fbpx
วิกิพีเดีย

หมดสติชั่วคราว

หมดสติชั่วคราว (อังกฤษ: syncope, "ซิงคะพี") คือการที่ผู้ป่วยมีทั้งอาการหมดสติและกล้ามเนื้ออ่อนแรงทั่วตัว พร้อมกัน มีลักษณะเฉพาะคือ เป็นเร็ว เป็นอยู่ไม่นาน และหายได้เอง ส่วนใหญ่เกิดจากการที่มีเลือดไปเลี้ยงสมองน้อยลงจากสาเหตุต่างๆ ที่พบบ่อยคือภาวะความดันเลือดต่ำ บางครั้งอาจพบมีอาการนำมาก่อน เช่น เวียนศีรษะ เหงื่อแตก ตัวซีด ตาลาย คลื่นไส้ อาเจียน หรือร้อนวูบวาบ เป็นต้น ขณะมีอาการอาจมีกล้ามเนื้อกระตุกเป็นระยะเวลาสั้นๆ ได้ กรณีที่ไม่ได้หมดสติโดยสิ้นเชิงและกล้ามเนื้อยังมีความตึงตัวอยู่บ้างอาจเรียกว่า วิงเวียน หรือ presyncope/lightheadedness ในทางการแพทย์แนะนำให้ตรวจรักษาผู้ป่วยที่มีอาการวิงเวียนแบบเดียวกันกับผู้ป่วยที่มีอาการหมดสติชั่วคราว

หมดสติชั่วคราว
(Syncope)
ชื่ออื่นFainting, blacking out, passing out, swooning
ภาพสีน้ำมัน Fainting ("คนเป็นลม") วาดโดย Pietro Longhi เมื่อ ค.ศ. 1744
การออกเสียง
สาขาวิชาประสาทวิทยา, หทัยวิทยา
อาการหมดสติและกล้ามเนื้ออ่อนแรงชั่วคราว
ภาวะแทรกซ้อนการบาดเจ็บ
การตั้งต้นรวดเร็ว
ระยะดำเนินโรคไม่นาน
ประเภทหัวใจ, รีเฟล็กซ์, การเปลี่ยนท่า
สาเหตุการไหลของเลือดไปยังสมองลดลง
วิธีวินิจฉัยการซักประวัติ, การตรวจร่างกาย, การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
การรักษาแตกต่างกันไปตามสาเหตุ
พยากรณ์โรคแตกต่างกันไปตามสาเหตุ
ความชุก~5 - 1,000 ครั้ง ต่อปี

สาเหตุของอาการนี้มีหลากหลาย มีตั้งแต่สาเหตุที่ไม่เป็นอันตรายใดๆ ไปจนถึงอาจเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิต แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มหลักๆ ได้แก่ จากระบบหัวใจหลอดเลือด จากระบบประสาท และจากการเปลี่ยนท่าทาง สาเหตุจากระบบหัวใจหลอดเลือดคิดเป็นประมาณ 10% ของทั้งหมด และมักเป็นกลุ่มที่อาจมีอันตรายได้มากที่สุด ส่วนจากระบบประสาทนั้นพบบ่อยที่สุด สาเหตุที่เกี่ยวกับหัวใจที่สำคัญ เช่น หัวใจเต้นผิดจังหวะ โรคลิ้นหัวใจ โรคกล้ามเนื้อหัวใจ และการอุดกั้นหลอดเลือดจากสาเหตุต่างๆ เช่น ลิ่มเลือดอุดหลอดเลือดปอด หรือการฉีกเซาะของหลอดเลือดเอออร์ตา เป็นต้น การหมดสติชั่วคราวที่มีสาเหตุจากระบบประสาทเกิดขึ้นเมื่อหลอดเลือดขยายและหัวใจเต้นช้าลงอย่างไม่สัมพันธ์กัน อาจเกิดจากมีสิ่งกระตุ้น เช่น การเห็นเลือด ความเจ็บปวด ความรู้สึกรุนแรง หรือกิจกรรมบางอย่าง เช่น การปัสสาวะ การอาเจียน หรือการไอ การถูกกระตุ้นที่บริเวณคารอทิดไซนัสซึ่งอยู่บริเวณคอก็สามารถทำให้เกิดการหมดสติชั่วคราวจากระบบประสาทได้อีกทางหนึ่ง สาเหตุกลุ่มสุดท้ายคือเกิดจากการลดลงอย่างรวดเร็วของความดันเลือดเมื่อเปลี่ยนท่าทาง เช่น จากนอนอยู่เปลี่ยนเป็นยืนขึ้น เป็นต้น เรียกว่าภาวะความดันโลหิตต่ำเมื่อมีการเปลี่ยนท่า พบได้ในคนที่กินยาบางชนิด และยังสัมพันธ์กับภาวะขาดน้ำ การเสียเลือด หรือการติดเชื้อ ได้ด้วย นอกจากนี้ยังพบว่าการเกิดภาวะหมดสติชั่วคราวส่วนหนึ่งสัมพันธ์กับปัจจัยทางพันธุกรรมด้วย

การหาสาเหตุที่ดีที่สุดทำได้โดยการซักประวัติ การตรวจร่างกาย และการตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ โดยการตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจจะช่วยให้สามารถตรวจพบภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ โรคหลอดเลือดหัวใจ และความผิดปกติทางไฟฟ้าอื่นๆ ของหัวใจ เช่น กลุ่มอาการระยะคิวทียาว และกลุ่มอาการบรูกาดา เป็นต้น ผู้ป่วยหมดสติชั่วคราวที่มีสาเหตุมาจากหัวใจมักมีประวัติอาการนำมาก่อนด้วย การตรวจพบความดันเลือดต่ำและชีพจรเร็วหลังการหมดสติมักบ่งบอกว่ามีการสูญเสียน้ำหรือเลือด ในขณะที่การตรวจพบออกซิเจนในเลือดต่ำมักพบร่วมกับการเกิดลิ่มเลือดอุดตันที่หลอดเลือดปอด ในผู้ป่วยบางรายที่สาเหตุยังไม่ชัดเจน อาจจำเป็นต้องตรวจเพิ่มเติมด้วยเครื่องมืออื่นๆ เช่น การฝังอุปกรณ์บันทึกสัญญาณ การตรวจด้วยเตียงแบบหมุนได้ หรือการตรวจด้วยการนวดคารอทิดไซนัส เป็นต้น โดยทั่วไปแล้วไม่จำเป็นต้องทำซีทีสแกนยกเว้นจะมีข้อบ่งชี้ ภาวะอื่นที่ใกล้เคียงกันที่อาจต้องนึกถึงและตรวจ ได้แก่ อาการชัก โรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลัน สมองกระทบกระเทือน ออกซิเจนต่ำ น้ำตาลในเลือดต่ำ การเป็นพิษจากยา และโรคทางจิตเวชบางอย่าง เป็นต้น การรักษาจะขึ้นกับสาเหตุ ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงสูงจากการตรวจเบื้องต้นอาจต้องเข้ารับการรักษาหรือสังเกตอาการในโรงพยาบาลเพื่อติดตามอาการและการเต้นของหัวใจ

อ้างอิง

  1. Peeters, SY; Hoek, AE; Mollink, SM; Huff, JS (April 2014). "Syncope: risk stratification and clinical decision making". Emergency Medicine Practice. 16 (4): 1–22, quiz 22–23. PMID 25105200.
  2. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Ru2013
  3. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ NIH2020
  4. Hadji-Turdeghal, Katra (2019). "Genome-wide association study identifies locus at chromosome 2q32. 1 associated with syncope and collapse". Cardiovascular Research. 116: 138–48. doi:10.1093/cvr/cvz106. PMC 6918066. PMID 31049583.

แหล่งข้อมูลอื่น

การจำแนกโรค
V · T · D
ทรัพยากรภายนอก
  • MedlinePlus: 003092
  • eMedicine: med/3385 ped/2188 emerg/876

หมดสต, วคราว, งกฤษ, syncope, งคะพ, อการท, วยม, งอาการหมดสต, และกล, ามเน, ออ, อนแรงท, วต, พร, อมก, กษณะเฉพาะค, เป, นเร, เป, นอย, ไม, นาน, และหายได, เอง, วนใหญ, เก, ดจากการท, เล, อดไปเล, ยงสมองน, อยลงจากสาเหต, างๆ, พบบ, อยค, อภาวะความด, นเล, อดต, บางคร, งอาจพบม,. hmdstichwkhraw xngkvs syncope singkhaphi khuxkarthiphupwymithngxakarhmdstiaelaklamenuxxxnaerngthwtw phrxmkn milksnaechphaakhux epnerw epnxyuimnan aelahayidexng 1 swnihyekidcakkarthimieluxdipeliyngsmxngnxylngcaksaehtutang thiphbbxykhuxphawakhwamdneluxdta 1 bangkhrngxacphbmixakarnamakxn echn ewiynsirsa ehnguxaetk twsid talay khlunis xaeciyn hruxrxnwubwab epntn 3 1 khnamixakarxacmiklamenuxkratukepnrayaewlasn id 1 3 krnithiimidhmdstiodysinechingaelaklamenuxyngmikhwamtungtwxyubangxaceriykwa wingewiyn hrux presyncope lightheadedness 1 inthangkaraephthyaenanaihtrwcrksaphupwythimixakarwingewiynaebbediywknkbphupwythimixakarhmdstichwkhraw 1 hmdstichwkhraw Syncope chuxxunFainting blacking out passing out swooningphaphsinamn Fainting khnepnlm wadody Pietro Longhi emux kh s 1744karxxkesiyng ˈ s ɪ ŋ k e p i sing ke peesakhawichaprasathwithya hthywithyaxakarhmdstiaelaklamenuxxxnaerngchwkhraw 1 phawaaethrksxnkarbadecb 1 kartngtnrwderw 1 rayadaeninorkhimnan 1 praephthhwic rieflks karepliyntha 1 saehtukarihlkhxngeluxdipyngsmxngldlng 1 withiwinicchykarskprawti kartrwcrangkay kartrwckhluniffahwic 1 karrksaaetktangkniptamsaehtu 2 phyakrnorkhaetktangkniptamsaehtu 2 khwamchuk 5 1 000 khrng txpi 1 saehtukhxngxakarnimihlakhlay mitngaetsaehtuthiimepnxntrayid ipcnthungxacepnxntraythungaekchiwit 1 aebngxxkepn 3 klumhlk idaek cakrabbhwichlxdeluxd cakrabbprasath aelacakkarepliynthathang 1 3 saehtucakrabbhwichlxdeluxdkhidepnpraman 10 khxngthnghmd aelamkepnklumthixacmixntrayidmakthisud swncakrabbprasathnnphbbxythisud saehtuthiekiywkbhwicthisakhy echn hwicetnphidcnghwa orkhlinhwic orkhklamenuxhwic aelakarxudknhlxdeluxdcaksaehtutang echn limeluxdxudhlxdeluxdpxd hruxkarchikesaakhxnghlxdeluxdexxxrta epntn 1 karhmdstichwkhrawthimisaehtucakrabbprasathekidkhunemuxhlxdeluxdkhyayaelahwicetnchalngxyangimsmphnthkn 1 xacekidcakmisingkratun echn karehneluxd khwamecbpwd khwamrusukrunaerng hruxkickrrmbangxyang echn karpssawa karxaeciyn hruxkarix 1 karthukkratunthibriewnkharxthidisnssungxyubriewnkhxksamarththaihekidkarhmdstichwkhrawcakrabbprasathidxikthanghnung 1 saehtuklumsudthaykhuxekidcakkarldlngxyangrwderwkhxngkhwamdneluxdemuxepliynthathang echn caknxnxyuepliynepnyunkhun epntn eriykwaphawakhwamdnolhittaemuxmikarepliyntha 1 phbidinkhnthikinyabangchnid aelayngsmphnthkbphawakhadna karesiyeluxd hruxkartidechux iddwy 1 nxkcakniyngphbwakarekidphawahmdstichwkhrawswnhnungsmphnthkbpccythangphnthukrrmdwy 4 karhasaehtuthidithisudthaidodykarskprawti kartrwcrangkay aelakartrwckhluniffahwic 1 odykartrwckhluniffahwiccachwyihsamarthtrwcphbphawahwicetnphidcnghwa orkhhlxdeluxdhwic aelakhwamphidpktithangiffaxun khxnghwic echn klumxakarrayakhiwthiyaw aelaklumxakarbrukada epntn 1 phupwyhmdstichwkhrawthimisaehtumacakhwicmkmiprawtixakarnamakxndwy 1 kartrwcphbkhwamdneluxdtaaelachiphcrerwhlngkarhmdstimkbngbxkwamikarsuyesiynahruxeluxd inkhnathikartrwcphbxxksiecnineluxdtamkphbrwmkbkarekidlimeluxdxudtnthihlxdeluxdpxd 1 inphupwybangraythisaehtuyngimchdecn xaccaepntxngtrwcephimetimdwyekhruxngmuxxun echn karfngxupkrnbnthuksyyan kartrwcdwyetiyngaebbhmunid hruxkartrwcdwykarnwdkharxthidisns epntn 1 odythwipaelwimcaepntxngthasithisaeknykewncamikhxbngchi 1 phawaxunthiiklekhiyngknthixactxngnukthungaelatrwc idaek xakarchk orkhhlxdeluxdsmxngechiybphln smxngkrathbkraethuxn xxksiecnta natalineluxdta karepnphiscakya aelaorkhthangcitewchbangxyang epntn 1 karrksacakhunkbsaehtu 1 3 phupwyklumesiyngsungcakkartrwcebuxngtnxactxngekharbkarrksahruxsngektxakarinorngphyabalephuxtidtamxakaraelakaretnkhxnghwic 1 xangxing aekikh 1 00 1 01 1 02 1 03 1 04 1 05 1 06 1 07 1 08 1 09 1 10 1 11 1 12 1 13 1 14 1 15 1 16 1 17 1 18 1 19 1 20 1 21 1 22 1 23 1 24 1 25 1 26 1 27 1 28 1 29 1 30 Peeters SY Hoek AE Mollink SM Huff JS April 2014 Syncope risk stratification and clinical decision making Emergency Medicine Practice 16 4 1 22 quiz 22 23 PMID 25105200 2 0 2 1 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux Ru2013 3 0 3 1 3 2 3 3 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux NIH2020 Hadji Turdeghal Katra 2019 Genome wide association study identifies locus at chromosome 2q32 1 associated with syncope and collapse Cardiovascular Research 116 138 48 doi 10 1093 cvr cvz106 PMC 6918066 PMID 31049583 aehlngkhxmulxun aekikhkarcaaenkorkhV T DICD 10 R55ICD 9 CM 780 2MeSH D013575DiseasesDB 27303thrphyakrphaynxkMedlinePlus 003092eMedicine med 3385 ped 2188 emerg 876 bthkhwamekiywkbaephthysastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy aephthysastrekhathungcak https th wikipedia org w index php title hmdstichwkhraw amp oldid 9524720, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม