fbpx
วิกิพีเดีย

ไทโฮ (ศักราช)

ไทโฮ (ญี่ปุ่น: 大宝 Taihō) แปลว่า "มหาสมบัติ" เป็นชื่อศักราชญี่ปุ่น กินเวลาตั้งแต่เดือนมีนาคม ค.ศ. 701 ถึงเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 704 ตรงกับรัชสมัยจักรพรรดิมมมุ ศักราชก่อนหน้า คือ ชูโจ (ค.ศ. 686–686) ศักราชถัดมา คือ เคอุง (ค.ศ. 704–708)

ความเป็นมา

มีการประกาศให้ใช้ศักราชใหม่ว่า "ไทโฮ" แปลว่า "มหาสมบัติ" เพื่อรำลึกถึงการจัดสร้าง "มหาสมบัติ" คือ การประมวลกฎหมายต่าง ๆ ศักราชใหม่นี้เริ่มตั้งแต่วันที่ 21 เดือน 3 ค.ศ. 701 ตกในราวเดือนมีนาคม ปีนั้น

เหตุการณ์ในปีไทโฮ

  • ปีไทโฮที่ 1 (ค.ศ. 701) มีการอนุมัติแผนส่งคณะทูตไปยังราชสำนักถัง
  • ปีไทโฮที่ 2 (ค.ศ. 702) มีการตราประมวลกฎหมายไทโฮ (大宝律令) เพื่อปรับปรุงระบบราชการส่วนกลางและบรรลุเป้าหมายการปฏิรูปที่เริ่มมาแต่การปฏิรูปปีไทกะเมื่อ ค.ศ. 646
  • ปีไทโฮที่ 2 (ค.ศ. 702) คณะทูต ซึ่งมีอาวาตะ โนะ มาฮิโตะ เป็นหัวหน้า เดินทางสู่ราชสำนักถังทางเรือ เป็นเหตุให้ทูตคณะนี้เป็นที่รู้จักว่า "คณะไทโฮ"

อ้างอิง

  1. Nussbaum, Louis-Frédéric. (2005). "Taihō" in Japan Encyclopedia, p. 924, p. 924, ที่ Google Books; n.b., Louis-Frédéric is pseudonym of Louis-Frédéric Nussbaum, see Deutsche Nationalbibliothek Authority File Archived 2012-05-24 ที่ archive.today.
  2. Titsingh, Isaac. (1834). Annales des empereurs du Japon, pp. 60–63; Brown, Delmer et al. (1979). Gukanshō, pp. 270–271; Varley, H. Paul. (1980). Jinnō Shōtōki. pp. 137–140.
  3. Brown, p. 271.
  4. Fogel, Joshua A. (2009). Articulating the Sinosphere: Sino-Japanese Relations in Space and Time, pp. 102–107; publisher's blurb;
  5. Asakawa, Kan'ichi. (1903). The Early Institutional Life of Japan, p. 13.
  6. Ponsonby-Fane, Richard. (1962). Sovereign and Subject, p. 244.

ไทโฮ, กราช, ไทโฮ, 大宝, taihō, แปลว, มหาสมบ, เป, นช, อศ, กราชญ, นเวลาต, งแต, เด, อนม, นาคม, งเด, อนพฤษภาคม, ตรงก, บร, ชสม, ยจ, กรพรรด, มมม, กราชก, อนหน, โจ, กราชถ, ดมา, เคอ, ความเป, นมา, แก, ไขม, การประกาศให, ใช, กราชใหม, ไทโฮ, แปลว, มหาสมบ, เพ, อรำล, กถ, งการจ,. ithoh yipun 大宝 Taihō aeplwa mhasmbti epnchuxskrachyipun kinewlatngaeteduxnminakhm kh s 701 thungeduxnphvsphakhm kh s 704 1 trngkbrchsmyckrphrrdimmmu 2 skrachkxnhna khux chuoc kh s 686 686 skrachthdma khux ekhxung kh s 704 708 khwamepnma aekikhmikarprakasihichskrachihmwa ithoh aeplwa mhasmbti ephuxralukthungkarcdsrang mhasmbti khux karpramwlkdhmaytang skrachihmnierimtngaetwnthi 21 eduxn 3 kh s 701 tkinraweduxnminakhm pinn 3 ehtukarninpiithoh aekikhpiithohthi 1 kh s 701 mikarxnumtiaephnsngkhnathutipyngrachsankthng 4 piithohthi 2 kh s 702 mikartrapramwlkdhmayithoh 大宝律令 ephuxprbprungrabbrachkarswnklangaelabrrluepahmaykarptirupthierimmaaetkarptiruppiithkaemux kh s 646 5 piithohthi 2 kh s 702 khnathut sungmixawata ona mahiota epnhwhna edinthangsurachsankthngthangerux 4 epnehtuihthutkhnaniepnthiruckwa khnaithoh 6 xangxing aekikh Nussbaum Louis Frederic 2005 Taihō in Japan Encyclopedia p 924 p 924 thi Google Books n b Louis Frederic is pseudonym of Louis Frederic Nussbaum see Deutsche Nationalbibliothek Authority File Archived 2012 05 24 thi archive today Titsingh Isaac 1834 Annales des empereurs du Japon pp 60 63 Brown Delmer et al 1979 Gukanshō pp 270 271 Varley H Paul 1980 Jinnō Shōtōki pp 137 140 Brown p 271 4 0 4 1 Fogel Joshua A 2009 Articulating the Sinosphere Sino Japanese Relations in Space and Time pp 102 107 publisher s blurb Asakawa Kan ichi 1903 The Early Institutional Life of Japan p 13 Ponsonby Fane Richard 1962 Sovereign and Subject p 244 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title ithoh skrach amp oldid 9511234, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม