fbpx
วิกิพีเดีย

เทวสถานแห่งอันโตนินัสและฟาอัสตินา

เทวสถานแห่งอันโตนินัสและฟาอัสตินา (อังกฤษ: Temple of Antoninus and Faustina) เป็นเทวสถาน (Roman temple) โรมันโบราณที่ตั้งอยู่ในกรุงโรมภายในบริเวณที่เรียกว่าฟอรุมโรมัน (Roman Forum) บนถนนซากรา (Via Sacra) ตรงกันข้ามกับเรเจีย (Regia) เทวสถานแห่งอันโตนินัสและฟาอัสตินาสร้างในปี ค.ศ. 141 ต่อมาวัดซานลอเรนโซอินมิรานดาก็มาสร้างบนซากที่เหลือของเทวสถาน

เทวสถาน
แห่งอันโตนินัสและฟาอัสตินา
วัดซานลอเรนโซอินมิรานดาสร้างในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ภายในซากของเทวสถานที่ยังใช้คอลัมน์ของซุ้มทางเข้าของเทวสถานเดิม
เทวสถานแห่งอันโตนินัสและฟาอัสตินา
แสดงที่ตั้งภายในโรม
Click on the map for a fullscreen view
ที่ตั้งบริเวณที่ 8 ของจตุรัสโรมัน
พิกัด41°53′31.70″N 12°29′12.08″E / 41.8921389°N 12.4866889°E / 41.8921389; 12.4866889พิกัดภูมิศาสตร์: 41°53′31.70″N 12°29′12.08″E / 41.8921389°N 12.4866889°E / 41.8921389; 12.4866889
ประเภทเทวสถาน
ความเป็นมา
ผู้สร้างอันโตนินัส ไพอัสสร้างให้แก่
ฟาอัสตินาผู้อาวุโส
สร้างค.ศ. 141
หมายเหตุเกี่ยวกับสถานที่
สถาปัตยกรรมโรมัน

เทวสถาน

จักรพรรดิอันโตนินัส ไพอัสทรงเริ่มสร้างเทวสถานนี้ในปี ค.ศ. 141 ก่อนคริสต์ศักราช โดยทรงตั้งพระทัยที่จะอุทิศให้แก่พระอัครมเหสีฟาอัสตินาผู้อาวุโสผู้สิ้นพระชนม์ไปแล้วผู้ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นเทพ เมื่ออันโตนินัส ไพอัสเองได้รับการแต่งตั้งให้เป็นเทพหลังจากที่เสียชีวิตไปแล้วในปี ค.ศ. 161 มาร์คัส ออเรลิอัสจักรพรรดิองค์ต่อมาก็อุทิศเทวสถานใหม่ให้แก่ทั้งอันโตนินัส ไพอัสและฟาอัสตินา

ตัวเทวสถานตั้งอยู่บนฐานสูงบนหินบล็อกใหญ่เพเพอริโน ด้านหน้ามีคำจารึกว่า “Divo Antonino et Divae Faustinae Ex S.C.” ที่แปลว่า “อุทิศให้แก่เทพอันโตนิโนและเทพฟาอัสติแนโดยการประกาศของวุฒิสภา”

ด้านหน้าซุ้มทางเข้าของเทวสถานเป็นคอลัมน์โครินเธียนสิบคอลัมน์แต่ละคอลัมน์สูง 17 เมตร บนบัวตกแต่งด้วยลายสลักนูนเป็นมาลัยกริฟฟอนและเชิงเทียน ที่มักจะก็อปปีมาใช้ในงานตกแต่งสถาปัตยกรรมตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 มาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 19

คริสต์ศาสนสถาน

เทวสถานมาเปลี่ยนเป็นคริสต์ศาสนสถานชื่อวัดซานลอเรนโซอินมิรานดาอาจจะตั้งแต่ราวคริสต์ศตวรรษที่ 7 แต่ก็มีหลักฐานกล่าวถึงจากคริสต์ศตวรรษที่ 11 เท่านั้นที่กล่าวถึงในหนังสือ “สถานที่อันสวยงามของกรุงโรม” (Mirabilia Urbis Romae) “มิรานดา” ในชื่อวัดอาจจะมาจากชื่อของผู้บริจาคทุนทรัพย์ในการสร้างวัด กล่าวกันว่าที่ตั้งของวัดเป็นสถานที่ที่นักบุญลอว์เรนซ์ถูกประหารชีวิต

รอยบากลึกบนคอลัมน์กล่าวกันว่ามีมาตั้งแต่ยุคกลางเมื่อมีการพยายามที่จะรื้อซุ้มทางเข้าอาจจะเพื่อนำไปสร้างสิ่งก่อสร้างอื่นหรืออาจจะเป็นการจงใจที่จะทำลายเพราะถือว่าเป็นเทวสถานของผู้นอกศาสนา นอกจากนั้นก็มีการสร้างบันไดทางด้านข้างในยุคกลางแต่ในปัจจุบันไม่สามารถใช้ได้เพราะกลายเป็นช่องกว้างราวหกเมตรระหว่างตอนบนของบันไดกับประตูเพราะขณะที่สร้างบริเวณฟอรุมยังไม่ได้ขุด ฉะนั้นบริเวณที่สร้างบันไดจึงสูงกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน เมื่อขุดดินออกจึงเหลือแต่บันไดลอย การขุดค้นทางโบราณคดีทางด้านหน้าของเทวสถานทำกันครั้งแรกในปี ค.ศ. 1546, ครั้งที่สองในปี ค.ศ. 1810 และอีกเป็นระยะ ๆ มาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1876

 
ซุ้มทางเข้ามองจากอีกด้านหนึ่ง

ในปี ค.ศ. 1429/1430, สมเด็จพระสันตะปาปามาร์ตินที่ 5 ทรงยกวัดให้กับคณะนักเคมีและเครื่องยา (College of Chemists and Herbalists) ของมหาวิทยาลัยอโรมาโตเรียม (Universitas Aromatorium) มหาวิทยาลัยยังคงใช้ห้องที่ติดกันเป็นพิพิธภัณฑ์เล็ก ๆ ที่ยังมีใบซื้อยาที่ลงชื่อราฟาเอล หลังจากนั้นก็มีการสร้างชาเปลข้างเพื่อที่จะบูรณปฏิสังขรณ์ตัวสิ่งก่อสร้างเดิมในการเตรียมการต้อนรับสมเด็จพระจักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ตัววัดปัจจุบันจึงอยู่ภายในโครงของเทวสถานเดิม และได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์และขยับขยายอีกครั้งในปี ค.ศ. 1602 โดยโอราซิโอ ทอร์ริอานิ (Orazio Torriani) โดยเป็นช่องทางเดินกลางช่องเดียวและมีชาเปลข้างใหม่สามชาเปล แท่นบูชาเอกมีงานเขียน “การพลีชีพของนักบุญลอว์เรนซ์” โดยเปียโตร ดา คอร์โทนา (Pietro da Cortona) ที่เขียนในปี ค.ศ. 1646 ชาเปลแรกทางขวาเป็นภาพ “พระแม่มารีและพระบุตรกับนักบุญ” ที่เขียนในปี ค.ศ. 1626 โดยโดเม็นนิโค แซมเปียริ

การเปลี่ยนเป็นคริสต์ศาสนสถานยังคงรักษาครรภมณฑล (Cella) และและซุ้มทางเข้าด้านหน้า (portico) และแถบหินอ่อนของโถงภายในเทวสถานถูกรื้อทิ้ง และอันที่จริงแล้วก็ขาดมุขตะวันออกซึ่งไม่มีการเพิ่มเติมเมื่อมาเปลี่ยนแปลงเป็นคริสต์ศาสนสถานเพื่อเป็นการรักษารูปทรงที่ได้สัดส่วนของเทวสถานเดิม

อ้างอิง

  1. Christian Hülsen, Le Chiese di Roma nel Medio Evo (Florence: Olschki) 1927
  2. A fanciful derivation from the Latin mirare, to admire, imagined as referring to the excellent panorama of the Forum from the church's steps, diachronically attributes to the medieval public an eighteenth-century appreciation for the picturesque.
  3. Platner and Ashby 1929.
  4. Filippo Titi, Descrizione delle Pitture, Sculture e Architetture esposte in Roma, 1763.
  • Platner, Samuel Ball, (revised by Thomas Ashby), A Topographical Dictionary of Ancient Rome, (London: Oxford University Press), 1929. (On-line text)
  • Touring Club Italiano (TCI) Roma e Dintorni 1965:133.

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

  วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ เทวสถานแห่งอันโตนินัสและฟาอัสตินา

  • Romecity entry

ระเบียงภาพ

เทวสถานแห, งอ, นโตน, สและฟาอ, สต, นา, บทความน, างอ, งคร, สต, กราช, คร, สต, ทศวรรษ, คร, สต, ศตวรรษ, งเป, นสาระสำค, ญของเน, อหา, งกฤษ, temple, antoninus, faustina, เป, นเทวสถาน, roman, temple, โรม, นโบราณท, งอย, ในกร, งโรมภายในบร, เวณท, เร, ยกว, าฟอร, มโรม, roma. kh s bthkhwamnixangxingkhristskrach khristthswrrs khriststwrrs sungepnsarasakhykhxngenuxha ethwsthanaehngxnotninsaelafaxstina xngkvs Temple of Antoninus and Faustina epnethwsthan Roman temple ormnobranthitngxyuinkrungormphayinbriewnthieriykwafxrumormn Roman Forum bnthnnsakra Via Sacra trngknkhamkbereciy Regia ethwsthanaehngxnotninsaelafaxstinasranginpi kh s 141 txmawdsanlxernosxinmirandakmasrangbnsakthiehluxkhxngethwsthanethwsthanaehngxnotninsaelafaxstinawdsanlxernosxinmirandasranginkhriststwrrsthi 17 phayinsakkhxngethwsthanthiyngichkhxlmnkhxngsumthangekhakhxngethwsthanedimethwsthanaehngxnotninsaelafaxstinaaesdngthitngphayinormClick on the map for a fullscreen viewthitngbriewnthi 8 khxngctursormnphikd41 53 31 70 N 12 29 12 08 E 41 8921389 N 12 4866889 E 41 8921389 12 4866889 phikdphumisastr 41 53 31 70 N 12 29 12 08 E 41 8921389 N 12 4866889 E 41 8921389 12 4866889praephthethwsthankhwamepnmaphusrangxnotnins iphxssrangihaekfaxstinaphuxawuossrangkh s 141hmayehtuekiywkbsthanthisthaptykrrmormn enuxha 1 ethwsthan 2 khristsasnsthan 3 xangxing 4 duephim 5 aehlngkhxmulxun 6 raebiyngphaphethwsthan aekikhckrphrrdixnotnins iphxsthrngerimsrangethwsthanniinpi kh s 141 kxnkhristskrach odythrngtngphrathythicaxuthisihaekphraxkhrmehsifaxstinaphuxawuosphusinphrachnmipaelwphuidrbkaraetngtngihepnethph emuxxnotnins iphxsexngidrbkaraetngtngihepnethphhlngcakthiesiychiwitipaelwinpi kh s 161 markhs xxerlixsckrphrrdixngkhtxmakxuthisethwsthanihmihaekthngxnotnins iphxsaelafaxstinatwethwsthantngxyubnthansungbnhinblxkihyephephxrion danhnamikhacarukwa Divo Antonino et Divae Faustinae Ex S C thiaeplwa xuthisihaekethphxnotnionaelaethphfaxstiaenodykarprakaskhxngwuthispha danhnasumthangekhakhxngethwsthanepnkhxlmnokhrinethiynsibkhxlmnaetlakhxlmnsung 17 emtr bnbwtkaetngdwylayslknunepnmalykriffxnaelaechingethiyn thimkcakxppimaichinngantkaetngsthaptykrrmtngaetkhriststwrrsthi 16 macnthungkhriststwrrsthi 19khristsasnsthan aekikhethwsthanmaepliynepnkhristsasnsthanchuxwdsanlxernosxinmirandaxaccatngaetrawkhriststwrrsthi 7 aetkmihlkthanklawthungcakkhriststwrrsthi 11 ethannthiklawthunginhnngsux sthanthixnswyngamkhxngkrungorm Mirabilia Urbis Romae 1 miranda inchuxwdxaccamacakchuxkhxngphubricakhthunthrphyinkarsrangwd 2 klawknwathitngkhxngwdepnsthanthithinkbuylxwernsthukpraharchiwitrxybaklukbnkhxlmnklawknwamimatngaetyukhklangemuxmikarphyayamthicaruxsumthangekhaxaccaephuxnaipsrangsingkxsrangxunhruxxaccaepnkarcngicthicathalayephraathuxwaepnethwsthankhxngphunxksasna nxkcaknnkmikarsrangbnidthangdankhanginyukhklangaetinpccubnimsamarthichidephraaklayepnchxngkwangrawhkemtrrahwangtxnbnkhxngbnidkbpratuephraakhnathisrangbriewnfxrumyngimidkhud channbriewnthisrangbnidcungsungkwathiepnxyuinpccubn emuxkhuddinxxkcungehluxaetbnidlxy karkhudkhnthangobrankhdithangdanhnakhxngethwsthanthaknkhrngaerkinpi kh s 1546 khrngthisxnginpi kh s 1810 aelaxikepnraya matngaetpi kh s 1876 3 sumthangekhamxngcakxikdanhnung inpi kh s 1429 1430 smedcphrasntapapamartinthi 5 thrngykwdihkbkhnankekhmiaelaekhruxngya College of Chemists and Herbalists khxngmhawithyalyxormaoteriym Universitas Aromatorium 4 mhawithyalyyngkhngichhxngthitidknepnphiphithphnthelk thiyngmiibsuxyathilngchuxrafaexl hlngcaknnkmikarsrangchaeplkhangephuxthicaburnptisngkhrntwsingkxsrangediminkaretriymkartxnrbsmedcphrackrphrrdikharlthi 5 aehngormnxnskdisiththi twwdpccubncungxyuphayinokhrngkhxngethwsthanedim aelaidrbkarburnptisngkhrnaelakhybkhyayxikkhrnginpi kh s 1602 odyoxrasiox thxrrixani Orazio Torriani odyepnchxngthangedinklangchxngediywaelamichaeplkhangihmsamchaepl aethnbuchaexkminganekhiyn karphlichiphkhxngnkbuylxwerns odyepiyotr da khxrothna Pietro da Cortona thiekhiyninpi kh s 1646 chaeplaerkthangkhwaepnphaph phraaemmariaelaphrabutrkbnkbuy thiekhiyninpi kh s 1626 odyodemnniokh aesmepiyrikarepliynepnkhristsasnsthanyngkhngrksakhrrphmnthl Cella aelaaelasumthangekhadanhna portico aelaaethbhinxxnkhxngothngphayinethwsthanthukruxthing aelaxnthicringaelwkkhadmukhtawnxxksungimmikarephimetimemuxmaepliynaeplngepnkhristsasnsthanephuxepnkarrksarupthrngthiidsdswnkhxngethwsthanedimxangxing aekikh Christian Hulsen Le Chiese di Roma nel Medio Evo Florence Olschki 1927 A fanciful derivation from the Latin mirare to admire imagined as referring to the excellent panorama of the Forum from the church s steps diachronically attributes to the medieval public an eighteenth century appreciation for the picturesque Platner and Ashby 1929 Filippo Titi Descrizione delle Pitture Sculture e Architetture esposte in Roma 1763 Platner Samuel Ball revised by Thomas Ashby A Topographical Dictionary of Ancient Rome London Oxford University Press 1929 On line text Touring Club Italiano TCI Roma e Dintorni 1965 133 duephim aekikhethwsthanormn khristsasnsthanaehlngkhxmulxun aekikh wikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb ethwsthanaehngxnotninsaelafaxstina Romecity entryraebiyngphaph aekikh ethwsthanthangmumkhwathamklangsingkxsrangxuninfxrumormn ethwsthanthangmumkhwathamklangsingkxsrangxuninfxrumormncakxikdanhnungthiehntwemuxngormxyuinchakhlng wdkhristsasnaphayinokhrngethwsthanormn mxngcakdankhang twethwsthantngxyubnthansung ekhathungcak https th wikipedia org w index php title ethwsthanaehngxnotninsaelafaxstina amp oldid 10161673, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม