fbpx
วิกิพีเดีย

กลอนสุภาพ

กลอนสุภาพ เป็นกลอนประเภทหนึ่ง ซึ่งลักษณะคำประพันธ์ของภาษาไทย ที่เรียบเรียงเข้าเป็นคณะ ใช้ถ้อยคำและทำนองเรียบ ๆ ซึ่งนับได้ว่ากลอนสุภาพเป็นกลอนหลักของกลอนทั้งหมด เพราะเป็นพื้นฐานของกลอนหลายชนิด หากเข้าใจกลอนสุภาพ ก็สามารถเข้าใจกลอนอื่น ๆ ได้ง่ายขึ้น

ฉันทลักษณ์ไทย
กาพย์
กลอน
โคลง
ฉันท์
ร่าย
ร้อยกรองแบบใหม่
กลวิธีประพันธ์
กลบท
กลอักษร

คำประพันธ์ ที่ต่อท้ายว่า "สุภาพ" นับว่าเป็นคำประพันธ์ที่แสดงลักษณะเป็นไทยแท้ ด้วยมีข้อบังคับในเรื่อง "รูปวรรณยุกต์" ในกลอนสุภาพนอกจากมีบังคับเสียงสระเป็นแบบแผนเช่นกลอนปกติแล้ว ยังบังคับรูปวรรณยุกต์เพิ่ม จึงมีข้อจำกัดทั้งรูปและเสียงวรรณยุกต์ เป็นการแสดงไหวพริบปฏิภาณและความแตกฉานในการใช้ภาษาไทยของผู้แต่งให้เด่นชัดยิ่งขึ้น

คำประพันธ์กลอนสุภาพนิยมเล่นกันมากตั้งแต่สมัยอยุธยา จวบจนถึงปัจจุบัน ในต้นรัตนโกสินทร์นั้นงานกลอนสุภาพเด่นชัดในรัชกาลที่ 2 ซึ่งเฟื่องฟูถึงขนาดมีการแข่งขันต่อกลอนสด กลอนกระทู้ ตลอดรัชสมัยมีผลงานออกมามากมาย เช่น กลอนโขน กลอนนิทาน กลอนละคร กลอนตำราวัดโพธิ์ เป็นต้น บทพระราชนิพนธ์เรื่อง เงาะป่า ก็เกิดขึ้นในยุคนี้ ยังมีกวีท่านอื่นที่มีชื่อเสียง เช่น สุนทรภู่ เป็นต้น และในสมัยรัชกาลที่ 6 ก็มีปราชญ์กวีทางกลอนสุภาพที่สำคัญหลายท่านเช่นกัน

กลอน 4

ตามหลักฐานทางวรรณคดีไทย กลอน 4 ที่เก่าที่สุดพบในมหาชาติคำหลวงกัณฑ์มหาพน (สมัยอยุธยา) แต่ต่อมาไม่ปรากฏในวรรณคดีไทยมากนัก มักแทรกอยู่ตามกลอนบทละครต่าง ๆ

ตัวอย่างกลอน 4 ในวรรณคดีไทยที่พบมี 2 แบบ คือ

กลอน 4 แบบที่ 1

คณะ กลอน 4 แบบนี้ บทหนึ่งจะประกอบด้วย 2 บาท บาทละ 2 วรรค วรรคละ 4 คำ (1 คำอาจมีหลายพยางค์) ตามผัง

วรรค1 วรรค2 ┌───┐ ○○○● ○●○● <--- บาทที่ 1 ─┐ ┌─────┘ วรรค3 วรรค4  รวม 2 บาท = จบ 1 บท │ ○○○● ○○○●─┐ <--- บาทที่ 2 ─┘ ┌───┐ │ ○○○● ○●○●─┘ <--- (เริ่มบทใหม่) 

สัมผัส แบบกลอนทั่วไป คือ คำสุดท้ายวรรคหน้าสัมผัสกับคำที่สองของวรรคหลัง และคำสุดท้ายวรรคที่สองสัมผัสกับคำสุดท้ายวรรคที่สาม ส่วนสัมผัสระหว่างบทก็เช่นเดียวกัน คือ คำสุดท้ายวรรคที่สี่ของบทแรก สัมผัสกับคำสุดท้ายของวรรคที่สองของบทถัดไป (ดูตัวอย่าง)

ตัวอย่าง กลอน 4 แบบที่ 1
เหวยเหวยอีจันทรา ขึ้นหน้าเถียงผัว
อุบาทว์ชาติชั่ว ไสหัวมึงไป
นางจันทาเถียงเล่า พระองค์เจ้าหลงใหล
ไล่ตีเมียไย พระไม่ปรานี
เมียผิดสิ่งใด พระไล่โบยตี
หรือเป็นกาลี เหมือนที่ขับไป
บทละครครั้งกรุงเก่า เรื่อง สังข์ทอง

กลอน 4 แบบที่ 2

คณะ กลอน 4 แบบนี้ บทหนึ่งประกอบด้วย 4 บาท บาทละ 2 วรรค วรรคละ 4 คำ ตามผัง

วรรค1 วรรค2 ┌───┐ ○○○● ○●○● <--- บาทที่ 1 ─┐ ┌─────┘ วรรค3 วรรค4 │ ○○○● ○○○●─┐ <--- บาทที่ 2 │ │  รวม 4 บาท = จบ 1 บท วรรค5 วรรค6  ┌───┐ │ ○○○● ○●○●─┘ <--- บาทที่ 3 │ ┌─────┘  ○○○● ○●○●─┐ <--- บาทที่ 4 ─┘ ------------------------------ วรรค1 วรรค2 (เริ่มบทใหม่) ┌───┐ │ ○○○● ○●○● <--- บาทที่ 1 ┌─────┘ │ วรรค3 วรรค4 │ ○○○● ○○○●─┘ <--- บาทที่ 2 

สัมผัสนอก ในทุกบาท คำสุดท้ายของวรรคหน้า สัมผัสกับคำที่สองของวรรคหลัง มีสัมผัสระหว่างบาทที่สองกับสาม คือ คำสุดท้ายวรรคที่สี่สัมผัสกับคำสุดท้ายวรรคที่หก ส่วนสัมผัสระหว่างบทนั้นจะแตกต่างจากแบบแรก เนื่องจากให้คำสุดท้ายของบทแรกสัมผัสกับคำสุดท้ายของวรรคที่สี่ของบทถัดไป (ดูตัวอย่าง)

ตัวอย่าง กลอน 4 แบบที่ 2
จักกรีดจักกราย จักย้ายจักย่อง
ไม่เมินไม่มอง ไม่หมองไม่หมาง
งามเนื้องามนิ่ม งามยิ้มงามย่าง
ดูคิ้วดูคาง ดูปรางดูปรุง
ดั่งดาวดั่งเดือน ดั่งจะเลื่อนดั่งจะลอย
พิศเช่นพิศช้อย พิศสร้อยพิศสุง
ช่างปลอดช่างเปรื่อง ช่างเรืองช่างรุ่ง
ทรงแดดทรงดุ่ง ทรงวุ้งทรงแวง
กลบทจาตุรงคนายก, ศิริวิบุลกิตติ, หลวงปีชา (เซ่ง)

สัมผัสใน ไม่บังคับ แต่กวีมักจัดให้มีสัมผัสระระหว่างคำที่สองและคำที่สามของทุกวรรค

กลอน 6

ตามหลักฐานทางวรรณคดีไทย กลอน 6 พบครั้งแรกในกลบทศิริวิบุลกิตติ สมัยอยุธยาตอนปลาย นอกนั้นก็แทรกอยู่ในกลอนบทละคร แต่ที่ใช้แต่ตลอดเรื่องเริ่มมีในสมัยรัชกาลที่ ๖ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ คือ กนกนคร ของกรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ (น.ม.ส.)

คณะ กลอนหก บทหนึ่งประกอบด้วย 2 บาท บาทละ 2 วรรค วรรคละ 6 คำ ตามผัง

O O O O O O O O O O O O
O O O O O O O O O O O O

สัมผัสนอก ให้มีสัมผัสระหว่างคำสุดท้ายวรรคหน้ากับคำที่สองของวรรคหลังของทุกบาท และให้มีสัมผัสระหว่างบาทคือคำสุดท้ายของวรรคที่สองสัมผัสกับคำสุดท้ายวรรคที่สาม ส่วนสัมผัสระหว่างบท กำหนดให้คำสุดท้ายของบทแรก สัมผัสกับคำสุดท้ายวรรคที่สองของบทถัดไป

สัมผัสใน ไม่บังคับ แต่หากจะให้กลอนสละสลวยควรมีสัมผัสระหว่างคำที่สองกับคำที่สาม หรือระหว่างคำที่สี่กับคำที่ห้าของแต่ละวรรค

ตัวอย่างกลอน 6
วันหนึ่งสากลย์คนธรรพ์ พร้อมกันสังคีตดีดสี
เป็นที่เหิมเหมเปรมปรี ต่างมีสุขล้ำสำราญ
บางองค์ทรงรำทำเพลง บังคลบรรเลงศัพท์สาร
บันเทิงเริงรื่นชื่นบาน ในวารอิ่มเอมเปรมใจ
กนกนคร, กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์

กลอน 7

ตามหลักฐานทางวรรณคดีไทย กลอน 7 พบครั้งแรกในกลบทศิริวิบุลกิตติ สมัยอยุธยาตอนปลาย นอกนั้นก็แทรกอยู่ในกลอนบทละคร ไม่ค่อยมีใครใช้แต่งยาวๆ จนถึงสมัยกรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ (น.ม.ส.) ที่ท่านนำมาใช้ในพระนิพนธ์ ลิลิตสามกรุง

คณะ กลอนเจ็ด บทหนึ่งประกอบด้วย 2 บาท บาทละ 2 วรรค วรรคละ 7 คำ ตามผัง

O O O O O O O O O O O O O O
O O O O O O O O O O O O O O

สัมผัสนอก ให้มีสัมผัสระหว่างคำสุดท้ายวรรคหน้ากับคำที่สองของวรรคหลังของทุกบาท และให้มีสัมผัสระหว่างบาทคือคำสุดท้ายของวรรคที่สองสัมผัสกับคำสุดท้ายวรรคที่สาม ส่วนสัมผัสระหว่างบท กำหนดให้คำสุดท้ายของบทแรก สัมผัสกับคำสุดท้ายวรรคที่สองของบทถัดไป

สัมผัสใน ไม่บังคับ แต่หากจะให้กลอนสละสลวยควรมีสัมผัสระหว่างคำที่สองกับคำที่สาม หรือระหว่างคำที่สี่กับคำที่ห้าหรือคำที่หกของแต่ละวรรค

ตัวอย่างกลอน 7
เสตเตลงเกรงกริ่งนิ่งรำลึก คัดคึกข่าวทัพดูคับขัน
จักเตรียมค่ายใหญ่ก็ไม่ทัน จำกั้นกีดขวางหนทางยุทธ์
ตั้งขัดตาทับรับไว้ก่อน เพื่อผ่อนเวลาให้ช้าสุด
จวนตัวกลัวว่าศัตราวุธ หวิดหวุดหมดหวังในครั้งนี้
สามกรุง, กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์

กลอน 8

ตามหลักฐานทางวรรณคดีไทย กลอน 8 พบครั้งแรกในกลบทศิริวิบุลกิตติ สมัยอยุธยาตอนปลาย ซึ่งค้นพบกันว่าจังหวะและลีลาลงตัวที่สุด จึงมีคนแต่งแบบนี้มากที่สุด และผู้ที่ทำให้กลอน 8 รุ่งเรืองที่สุดคือท่าน สุนทรภู่ ที่ได้พัฒนาเพิ่มสัมผัสอย่างเป็นระบบ ซึ่งใกล้เคียงกับกลบทมธุรสวาทีในกลบทศิริวิบุลกิตติ์

กลอนแปด นั้นถือว่าเป็นขนบกวีนิพนธ์พื้นฐานที่นิยมที่สุดในไทย เหตุเพราะมีฉันทลักษณ์ที่เรียบง่ายไม่ซับซ้อน สามารถแสดงอารมณ์ได้หลากหลาย และคนทั่วไปสามารถเข้าถึงเนื้อความได้ไม่ยาก หนึ่งในรูปแบบของกลอนแปดก็คือ รูปแบบกลอนแปดของสุนทรภู่ ซึ่งความแพรวพราวด้วยสัมผัสใน และขนบดังกล่าวนี้ก็ได้รับการสืบทอดต่อมาในงานกวีนิพนธ์ยุคหลังๆ กระทั่งปัจจุบัน

คณะ กลอนแปด บทหนึ่งประกอบด้วย 2 บาท บาทละ 2 วรรค วรรคละ 8 คำ ตามผัง

O O O O O O O O O O O O O O O O
O O O O O O O O O O O O O O O O

สัมผัสนอก ให้มีสัมผัสระหว่างคำสุดท้ายวรรคหน้ากับคำที่สามของวรรคหลังของทุกบาท และให้มีสัมผัสระหว่างบาทคือคำสุดท้ายของวรรคที่สองสัมผัสกับคำสุดท้ายวรรคที่สาม ส่วนสัมผัสระหว่างบท กำหนดให้คำสุดท้ายของบทแรก สัมผัสกับคำสุดท้ายวรรคที่สองของบทถัดไป

สัมผัสใน ไม่บังคับ แต่หากจะให้กลอนสละสลวยควรมีสัมผัสระหว่างคำที่สามกับคำที่สี่ หรือระหว่างคำที่ห้ากับคำที่หกหรือคำที่เจ็ดของแต่ละวรรค

หลักการใช้เสียงวรรณยุกต์

  • คำสุดท้ายของวรรคที่ ๑ ใช้เสียง สามัญ เอก โท ตรี จัตวา แต่ไม่นิยมเสียงสามัญ
  • คำสุดท้ายของวรรคที่ ๒ ห้ามใช้เสียง สามัญ หรือ ตรี นิยมใช้เสียง จัตวา เป็นส่วนมาก
  • คำสุดท้ายของวรรคที่ ๓ ห้ามใช้เสียง เอก โท จัตวา นิยมใช้เสียง สามัญ หรือ ตรี
  • คำสุดท้ายของวรรคที่ ๔ ห้ามใช้เสียง เอก โท จัตวา นิยมใช้เสียง สามัญ หรือ ตรี


ตัวอย่างกลอน 8
อตีเตแต่นานนิทานหลัง มีนัครังหนึ่งกว้างสำอางศรี
ชื่อจัมบากหลากเลิศประเสริฐดี เจ้าธานียศกิต์มหิศรา
ดำรงภพลบเลิศประเสริฐโลกย์ เปนจอมโจกจุลจักรอรรคมหา
อานุภาพปราบเปรื่องกระเดื่องปรา- กฎเดชาเป็นเกษนิเวศน์เวียง
กลบทมธุรสวาที , ศิริวิบุลกิตติ, หลวงปรีชา (เซ่ง)

กลอน 9

ตามหลักฐานทางวรรณคดีไทย กลอน 9 พบครั้งแรกในกลบทศิริวิบุลกิตติ สมัยอยุธยาตอนปลาย เช่นเดียวกัน แต่กวีไม่ค่อยนิยมแต่งกันมากนัก เนื่องจากเห็นว่ากลอนแปดลงตัวมากที่สุด

คณะ กลอนเก้า บทหนึ่งประกอบด้วย 2 บาท บาทละ 2 วรรค วรรคละ 9 คำ ตามผัง

O O O O O O O O O O O O O O O O O O
O O O O O O O O O O O O O O O O O O

สัมผัสนอก ให้มีสัมผัสระหว่างคำสุดท้ายวรรคหน้ากับคำที่สามของวรรคหลังของทุกบาท และให้มีสัมผัสระหว่างบาทคือคำสุดท้ายของวรรคที่สองสัมผัสกับคำสุดท้ายวรรคที่สาม ส่วนสัมผัสระหว่างบท กำหนดให้คำสุดท้ายของบทแรก สัมผัสกับคำสุดท้ายวรรคที่สองของบทถัดไป

สัมผัสใน ไม่บังคับ แต่หากจะให้กลอนสละสลวยควรมีสัมผัสระหว่างคำที่สามกับคำที่สี่หรือคำที่ห้า หรือระหว่างคำที่หกกับคำที่เจ็ดหรือคำที่แปดของแต่ละวรรค

ตัวอย่างกลอน 9
นายชายพรานหนึ่งชาญไพรล่ำใหญ่ขยับ ได้ยินกลองเดิรย่องกลับดูขับขัน
มือป้องหน้ามุ่งป่าแน่วแนวแถววัน สุนัขย่องสุดมองขยันติดพันตาม
มุ่งปะทะมาปะที่คนตีกลอง เพื่อนทักจ๋าพูดหน้าจ้องพรานร้องถาม
เดิมแรกหูได้รู้เหตุสังเกตความ ว่าทรงนามว่าทรามนาฎนิราศจร
กลบทระลอกแก้วกระทบฝั่ง, ศิริวิบุลกิตติ, หลวงปรีชา (เซ่ง)

กวีที่นิยมใช้กลอนเก้า คือท่านพุทธทาสภิกขุ และท่านยังนิยมเขียนแยกตามจังหวะอ่าน ทำให้คนอ่านได้ถูกต้องตามจังหวะ อ่านง่ายและเข้าใจง่าย

ตัวอย่าง
ศีลธรรมเลว คนก็ได้ กลายเป็นผี หาความดี ไม่ประจักษ์ สักเส้นขน
ศีลธรรมดี ผีก็ได้ กลายเป็นคน ที่เลิศล้น ภูมิใจ ไหว้ตัวเอง
ศีลธรรมต่ำ เปลี่ยนคน จนคล้ายสัตว์ จะกินกัด โกงกัน ขมันเขม็ง
ศีลธรรมสูง คนสดใส ไม่อลเวง ล้วนยำเกรง กันและกัน ฉันเพื่อนตาย
ศีลธรรมกับคน : พุทธทาสภิกขุ

อ้างอิง

  1. หนังสือ การประพันธ์โคลงสี่สุภาพ, กรมศิลปากร, กรุงเทพ, พ.ศ. 2548 หน้า 15
  2. สุภาพร มากแจ้ง, กวีนิพนธ์ไทย, โอเดียนสโตร์, 2535.

กลอนส, ภาพ, เป, นกลอนประเภทหน, งล, กษณะคำประพ, นธ, ของภาษาไทย, เร, ยบเร, ยงเข, าเป, นคณะ, ใช, อยคำและทำนองเร, ยบ, งน, บได, าเป, นกลอนหล, กของกลอนท, งหมด, เพราะเป, นพ, นฐานของกลอนหลายชน, หากเข, าใจ, สามารถเข, าใจกลอนอ, ได, ายข, นฉ, นทล, กษณ, ไทยกาพย, กลอนโคลงฉ,. klxnsuphaph epnklxnpraephthhnung sunglksnakhapraphnthkhxngphasaithy thieriyberiyngekhaepnkhna ichthxykhaaelathanxngeriyb sungnbidwaklxnsuphaphepnklxnhlkkhxngklxnthnghmd ephraaepnphunthankhxngklxnhlaychnid hakekhaicklxnsuphaph ksamarthekhaicklxnxun idngaykhunchnthlksnithykaphyklxnokhlngchnthrayrxykrxngaebbihmklwithipraphnthklbthklxksrkhapraphnth thitxthaywa suphaph nbwaepnkhapraphnththiaesdnglksnaepnithyaeth dwymikhxbngkhbineruxng rupwrrnyukt inklxnsuphaphnxkcakmibngkhbesiyngsraepnaebbaephnechnklxnpktiaelw yngbngkhbrupwrrnyuktephim cungmikhxcakdthngrupaelaesiyngwrrnyukt 1 epnkaraesdngihwphribptiphanaelakhwamaetkchaninkarichphasaithykhxngphuaetngihednchdyingkhunkhapraphnthklxnsuphaphniymelnknmaktngaetsmyxyuthya cwbcnthungpccubn intnrtnoksinthrnnnganklxnsuphaphednchdinrchkalthi 2 sungefuxngfuthungkhnadmikaraekhngkhntxklxnsd klxnkrathu tlxdrchsmymiphlnganxxkmamakmay echn klxnokhn klxnnithan klxnlakhr klxntarawdophthi epntn bthphrarachniphntheruxng engaapa kekidkhuninyukhni yngmikwithanxunthimichuxesiyng echn sunthrphu epntn aelainsmyrchkalthi 6 kmiprachykwithangklxnsuphaphthisakhyhlaythanechnkn enuxha 1 klxn 4 1 1 klxn 4 aebbthi 1 1 2 klxn 4 aebbthi 2 2 klxn 6 3 klxn 7 4 klxn 8 5 klxn 9 6 xangxingklxn 4 aekikhtamhlkthanthangwrrnkhdiithy klxn 4 thiekathisudphbinmhachatikhahlwngknthmhaphn smyxyuthya aettxmaimpraktinwrrnkhdiithymaknk mkaethrkxyutamklxnbthlakhrtang twxyangklxn 4 inwrrnkhdiithythiphbmi 2 aebb 2 khux klxn 4 aebbthi 1 aekikh khna klxn 4 aebbni bthhnungcaprakxbdwy 2 bath bathla 2 wrrkh wrrkhla 4 kha 1 khaxacmihlayphyangkh tamphng wrrkh1 wrrkh2 lt baththi 1 wrrkh3 wrrkh4 rwm 2 bath cb 1 bth lt baththi 2 lt erimbthihm smphs aebbklxnthwip khux khasudthaywrrkhhnasmphskbkhathisxngkhxngwrrkhhlng aelakhasudthaywrrkhthisxngsmphskbkhasudthaywrrkhthisam swnsmphsrahwangbthkechnediywkn khux khasudthaywrrkhthisikhxngbthaerk smphskbkhasudthaykhxngwrrkhthisxngkhxngbththdip dutwxyang twxyang klxn 4 aebbthi 1ehwyehwyxicnthra khunhnaethiyngphwxubathwchatichw ishwmungipnangcnthaethiyngela phraxngkhecahlngihliltiemiyiy phraimpraniemiyphidsingid phrailobytihruxepnkali ehmuxnthikhbip bthlakhrkhrngkrungeka eruxng sngkhthxngklxn 4 aebbthi 2 aekikh khna klxn 4 aebbni bthhnungprakxbdwy 4 bath bathla 2 wrrkh wrrkhla 4 kha tamphng wrrkh1 wrrkh2 lt baththi 1 wrrkh3 wrrkh4 lt baththi 2 rwm 4 bath cb 1 bth wrrkh5 wrrkh6 lt baththi 3 lt baththi 4 wrrkh1 wrrkh2 erimbthihm lt baththi 1 wrrkh3 wrrkh4 lt baththi 2 smphsnxk inthukbath khasudthaykhxngwrrkhhna smphskbkhathisxngkhxngwrrkhhlng mismphsrahwangbaththisxngkbsam khux khasudthaywrrkhthisismphskbkhasudthaywrrkhthihk swnsmphsrahwangbthnncaaetktangcakaebbaerk enuxngcakihkhasudthaykhxngbthaerksmphskbkhasudthaykhxngwrrkhthisikhxngbththdip dutwxyang twxyang klxn 4 aebbthi 2ckkridckkray ckyayckyxngimeminimmxng imhmxngimhmangngamenuxngamnim ngamyimngamyangdukhiwdukhang duprangduprungdngdawdngeduxn dngcaeluxndngcalxyphisechnphischxy phissrxyphissungchangplxdchangepruxng changeruxngchangrungthrngaeddthrngdung thrngwungthrngaewng klbthcaturngkhnayk siriwibulkitti hlwngpicha esng smphsin imbngkhb aetkwimkcdihmismphsrarahwangkhathisxngaelakhathisamkhxngthukwrrkhklxn 6 aekikhtamhlkthanthangwrrnkhdiithy klxn 6 phbkhrngaerkinklbthsiriwibulkitti smyxyuthyatxnplay 2 nxknnkaethrkxyuinklxnbthlakhr aetthiichaettlxderuxngerimmiinsmyrchkalthi 6 aehngkrungrtnoksinthr khux knknkhr khxngkrmhmunphithyalngkrn n m s khna klxnhk bthhnungprakxbdwy 2 bath bathla 2 wrrkh wrrkhla 6 kha tamphng O O O O O O O O O O O OO O O O O O O O O O O Osmphsnxk ihmismphsrahwangkhasudthaywrrkhhnakbkhathisxngkhxngwrrkhhlngkhxngthukbath aelaihmismphsrahwangbathkhuxkhasudthaykhxngwrrkhthisxngsmphskbkhasudthaywrrkhthisam swnsmphsrahwangbth kahndihkhasudthaykhxngbthaerk smphskbkhasudthaywrrkhthisxngkhxngbththdipsmphsin imbngkhb aethakcaihklxnslaslwykhwrmismphsrahwangkhathisxngkbkhathisam hruxrahwangkhathisikbkhathihakhxngaetlawrrkh twxyangklxn 6wnhnungsaklykhnthrrph phrxmknsngkhitdidsiepnthiehimehmeprmpri tangmisukhlasaraybangxngkhthrngrathaephlng bngkhlbrrelngsphthsarbnethingeringrunchunban inwarximexmeprmic knknkhr krmhmunphithyalngkrnklxn 7 aekikhtamhlkthanthangwrrnkhdiithy klxn 7 phbkhrngaerkinklbthsiriwibulkitti smyxyuthyatxnplay 2 nxknnkaethrkxyuinklxnbthlakhr imkhxymiikhrichaetngyaw cnthungsmykrmhmunphithyalngkrn n m s thithannamaichinphraniphnth lilitsamkrungkhna klxnecd bthhnungprakxbdwy 2 bath bathla 2 wrrkh wrrkhla 7 kha tamphng O O O O O O O O O O O O O OO O O O O O O O O O O O O Osmphsnxk ihmismphsrahwangkhasudthaywrrkhhnakbkhathisxngkhxngwrrkhhlngkhxngthukbath aelaihmismphsrahwangbathkhuxkhasudthaykhxngwrrkhthisxngsmphskbkhasudthaywrrkhthisam swnsmphsrahwangbth kahndihkhasudthaykhxngbthaerk smphskbkhasudthaywrrkhthisxngkhxngbththdipsmphsin imbngkhb aethakcaihklxnslaslwykhwrmismphsrahwangkhathisxngkbkhathisam hruxrahwangkhathisikbkhathihahruxkhathihkkhxngaetlawrrkh twxyangklxn 7estetlngekrngkringningraluk khdkhukkhawthphdukhbkhncketriymkhayihykimthn caknkidkhwanghnthangyuththtngkhdtathbrbiwkxn ephuxphxnewlaihchasudcwntwklwwastrawuth hwidhwudhmdhwnginkhrngni samkrung krmhmunphithyalngkrnklxn 8 aekikhtamhlkthanthangwrrnkhdiithy klxn 8 phbkhrngaerkinklbthsiriwibulkitti smyxyuthyatxnplay 2 sungkhnphbknwacnghwaaelalilalngtwthisud cungmikhnaetngaebbnimakthisud aelaphuthithaihklxn 8 rungeruxngthisudkhuxthan sunthrphu thiidphthnaephimsmphsxyangepnrabb sungiklekhiyngkbklbthmthurswathiinklbthsiriwibulkittiklxnaepd nnthuxwaepnkhnbkwiniphnthphunthanthiniymthisudinithy ehtuephraamichnthlksnthieriybngayimsbsxn samarthaesdngxarmnidhlakhlay aelakhnthwipsamarthekhathungenuxkhwamidimyak hnunginrupaebbkhxngklxnaepdkkhux rupaebbklxnaepdkhxngsunthrphu sungkhwamaephrwphrawdwysmphsin aelakhnbdngklawnikidrbkarsubthxdtxmainngankwiniphnthyukhhlng krathngpccubnkhna klxnaepd bthhnungprakxbdwy 2 bath bathla 2 wrrkh wrrkhla 8 kha tamphng O O O O O O O O O O O O O O O OO O O O O O O O O O O O O O O Osmphsnxk ihmismphsrahwangkhasudthaywrrkhhnakbkhathisamkhxngwrrkhhlngkhxngthukbath aelaihmismphsrahwangbathkhuxkhasudthaykhxngwrrkhthisxngsmphskbkhasudthaywrrkhthisam swnsmphsrahwangbth kahndihkhasudthaykhxngbthaerk smphskbkhasudthaywrrkhthisxngkhxngbththdipsmphsin imbngkhb aethakcaihklxnslaslwykhwrmismphsrahwangkhathisamkbkhathisi hruxrahwangkhathihakbkhathihkhruxkhathiecdkhxngaetlawrrkhhlkkarichesiyngwrrnyukt khasudthaykhxngwrrkhthi 1 ichesiyng samy exk oth tri ctwa aetimniymesiyngsamy khasudthaykhxngwrrkhthi 2 hamichesiyng samy hrux tri niymichesiyng ctwa epnswnmak khasudthaykhxngwrrkhthi 3 hamichesiyng exk oth ctwa niymichesiyng samy hrux tri khasudthaykhxngwrrkhthi 4 hamichesiyng exk oth ctwa niymichesiyng samy hrux tri twxyangklxn 8xtietaetnannithanhlng minkhrnghnungkwangsaxangsrichuxcmbakhlakelispraesrithdi ecathaniyskitmhisradarngphphlbelispraesritholky epncxmockculckrxrrkhmhaxanuphaphprabepruxngkraeduxngpra kdedchaepneksniewsnewiyng klbthmthurswathi siriwibulkitti hlwngpricha esng klxn 9 aekikhtamhlkthanthangwrrnkhdiithy klxn 9 phbkhrngaerkinklbthsiriwibulkitti smyxyuthyatxnplay 2 echnediywkn aetkwiimkhxyniymaetngknmaknk enuxngcakehnwaklxnaepdlngtwmakthisudkhna klxneka bthhnungprakxbdwy 2 bath bathla 2 wrrkh wrrkhla 9 kha tamphng O O O O O O O O O O O O O O O O O OO O O O O O O O O O O O O O O O O Osmphsnxk ihmismphsrahwangkhasudthaywrrkhhnakbkhathisamkhxngwrrkhhlngkhxngthukbath aelaihmismphsrahwangbathkhuxkhasudthaykhxngwrrkhthisxngsmphskbkhasudthaywrrkhthisam swnsmphsrahwangbth kahndihkhasudthaykhxngbthaerk smphskbkhasudthaywrrkhthisxngkhxngbththdipsmphsin imbngkhb aethakcaihklxnslaslwykhwrmismphsrahwangkhathisamkbkhathisihruxkhathiha hruxrahwangkhathihkkbkhathiecdhruxkhathiaepdkhxngaetlawrrkh twxyangklxn 9naychayphranhnungchayiphrlaihykhyb idyinklxngediryxngklbdukhbkhnmuxpxnghnamungpaaenwaenwaethwwn sunkhyxngsudmxngkhyntidphntammungpathamapathikhntiklxng ephuxnthkcaphudhnacxngphranrxngthamedimaerkhuidruehtusngektkhwam wathrngnamwathramnadnirascr klbthralxkaekwkrathbfng siriwibulkitti hlwngpricha esng kwithiniymichklxneka khuxthanphuthththasphikkhu aelathanyngniymekhiynaeyktamcnghwaxan thaihkhnxanidthuktxngtamcnghwa xanngayaelaekhaicngay twxyangsilthrrmelw khnkid klayepnphi hakhwamdi impracks skesnkhnsilthrrmdi phikid klayepnkhn thielisln phumiic ihwtwexngsilthrrmta epliynkhn cnkhlaystw cakinkd okngkn khmnekhmngsilthrrmsung khnsdis imxlewng lwnyaekrng knaelakn chnephuxntay silthrrmkbkhn phuthththasphikkhuxangxing aekikh hnngsux karpraphnthokhlngsisuphaph krmsilpakr krungethph ph s 2548 hna 15 2 0 2 1 2 2 2 3 2 4 suphaphr makaecng kwiniphnthithy oxediynsotr 2535 bthkhwamekiywkbwrrnkrrmniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy olkwrrnsilpekhathungcak https th wikipedia org w index php title klxnsuphaph amp oldid 9448075, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม