm pi kh s 1922 epnsiththibtrhmayelkh 1 421 435 inhwkhxwa xupkrniffasahrbkarkhbekhluxnlukkrasunpun 3 inxupkrnkhxngekhamiaethbtwnaiffa busbars sxngaethbkhnanechuxmtxkndwypikkhxnglukkrasunpun aelaxupkrnthnghmdthilxmrxbipdwysnamaemehlk odykarphankraaesiffaphanaethbtwnani aelatwlukkrasunpun aerngehniywnaaemehlkiffathiekidkhunnncaphlkdnkrasunihekhluxnthixxkip 4 inchwngrahwangsngkhramolkkhrngthisxngaenwkhwamkhidnikidthukruxfunkhunmaihmody oyxakhim ehnselxr Joachim Hansler khxngsankngankrmsrrphawuthkhxngeyxrmni aelaekhaidnaesnxpuntxtanxakasyaniffakhun chwngplaypi kh s 1944 thvsdikarthanganmimakephiyngphxthicaidrbkarnaxxkipichnganephuxihkxngbychakartxsuxakasyanaehngkxngthphxakaseyxrmn Luftwaffe s Flak Command inkarthicaxxkkhxkahndkhunsmbticaephaa sungtxngkarkhwamerwthixxkcakpakkrabxkpun 2 000 emtrtxwinathi 6 600 futtxwinathi aelakrasunpunthimikhnad 0 5 kiolkrm 1 1 pxnd thibrrcuwtthuraebidxyuphayin puncatidtngaebtetxrihkluktxkaryingsibsxngrxbtxnathi aelamnkcathuktidtngidxyangphxdibphxdiekhakbpuntxsuxakasyanaebb 12 8 sm aeflk 40 12 8 cm FlaK 40 thimiichxyu mnyngimekhythuksrangkhunely raylaexiydthithukkhnphbhlngcakthisngkhramsngbidkratunkhwamsnicekhaepnxyangmak aelaekhakidthakarsuksaraylaexiydephimetim sungidraynganinpi kh s 1947 odyihkhxsrupwamnmikhwamepnipidinthangthvsdi aetwapunnncaepncatxngichphlngnganthimak phx kbthicaichkbiffaaesngswangthungkhnadpramankhrunghnungkhxngemuxngchikhaokelythiediyw 4 inchwngpi kh s 1950 esxrmark oxliaefnt Sir Mark Oliphant nkfisikschawxxsetreliyaelaphuxanwykarkhnaerkkhxngwithyalykarwicywithyasastrkayphaph thimhawithyalyaehngchatixxsetreliyaehngihm idrierimkarxxkaebbaelakxsrangekhruxngkaenidiffakhwehmuxn Homopolar generator thiihythisudkhxngolkkhun 500 emkacul 5 ekhruxngniidrbkardaeninkarmatngaetpi kh s 1962 aelathuknamaichinphayhlngephuxichepnaehlngphlngnganihaekpunrangaemehlkiffakhnadihy large scale rail gun thiichinkarthdlxngthangwithyasastr 6 karxxkaebbsrangpunaemehlkiffaaebbrangkhukhnan Railgun aekikhthvsdi aekikh punaemehlkiffaaebbrangkhu prakxbdwykhurangolhakhnankn 2 rang ephraachanncungidchuxwa punaebbrangkhu Railgun thiechuxmtxkbaehlngcayiffa emuxswnthiepnkrasunpunthiepnsuxtwnakraaesiffaidthukaethrktwlnginrahwangrangkhukhnan thiplaykhxngrangechuxmtxkbaehlngcayif mncungidklayepnwngcriffaxyangthieriykwa khrbwngcr xyangsmburn kraaesxielktrxnthiihlxxkcakkhwlbkhxngaehlngcayphlngnganiffa caihlekhasutwrangkhangthiepnkhwlbaelaphankhamtwkrasunpunaelaihlphanxxkipyngtwrangdanthiepnkhwbwkklbipthiaehlngcayif 7 kraaesnicathaihpunaemehlkiffaaebbrangkhupraphvtitwepnaemehlkiffa srangsnamaemehlkphayinwngpidihekidkhunodykhwamyawkhxngrangkhunxyukbtaaehnngkhxngxarmaecxr odythisxdkhlxngkbkdmuxkhwa right hand rule snamaemehlkcaihlewiynepnwngklmrxbtwna enuxngcakkraaesiffacaihlipinthisswnthangtrngknkhamkniptamranginaetlakhang snamaemehlksuththirahwangrang B cathukkahndthisthangihxyuinthisthimacakaenwkhwangkhxngranabthiekidkhuncakaeknklangkhxngrangaelaxarmaecxr kraaes I inxarmaecxrnicachwysrangaernglxernssungcaerngkrasunpunihphungxxkiptamrangthixyuhangcakaehlngcayif nxkcakniyngmiaernglxernskrathabnrangaelaphyayamthicaphlkdnphwkmnihaeykxxkcakkn aetenuxngcakrangidthuktidtngxyangmnkhng cungthaihphwkmnimsamarthekhluxnyayipihnid sutrthangkhnitsastr aekikh khnadkhxngewketxraerngsamarthkahndidcakrupaebbkhxngkdkhxngbioxt sawart Biot Savart law aelaphlkhxngaernglxerns Lorentz force mnsamarthaesdngidinthangkhnitsastrinaengkhxngkhakhwamsumsabaemehlkinxwkas permeability constant m 0 displaystyle mu 0 rsmikhxngrang sungcathuxwaepnwngklminphakhtdkhwang r displaystyle r rayahangrahwangcudsunyklang centrepoints khxngrang d displaystyle d aelakraaes inhnwyaexmaeprthiihlphanrabb I displaystyle I dngtxipnisamarthaesdngidcakkdkhxngbioxt sawart idwathiplaydanhnungkhxnglwdtwnakraaesthimikhwamyawkungxnnt yawekuxbimmithisinsud snamaemehlkthirayathangtngchak s cakplaysaycakahndidody B s m 0 I 2 p s displaystyle mathbf B s frac mu 0 I 2 pi s hmayehtu nikhuxthalwdwingcakthitngkhxngxarmaecxrechn cak x 0 klbipthi x displaystyle x infty dngnnthaxarmaecxrechuxmtxplaykhxngthngsxngkhxngesnlwd mikhwamyawkunghnungkhxngkhwamyawimmithisinsuddngklaw aeykcakknodyrayathang d displaystyle d snamaemehlkrwmcakesnlwdthngsxngthicudidktaminxarmaecxrkhux B s m 0 I 2 p 1 s 1 d s displaystyle B s frac mu 0 I 2 pi left frac 1 s frac 1 d s right duephim aekikhCoilgun en Electromagnetic projectile devices fiction en Homopolar generator en Kinetic energy penetrator en Light gas gun en List of caseless firearms en Mass driver en Non rocket spacelaunch en Project Babylon en Ram accelerator en Scram cannon en Space gun en xangxing aekikh http www popsci com military aviation space article 2008 02 navy tests 32 megajoule railgun C S Rashleigh and R A Marshall Electromagnetic Acceleration of Macroparticles to High Velocities J Appl Phys 49 4 April 1978 Fauchon Villeplee Andre Louis Octave 1922 US Patent 1 421 435 Electric Apparatus for Propelling Projectiles 4 0 4 1 Hogg Ian V 1969 The Guns 1939 45 Macdonald http physics anu edu au fire in the belly Fire in the Belly03 pdf J P Barber Ph D Thesis The Acceleration of Macroparticles and a Hypervelocity Electromagnetic Accelerator The Australian National University March 1972 Harris William How Rail Guns Work 11 October 2005 HowStuffWorks com 25 March 2011 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title punrangiffa amp oldid 9343750, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม